สังคมไทยกำหนดสร้างความเป็นหญิงเป็นชายแตกต่างกันไปแต่ละสังคมและกาลเวลาผ การแปล - สังคมไทยกำหนดสร้างความเป็นหญิงเป็นชายแตกต่างกันไปแต่ละสังคมและกาลเวลาผ ไทย วิธีการพูด

สังคมไทยกำหนดสร้างความเป็นหญิงเป็นช

สังคมไทยกำหนดสร้างความเป็นหญิงเป็นชายแตกต่างกันไปแต่ละสังคมและกาลเวลาผู้หญิงและผู้ชายในสังคมต่างก็เรียนรู้การสร้างและแสดง “บทบาทความเป็นหญิงความเป็นชาย” (gender roles) จากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่งทั้งจากที่บ้านชุมชนและสังคมแน่นอนว่าทั้งผู้หญิงและผู้ชายไม่สามารถสร้างบทบาทความเป็นหญิงความเป็นชายตามที่ตนเองต้องการอย่างแท้จริงได้เพราะบทบาทความเป็นหญิงความเป็นชายนี้เป็นเรื่องของความสัมพันธ์และความคาดหวังระหว่างกันนอกจากนี้สังคมยังมักเชื่อมโยง “บทบาทความเป็นหญิงความเป็นชาย” กับ “บทบาทเพศ” เช่นเมื่อผู้หญิงมีบทบาททางเพศในการตั้งครรภ์คลอดลูกและมีเต้านมผู้หญิงจึงมีหน้าที่เลี้ยงลูกทั้งที่แท้จริงแล้วการเลี้ยงดูลูกเป็นบทบาทความเป็นหญิงความเป็นชายที่สังคมกำหนดขึ้นผู้หญิงจึงไม่จำเป็นต้องมีบทบาทเลี้ยงลูกเองเสมอไปโดยผู้ชายอาจมีบทบาทเป็นผู้เลี้ยงลูกแทนผู้หญิงก็ได้ (สำนักงานสตรีและสถาบันครอบครัว) ซึ่งบทบาทการดูแลดังกล่าวสามารถเปรียบเทียบได้กับหนึ่งอาชีพในสังคมไทยนั่นคือ พยาบาล โดยอาชีพพยาบาลมีผู้ประกอบทั้งชายและหญิงแต่บทบาทของพยาบาลเมื่อยู่ในหอผู้ป่วยเปรียบเสมือน“แม่บ้าน”ที่ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยของหอผู้ป่วยอำนวยความสะดวกแก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องให้สามารถทำงานได้และทำให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาตาม “คำสั่ง” ของแพทย์ซึ่งเปรียบเสมือน “หัวหน้า” ครอบครัวที่ชี้นำสมาชิกในครอบครัวที่อยู่ในบ้านในสภาพการณ์เช่นนี้บทบาทของความเป็นพยาบาลวิชาชีพจึงถูกบดบังด้วยความเป็นผู้หญิง(feminity) เนื่องจากบทบาทที่สะท้อนความเป็นพยาบาลวิชาชีพตามที่สภาการพยาบาลได้กำหนดไว้นั้นเป็นบทบาทเชิงรุกที่มีความอิสระและก้าวหน้าซึ่งเป็นลักษณะที่โน้มเอียงความเป็นชาย (masculinity) บรรทัดฐานเชิงเพศภาวะที่มีต่อวิชาชีพการพยาบาลว่าคือ“งานของผู้หญิง” นี้เองทำให้ผู้ชายที่เข้ามาประกอบวิชาชีพพยาบาลเห็นว่าพยาบาลชายกับภาพนางฟ้าไม่ไปด้วยกัน(ศิริพร จิรวัฒน์กุล,2554)
สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งโรงเรียนผดุงครรภ์ขึ้นในโรงพยาบาลศิริราช มีจุดมุ่งหมายเพื่อทำการคลอดบุตรทั้งภายในและนอกโรงพยาบาล และเน้นถึงการพยาบาลมารดาและทารกแผนใหม่ ทำให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนอย่างยิ่ง เมื่อสมเด็จกรมพระยาชัยนาทนเรนทรเข้ารับราชการเป็นผู้ช่วยปลัดทูลฉลอง กระทรวงธรรมการ ทรงมีหน้าที่พิเศษเป็นผู้ตรวจการโรงเรียนฝึกหัดครูและโรงเรียนราชแพทยาลัย พ.ศ. 2458 จึงทรงดำรงตำแหน่งเป็นผู้บังคับการราชแพทยาลัยที่ตั้งขึ้นใหม่ มีอำนาจเต็มที่เกี่ยวกับโรงเรียนแพทย์พยาบาลและโรงพยาบาลทรงขยายการสอนให้มีการพยาบาลผู้ป่วยไข้ทั่วไปด้วย สมเด็จพระศรีพัชรินทรบรมราชินีนาถก็ทรงสนับสนุนทุกๆ ด้าน แต่ในขณะนั้นมีการทักท้วงว่าเป็นการไม่สมควรที่จะให้ผู้หญิงสาวไปทำการพยาบาลผู้ชาย ดังนั้นในปี พ.ศ. 2449 จึงได้เปิดสอนหลักสูตรพยาบาลชายขึ้น ระยะเวลาการเรียน 1 ปี เรียกว่าบุรุษพยาบาล มีผู้สำเร็จการศึกษารุ่นแรกเมื่อปี พ.ศ. 2450 ได้รับประกาศนียบัตรวิชาการพยาบาล ผู้รับการอบรมเหล่านี้ได้ทำประโยชน์อย่างมากในกิจการฝ่ายการพยาบาลของกองทัพต่างๆต่อมาเมื่อโรงพยาบาลของสภากาชาด ทดลองให้พยาบาลหญิงให้การพยาบาลกับผู้ป่วยเพศชายได้สำเร็จและเป็นที่ยอมรับของสังคม การเลือกผลิตเฉพาะพยาบาลชายจึงน้อยลง
อย่างไรก็ตามในปัจจุบันนี้ พบว่ามีนักศึกษาผุ้ชายจำนวนไม่น้อยที่สอบเข้ามาเรียนพยาบาล ทั้งนี้อาสืบเนื่องมาจาก อาชีพพยาบาลเป็นอาชีพที่มีงานทำแน่นอนและมีรายได้ดี (หาข้อมูลมาสนับสนุนเพิ่มอีกแต่เขียนประมาณนี้) ดังนั้นการเข้ามาเรียนพยาบาลของนักศึกษาเพศชายจึงเป็นสิ่งที่สังคมตั้งข้อสังเกต เนื่องจากสังคมไทยมักคุ้นเคยกับภาพของพยาบาลที่เป็นผู้หญิง แม้ว่าในความเป็นจริงแล้ว พยาบาลเพศชายอาจจะสามารถดูแลผู้ป่วยได้ดีเช่นเดียวกับพยาบาลที่เป็นเพศหญิง (หางานวิจัยมาสนับสนุนค่ะ) หรือมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกับพยาบาลหญิงในด้านต่างๆ ที่อาจารย์ผู้สอนจะต้องตระหนักและให้ความสำคัญในการส่งเสริมหรือให้ความช่วยเหลือในขณะที่กำลังศึกษาอยู่ อันจะนำไปสู่การเตรียมนักศึกษาตามสมรรถนะของวิชาชีพพยาบาลต่อไป
การศึกษาพยาบาลได้ให้ความสำคัญกับทัศนคติที่มีต่อวิชาชีพ ดังจะเห็นได้จากปรัชญาของสถาบันซึ่งต้องการบัณฑิตที่มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ (อุดมรัตน์ สงวนศิริธรรม, 2550) เนื่องจากวิชาชีพการพยาบาลเป็นวิชาชีพที่สังคมคาดหวังในด้านบริการสุขภาพ หากพยาบาลมีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาชีพแล้วจะทำให้ไม่สามารถให้บริการที่ดีกับผู้รับบริการและไม่สามารถปฏิบัติภารกิจต่างๆให้บรรลุเป้าหมายคุณภาพได้ ซึ่งการพัฒนาให้พยาบาลมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพได้นั้น ส่วนหนึ่งจำเป็นต้องเตรียมตั้งแต่เป็นนักเรียนพยาบาลโดยสถาบันการศึกษาพยาบาล อาจารย์ผู้สอนควรมีการปลูกฝังเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ และการวางตัวเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักศึกษา ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้นักศึกษาเกิดเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพได้
ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาทัศนคติที่มีต่อวิชาชีพพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลเพศชายว่ามีความสัมพันธ์กับการรับรู้ความสามารถในการปฏิบัติการพยาบาลของตนเองหรือไม่อย่างไร และมีปัญหาและอุปสรรคอะไรบ้างในการดูแลผู้ป่วยทั้งนี้เพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางในการนิเทศนักศึกษาหรือการปรับปรุงรูปแบบในการขึ้นฝึกปฏิบัติงานสำหรับนักศึกษาพยาบาลเพศชายและเป็นจุดเริ่มต้นของการมองความแตกต่างระหว่างเพศในการปฏิบัติการพยาบาล

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
สังคมไทยกำหนดสร้างความเป็นหญิงเป็นชายแตกต่างกันไปแต่ละสังคมและกาลเวลาผู้หญิงและผู้ชายในสังคมต่างก็เรียนรู้การสร้างและแสดง “บทบาทความเป็นหญิงความเป็นชาย” (gender roles) จากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่งทั้งจากที่บ้านชุมชนและสังคมแน่นอนว่าทั้งผู้หญิงและผู้ชายไม่สามารถสร้างบทบาทความเป็นหญิงความเป็นชายตามที่ตนเองต้องการอย่างแท้จริงได้เพราะบทบาทความเป็นหญิงความเป็นชายนี้เป็นเรื่องของความสัมพันธ์และความคาดหวังระหว่างกันนอกจากนี้สังคมยังมักเชื่อมโยง “บทบาทความเป็นหญิงความเป็นชาย” กับ “บทบาทเพศ” เช่นเมื่อผู้หญิงมีบทบาททางเพศในการตั้งครรภ์คลอดลูกและมีเต้านมผู้หญิงจึงมีหน้าที่เลี้ยงลูกทั้งที่แท้จริงแล้วการเลี้ยงดูลูกเป็นบทบาทความเป็นหญิงความเป็นชายที่สังคมกำหนดขึ้นผู้หญิงจึงไม่จำเป็นต้องมีบทบาทเลี้ยงลูกเองเสมอไปโดยผู้ชายอาจมีบทบาทเป็นผู้เลี้ยงลูกแทนผู้หญิงก็ได้ (สำนักงานสตรีและสถาบันครอบครัว) ซึ่งบทบาทการดูแลดังกล่าวสามารถเปรียบเทียบได้กับหนึ่งอาชีพในสังคมไทยนั่นคือ พยาบาล โดยอาชีพพยาบาลมีผู้ประกอบทั้งชายและหญิงแต่บทบาทของพยาบาลเมื่อยู่ในหอผู้ป่วยเปรียบเสมือน“แม่บ้าน”ที่ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยของหอผู้ป่วยอำนวยความสะดวกแก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องให้สามารถทำงานได้และทำให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาตาม “คำสั่ง” ของแพทย์ซึ่งเปรียบเสมือน “หัวหน้า” ครอบครัวที่ชี้นำสมาชิกในครอบครัวที่อยู่ในบ้านในสภาพการณ์เช่นนี้บทบาทของความเป็นพยาบาลวิชาชีพจึงถูกบดบังด้วยความเป็นผู้หญิง(feminity) เนื่องจากบทบาทที่สะท้อนความเป็นพยาบาลวิชาชีพตามที่สภาการพยาบาลได้กำหนดไว้นั้นเป็นบทบาทเชิงรุกที่มีความอิสระและก้าวหน้าซึ่งเป็นลักษณะที่โน้มเอียงความเป็นชาย (masculinity) บรรทัดฐานเชิงเพศภาวะที่มีต่อวิชาชีพการพยาบาลว่าคือ“งานของผู้หญิง” นี้เองทำให้ผู้ชายที่เข้ามาประกอบวิชาชีพพยาบาลเห็นว่าพยาบาลชายกับภาพนางฟ้าไม่ไปด้วยกัน(ศิริพร จิรวัฒน์กุล,2554)สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งโรงเรียนผดุงครรภ์ขึ้นในโรงพยาบาลศิริราช มีจุดมุ่งหมายเพื่อทำการคลอดบุตรทั้งภายในและนอกโรงพยาบาล และเน้นถึงการพยาบาลมารดาและทารกแผนใหม่ ทำให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนอย่างยิ่ง เมื่อสมเด็จกรมพระยาชัยนาทนเรนทรเข้ารับราชการเป็นผู้ช่วยปลัดทูลฉลอง กระทรวงธรรมการ ทรงมีหน้าที่พิเศษเป็นผู้ตรวจการโรงเรียนฝึกหัดครูและโรงเรียนราชแพทยาลัย พ.ศ. 2458 จึงทรงดำรงตำแหน่งเป็นผู้บังคับการราชแพทยาลัยที่ตั้งขึ้นใหม่ มีอำนาจเต็มที่เกี่ยวกับโรงเรียนแพทย์พยาบาลและโรงพยาบาลทรงขยายการสอนให้มีการพยาบาลผู้ป่วยไข้ทั่วไปด้วย สมเด็จพระศรีพัชรินทรบรมราชินีนาถก็ทรงสนับสนุนทุกๆ ด้าน แต่ในขณะนั้นมีการทักท้วงว่าเป็นการไม่สมควรที่จะให้ผู้หญิงสาวไปทำการพยาบาลผู้ชาย ดังนั้นในปี พ.ศ. 2449 จึงได้เปิดสอนหลักสูตรพยาบาลชายขึ้น ระยะเวลาการเรียน 1 ปี เรียกว่าบุรุษพยาบาล มีผู้สำเร็จการศึกษารุ่นแรกเมื่อปี พ.ศ. 2450 ได้รับประกาศนียบัตรวิชาการพยาบาล ผู้รับการอบรมเหล่านี้ได้ทำประโยชน์อย่างมากในกิจการฝ่ายการพยาบาลของกองทัพต่างๆต่อมาเมื่อโรงพยาบาลของสภากาชาด ทดลองให้พยาบาลหญิงให้การพยาบาลกับผู้ป่วยเพศชายได้สำเร็จและเป็นที่ยอมรับของสังคม การเลือกผลิตเฉพาะพยาบาลชายจึงน้อยลง อย่างไรก็ตามในปัจจุบันนี้ พบว่ามีนักศึกษาผุ้ชายจำนวนไม่น้อยที่สอบเข้ามาเรียนพยาบาล ทั้งนี้อาสืบเนื่องมาจาก อาชีพพยาบาลเป็นอาชีพที่มีงานทำแน่นอนและมีรายได้ดี (หาข้อมูลมาสนับสนุนเพิ่มอีกแต่เขียนประมาณนี้) ดังนั้นการเข้ามาเรียนพยาบาลของนักศึกษาเพศชายจึงเป็นสิ่งที่สังคมตั้งข้อสังเกต เนื่องจากสังคมไทยมักคุ้นเคยกับภาพของพยาบาลที่เป็นผู้หญิง แม้ว่าในความเป็นจริงแล้ว พยาบาลเพศชายอาจจะสามารถดูแลผู้ป่วยได้ดีเช่นเดียวกับพยาบาลที่เป็นเพศหญิง (หางานวิจัยมาสนับสนุนค่ะ) หรือมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกับพยาบาลหญิงในด้านต่างๆ ที่อาจารย์ผู้สอนจะต้องตระหนักและให้ความสำคัญในการส่งเสริมหรือให้ความช่วยเหลือในขณะที่กำลังศึกษาอยู่ อันจะนำไปสู่การเตรียมนักศึกษาตามสมรรถนะของวิชาชีพพยาบาลต่อไป
การศึกษาพยาบาลได้ให้ความสำคัญกับทัศนคติที่มีต่อวิชาชีพ ดังจะเห็นได้จากปรัชญาของสถาบันซึ่งต้องการบัณฑิตที่มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ (อุดมรัตน์ สงวนศิริธรรม, 2550) เนื่องจากวิชาชีพการพยาบาลเป็นวิชาชีพที่สังคมคาดหวังในด้านบริการสุขภาพ หากพยาบาลมีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาชีพแล้วจะทำให้ไม่สามารถให้บริการที่ดีกับผู้รับบริการและไม่สามารถปฏิบัติภารกิจต่างๆให้บรรลุเป้าหมายคุณภาพได้ ซึ่งการพัฒนาให้พยาบาลมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพได้นั้น ส่วนหนึ่งจำเป็นต้องเตรียมตั้งแต่เป็นนักเรียนพยาบาลโดยสถาบันการศึกษาพยาบาล อาจารย์ผู้สอนควรมีการปลูกฝังเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ และการวางตัวเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักศึกษา ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้นักศึกษาเกิดเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพได้
ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาทัศนคติที่มีต่อวิชาชีพพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลเพศชายว่ามีความสัมพันธ์กับการรับรู้ความสามารถในการปฏิบัติการพยาบาลของตนเองหรือไม่อย่างไร และมีปัญหาและอุปสรรคอะไรบ้างในการดูแลผู้ป่วยทั้งนี้เพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางในการนิเทศนักศึกษาหรือการปรับปรุงรูปแบบในการขึ้นฝึกปฏิบัติงานสำหรับนักศึกษาพยาบาลเพศชายและเป็นจุดเริ่มต้นของการมองความแตกต่างระหว่างเพศในการปฏิบัติการพยาบาล

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
"บทบาทความเป็นหญิงความเป็นชาย" (บทบาททางเพศ) "บทบาทความเป็นหญิงความเป็นชาย" กับ "บทบาทเพศ" (สำนักงานสตรีและสถาบันครอบครัว) พยาบาล "คำสั่ง" ของแพทย์ซึ่งเปรียบเสมือน "หัวหน้า" (ชาย)
สมเด็จพระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ กระทรวงธรรมการ พ.ศ. 2458 ด้าน ดังนั้นในปี พ.ศ. 2449 ระยะเวลาการเรียน 1 ปีเรียกว่าบุรุษพยาบาลมีผู้สำเร็จการ ศึกษารุ่นแรกเมื่อปี พ.ศ. 2450 ได้รับประกาศนียบัตรวิชาการพยาบาล
ทั้งนี้อาสืบเนื่องมาจาก แม้ว่าในความเป็นจริงแล้ว (หางานวิจัยมาสนับสนุนค่ะ)
(อุดมรัตน์สงวนศิริธรรม, 2550)


การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
สังคมไทยกำหนดสร้างความเป็นหญิงเป็นชายแตกต่างกันไปแต่ละสังคมและกาลเวลาผู้หญิงและผู้ชายในสังคมต่างก็เรียนรู้การสร้างและแสดง " บทบาทความเป็นหญิงความเป็นชาย " ( บทบาท ) จากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่งทั้งจากที่บ้านชุมชนและสังคมแน่นอนว่าทั้งผู้หญิงและผู้ชายไม่สาม ารถสร้างบทบาทความเป็นหญิงความเป็นชายตามที่ตนเองต้องการอย่างแท้จริงได้เพราะบทบาทความเป็นหญิงความเป็นชายนี้เป็นเรื่องของความสัมพันธ์และความคาดหวังระหว่างกันนอกจากนี้สังคมยังมักเชื่อมโยง " บทบาทความเป็นหญิงความเป็นชาย " กับ " บทบาทเพศ " เช่นเมื่อผู้หญิงมีบทบา ททางเพศในการตั้งครรภ์คลอดลูกและมีเต้านมผู้หญิงจึงมีหน้าที่เลี้ยงลูกทั้งที่แท้จริงแล้วการเลี้ยงดูลูกเป็นบทบาทความเป็นหญิงความเป็นชายที่สังคมกำหนดขึ้นผู้หญิงจึงไม่จำเป็นต้องมีบทบาทเลี้ยงลูกเองเสมอไปโดยผู้ชายอาจมีบทบาทเป็นผู้เลี้ยงลูกแทนผู้หญิงก็ได้ ( สำน ักงานสตรีและสถาบันครอบครัว ) ซึ่งบทบาทการดูแลดังกล่าวสามารถเปรียบเทียบได้กับหนึ่งอาชีพในสังคมไทยนั่นคือพยาบาลโดยอาชีพพยาบาลมีผู้ประกอบทั้งชายและหญิงแต่บทบาทของพยาบาลเมื่อยู่ในหอผู้ป่วยเปรียบเสมือน " แม่บ้าน " ที่ดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยของหอผู้ป่วยอำน วยความสะดวกแก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องให้สามารถทำงานได้และทำให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาตาม " คำสั่ง " ของแพทย์ซึ่งเปรียบเสมือน " หัวหน้า " ครอบครัวที่ชี้นำสมาชิกในครอบครัวที่อยู่ในบ้านในสภาพการณ์เช่นนี้บทบาทของความเป็นพยาบาลวิชาชีพจึงถูกบดบังด้วยความเป็นผู้หญิง ( เฟมินิ ไท ) เนื่องจากบทบาทที่สะท้อนความเป็นพยาบาลวิชาชีพตามที่สภาการพยาบาลได้กำหนดไว้นั้นเป็นบทบาทเชิงรุกที่มีความอิสระและก้าวหน้าซึ่งเป็นลักษณะที่โน้มเอียงความเป็นชาย ( ชาย ) บรรทัดฐานเชิงเพศภาวะที่มีต่อวิชาชีพการพยาบาลว่าคือ " งานของผู้หญิง " นี้เองทำให้ผู้ชายที่เข้ ามาประกอบวิชาชีพพยาบาลเห็นว่าพยาบาลชายกับภาพนางฟ้าไม่ไปด้วยกัน ( ศิริพรจิรวัฒน์กุล , 2554 )สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถสมเด็จพระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: