การพัฒนาเยาวชนไทยสู่อาเซียนในปี 2558 นี้ประเทศไทยของเราจะเข้าสู่ประชาค การแปล - การพัฒนาเยาวชนไทยสู่อาเซียนในปี 2558 นี้ประเทศไทยของเราจะเข้าสู่ประชาค ไทย วิธีการพูด

การพัฒนาเยาวชนไทยสู่อาเซียนในปี 255

การพัฒนาเยาวชนไทยสู่อาเซียน
ในปี 2558 นี้ประเทศไทยของเราจะเข้าสู่ประชาคมอาเซียน มีการหลั่งไหลของพี่น้องชาวอาเซียนที่จะเข้าออกกันอย่างไร้พรมแดน อาจนำมาซึ่งปัญหาสังคมและวัฒนธรรมที่แตกต่างออกไป ดังนั้นในฐานะที่ประเทศไทยเป็นแกนนำของภูมิภาคนี้ จึงจำเป็นอย่างยิ่งจะต้องพัฒนา เตรียมความพร้อมทุกๆ ด้านโดยเฉพาะทรัพยากรบุคคล และจำเป็นอย่างยิ่งจะต้องเริ่มกันตั้งแต่เด็กและเยาวชนเลยทีเดียว
การพัฒนาศักยภาพของสมองและการรู้คิดของเด็กไทย สมองเป็นส่วนสำคัญในการสร้างทักษะ ซึ่งข้อจำกัดในการพัฒนาศักยภาพ คือการขาดประสบการณ์การเรียนรู้ด้านสติปัญญาของเด็ก ซึ่งจะนำมาสู่การสร้างสมองรู้คิด การพัฒนาศักยภาพด้านอารมณ์ คุณธรรมจริยธรรมของเด็กไทย เชื่อกันว่าคุณธรรมจริยธรรมมีอยู่ในตัวเด็กอยู่แล้ว เด็กพร้อมที่จะพัฒนา จะต้องเปิดโอกาสให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมี 2 ทักษะที่จำเป็นคือ ทักษะชีวิต และ ทักษะด้านเทคโนโลยี คือการเสพและใช้ การพัฒนาศักยภาพด้านสังคมวัฒนธรรมของเด็กไทย คือเด็กพูดภาษาถิ่น กินนมแม่ คือการฉีดภูมิคุ้มกันทางวัฒนธรรม เด็กต้องการจุดยืนในสังคมผ่านวัฒนธรรม โดยภาษาถิ่นคือภาษาแม่ที่ให้ที่ยืน ให้ความรู้สึกผูกพัน ให้การยอมรับคนอื่นและเป็นเสาค้ำยืน บทบาทของการศึกษาต่อการพัฒนาศักยภาพเด็กไทย กระบวนทัศน์การเรียนรู้ 5 ขั้นตอนของเด็กคือ 1.เรียนรู้การตั้งคำถาม 2.เรียนรู้การแสวงหา 3.เรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ 4.เรียนรู้เพื่อการสื่อสาร 5.เรียนรู้เพื่อตอบแทนสังคม โดยจำเป็นต้องมีพื้นที่ให้เด็กแสดงออก และทักษะพื้นฐานที่เด็กไทยจำเป็นต้องมีก็คือ การใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ การแก้ปัญหาอย่างสันติ การใช้ภาษาได้อย่างน้อย 2 ภาษา รวมทั้งการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ โดยจำเป็นต้องปรับทัศนคติ เจตคติ ตระหนักและรับผิดชอบในอาเซียน มีความภาคภูมิใจในวิถีพลเมืองไทย การยอมรับความแตกต่างทางศาสนา วัฒนธรรม มีวิถีแบบประชาธิปไตย บทบาทของสื่อและเทคโนโลยีต่อการพัฒนาศักยภาพเด็กไทย สื่อเป็นเครื่องมือในการสร้างสิ่งดีๆ ได้ เงื่อนไขการใช้สื่อแบ่งเป็น 3 ปัจจัยคือ ปัจจัยขั้นพื้นฐาน คือแรงจูงใจในการใช้งานสื่อเพื่อการพัฒนา ทักษะพื้นฐาน คือการอ่านออก เขียนได้ ทักษะรู้เท่าทันสื่อ และ ปัจจัยกระตุ้น คือการสร้างโจทย์ท้าทายให้โอกาสเด็กและมีพื้นที่ให้เด็กแสดงผลงาน
การพัฒนาศักยภาพเด็กด้อยโอกาส จำเป็นต้องใช้ทักษะชีวิต เรื่องแรก คือความสามารถในการรักตัวเอง โดยทำให้เด็กรู้สึกตัวเองมีคุณค่า มีความภาคภูมิใจ ประการที่สอง มีเหตุผลและความรับผิดชอบ โดยการโยนคำถามเพื่อให้เด็กหาคำตอบ จะทำให้สมองของเด็กรู้จักวางแผน จัดการตัวเองตรงความจำกัดนั้น สุดท้ายเขาจะเป็นผู้รอดได้บนความบกพร่องทุกประการ
หากเด็กสามารถพัฒนาศักยภาพเด็กทั้ง 6 ด้านได้ โดยเด็กมีสมองดี เด็กมีวินัยจากกระบวนการที่สอนสั่งมาแล้ว มีทักษะการอยู่รอด รู้จักได้ ไม่ได้ อยู่ตรงไหนก็ได้ ใช้ประโยชน์จากสื่อเป็น รวมทั้งเห็นทุกคนคือเพื่อน เด็กเหล่านี้สามารถรอดและใช้ชีวิตอยู่ได้ในประชาคมอาเซียนและสังคมทั่วโลก.
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การพัฒนาเยาวชนไทยสู่อาเซียนในปี 2558 นี้ประเทศไทยของเราจะเข้าสู่ประชาคมอาเซียนมีการหลั่งไหลของพี่น้องชาวอาเซียนที่จะเข้าออกกันอย่างไร้พรมแดนอาจนำมาซึ่งปัญหาสังคมและวัฒนธรรมที่แตกต่างออกไปดังนั้นในฐานะที่ประเทศไทยเป็นแกนนำของภูมิภาคนี้จึงจำเป็นอย่างยิ่งจะต้องพัฒนาเตรียมความพร้อมทุก ๆ ด้านโดยเฉพาะทรัพยากรบุคคลและจำเป็นอย่างยิ่งจะต้องเริ่มกันตั้งแต่เด็กและเยาวชนเลยทีเดียวการพัฒนาศักยภาพของสมองและการรู้คิดของเด็กไทย สมองเป็นส่วนสำคัญในการสร้างทักษะ ซึ่งข้อจำกัดในการพัฒนาศักยภาพ คือการขาดประสบการณ์การเรียนรู้ด้านสติปัญญาของเด็ก ซึ่งจะนำมาสู่การสร้างสมองรู้คิด การพัฒนาศักยภาพด้านอารมณ์ คุณธรรมจริยธรรมของเด็กไทย เชื่อกันว่าคุณธรรมจริยธรรมมีอยู่ในตัวเด็กอยู่แล้ว เด็กพร้อมที่จะพัฒนา จะต้องเปิดโอกาสให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมี 2 ทักษะที่จำเป็นคือ ทักษะชีวิต และ ทักษะด้านเทคโนโลยี คือการเสพและใช้ การพัฒนาศักยภาพด้านสังคมวัฒนธรรมของเด็กไทย คือเด็กพูดภาษาถิ่น กินนมแม่ คือการฉีดภูมิคุ้มกันทางวัฒนธรรม เด็กต้องการจุดยืนในสังคมผ่านวัฒนธรรม โดยภาษาถิ่นคือภาษาแม่ที่ให้ที่ยืน ให้ความรู้สึกผูกพัน ให้การยอมรับคนอื่นและเป็นเสาค้ำยืน บทบาทของการศึกษาต่อการพัฒนาศักยภาพเด็กไทย กระบวนทัศน์การเรียนรู้ 5 ขั้นตอนของเด็กคือ 1.เรียนรู้การตั้งคำถาม 2.เรียนรู้การแสวงหา 3.เรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ 4.เรียนรู้เพื่อการสื่อสาร 5.เรียนรู้เพื่อตอบแทนสังคม โดยจำเป็นต้องมีพื้นที่ให้เด็กแสดงออก และทักษะพื้นฐานที่เด็กไทยจำเป็นต้องมีก็คือ การใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ การแก้ปัญหาอย่างสันติ การใช้ภาษาได้อย่างน้อย 2 ภาษา รวมทั้งการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ โดยจำเป็นต้องปรับทัศนคติ เจตคติ ตระหนักและรับผิดชอบในอาเซียน มีความภาคภูมิใจในวิถีพลเมืองไทย การยอมรับความแตกต่างทางศาสนา วัฒนธรรม มีวิถีแบบประชาธิปไตย บทบาทของสื่อและเทคโนโลยีต่อการพัฒนาศักยภาพเด็กไทย สื่อเป็นเครื่องมือในการสร้างสิ่งดีๆ ได้ เงื่อนไขการใช้สื่อแบ่งเป็น 3 ปัจจัยคือ ปัจจัยขั้นพื้นฐาน คือแรงจูงใจในการใช้งานสื่อเพื่อการพัฒนา ทักษะพื้นฐาน คือการอ่านออก เขียนได้ ทักษะรู้เท่าทันสื่อ และ ปัจจัยกระตุ้น คือการสร้างโจทย์ท้าทายให้โอกาสเด็กและมีพื้นที่ให้เด็กแสดงผลงาน การพัฒนาศักยภาพเด็กด้อยโอกาสจำเป็นต้องใช้ทักษะชีวิตเรื่องแรกคือความสามารถในการรักตัวเองโดยทำให้เด็กรู้สึกตัวเองมีคุณค่ามีความภาคภูมิใจประการที่สองมีเหตุผลและความรับผิดชอบโดยการโยนคำถามเพื่อให้เด็กหาคำตอบจะทำให้สมองของเด็กรู้จักวางแผนจัดการตัวเองตรงความจำกัดนั้นสุดท้ายเขาจะเป็นผู้รอดได้บนความบกพร่องทุกประการ หากเด็กสามารถพัฒนาศักยภาพเด็กทั้ง 6 ด้านได้โดยเด็กมีสมองดีเด็กมีวินัยจากกระบวนการที่สอนสั่งมาแล้วมีทักษะการอยู่รอดรู้จักได้ไม่ได้อยู่ตรงไหนก็ได้ใช้ประโยชน์จากสื่อเป็นรวมทั้งเห็นทุกคนคือเพื่อนเด็กเหล่านี้สามารถรอดและใช้ชีวิตอยู่ได้ในประชาคมอาเซียนและสังคมทั่วโลก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
การพัฒนาเยาวชนไทยสู่อาเซียน
สามารถนี้ประเทศไทยของเราจะเข้าสู่ประชาคมอาเซียนมีการหลั่งไหลของพี่น้องชาวอาเซียนที่จะเข้าออกกันอย่างไร้พรมแดนอาจนำมาซึ่งปัญหาสังคมและวัฒนธรรมที่แตกต่างออกไป 2558จึงจำเป็นอย่างยิ่งจะต้องพัฒนาเตรียมความพร้อมทุกๆด้านโดยเฉพาะทรัพยากรบุคคลและจำเป็นอย่างยิ่งจะต้องเริ่มกันตั้งแต่เด็กและเยาวชนเลยทีเดียว
การพัฒนาศักยภาพของสมองและการรู้คิดของเด็กไทยสมองเป็นส่วนสำคัญในการสร้างทักษะซึ่งข้อจำกัดในการพัฒนาศักยภาพคือการขาดประสบการณ์การเรียนรู้ด้านสติปัญญาของเด็กซึ่งจะนำมาสู่การสร้างสมองรู้คิดคุณธรรมจริยธรรมของเด็กไทยเชื่อกันว่าคุณธรรมจริยธรรมมีอยู่ในตัวเด็กอยู่แล้วเด็กพร้อมที่จะพัฒนาจะต้องเปิดโอกาสให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองมีบทบาทช่วยทักษะที่จำเป็นคือทักษะชีวิตและทักษะด้านเทคโนโลยี 2การพัฒนาศักยภาพด้านสังคมวัฒนธรรมของเด็กไทยคือเด็กพูดภาษาถิ่นกินนมแม่คือการฉีดภูมิคุ้มกันทางวัฒนธรรมเด็กต้องการจุดยืนในสังคมผ่านวัฒนธรรมโดยภาษาถิ่นคือภาษาแม่ที่ให้ที่ยืนให้ความรู้สึกผูกพันบทบาทของการศึกษาต่อการพัฒนาศักยภาพเด็กไทยกระบวนทัศน์การเรียนรู้ 5 ขั้นตอนของเด็กคือ 1เรียนรู้การตั้งคำถามเรียนรู้การแสวงหาเรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ 2 . 3 . 4 . เรียนรู้เพื่อการสื่อสาร 5
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: