ประวัติ เดิมเชื่อกันว่าประเพณีลอยกระทงเริ่มมีมาแต่สมัยสุโขทัย ในรัชสมั การแปล - ประวัติ เดิมเชื่อกันว่าประเพณีลอยกระทงเริ่มมีมาแต่สมัยสุโขทัย ในรัชสมั ไทย วิธีการพูด

ประวัติ เดิมเชื่อกันว่าประเพณีลอยกร

ประวัติ เดิมเชื่อกันว่าประเพณีลอยกระทงเริ่มมีมาแต่สมัยสุโขทัย ในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหง โดยมีนางนพมาศหรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็นผู้ประดิษฐ์กระทงขึ้นครั้งแรก โดยแต่เดิมเรียกว่าพิธีจองเปรียง ที่ลอยเทียนประทีป และนางนพมาศได้นำดอกโคทม ซึ่งเป็นดอกบัวที่บานเฉพาะวันเพ็ญเดือนสิบสองมาใช้ใส่เทียนประทีป แต่ปัจจุบันมีหลักฐานว่าไม่น่าจะเก่ากว่าสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยอ้างอิงหลักฐานจากภาพจิตรกรรมการสร้างกระทงแบบต่างๆ ในสมัยรัชกาลที่1
• ภาคเหนือตอนบน นิยมทำโคมลอย เรียกว่า "ลอยโคม" หรือ "ว่าวฮม" หรือ"ว่าว ควัน" ทำจากผ้าบางๆ แล้วสุมควันข้างใต้ให้ลอยขึ้นไปในอากาศอย่างบัลลูน ประเพณีของชาวเหนือนี้เรียกว่า ยี่เป็ง หมายถึงการทำบุญในวันเพ็ญเดือนยี่(ซึ่งนับวันตามแบบล้านนา ตรงกับวันเพ็ญเดือนสิบสองในแบบไทย)
o จังหวัดเชียงใหม่ มีประเพณี"ยี่เป็ง"เชียงใหม่ ในทุกๆปีจะมีการจัดงานขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ตระการตา และมีการปล่อยโคมลอยขึ้นเต็มท้องฟ้า
o จังหวัดตาก จะลอยกระทงขนาดเล็กทยอยเรียงรายไปเป็นสาย เรียกว่า "กระทงสาย"
o จังหวัดสุโขทัย ขบวนแห่โคมชักโคมแขวน การเล่นพลุตะไล ไฟพะเนียง
• ภาคอีสาน ในอดีตมีการเรียกประเพณีลอยกระทงในภาคอีสานว่า สิบสองเพ็ง หมายถึงวันเพ็ญเดือนสิบสองซึ่งจะมีเอกลักษณ์แตกต่างกันออกไป เช่น
o จังหวัดร้อยเอ็ด มีชื่องานประเพณีว่า "สมมาน้ำคืนเพ็ง เส็งประทีป" ตามภาษาถิ่นมีความหมายถึงการขอขมาพระแม่คงคา ในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสอง การประกวดประทีปโคมไฟและกระทงอันสวยงาม มีการจำลองแห่หัวเมืองสาเกตุนครทั้ง11 หัวเมือง
o จังหวัดสกลนคร ในอดีตจะมีการลอยกระทงจากกาบกล้วย ลักษณะคล้ายกับการทำปราสาทผึ้งโบราณ เรียกงานนี้ว่าเทศกาลลอยพระประทีปพระราชทาน สิบสองเพ็งไทสกล
o จังหวัดนครพนม จะตกแต่งเรือแล้วประดับไฟ เป็นรูปต่างๆ เรียกว่า "ไหลเรือไฟ"โดยเฉพาะที่จังหวัดนครพนมเพราะมีความงดงามและอลังการที่สุดในภาคอีสาน
• ภาคกลาง มีการจัดประเพณีลอยกระทงขึ้นทั่วทุกจังหวัด
o กรุงเทพมหานคร จะมีงานภูเขาทอง เป็นรูปแบบงานวัด เฉลิมฉลองราว 7-10 วัน ก่อนงานลอยกระทง และจบลงในช่วงหลังวันลอยกระทง
o จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีการจัดงานประเพณีลอยกระทงกรุงเก่าขึ้นอย่างยิ่งใหญ่บริเวณอุทยานประวัติ ศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ภายในงานมีการจัดแสดงแสง สี เสียง อย่างงดงามตระการตา
• ภาคใต้ อย่างที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ก็มีการจัดงานอย่างยิ่งใหญ่ นอกจากนั้น ในจังหวัดอื่นๆ ก็จะจัดงานวันลอยกระทงด้วยเช่นกัน
นอกจากนี้ในแต่ละท้องถิ่นยังอาจมีประเพณีลอยกระทงที่แตกต่างกันไป และสืบทอดต่อกันเรื่อยมา

ความเชื่อเกี่ยวกับวันลอยกระทง
• เป็นการขอขมาพระแม่คงคา ที่มนุษย์ได้ใช้น้ำ ได้ดื่มกินน้ำ รวมไปถึงการทิ้งสิ่งปฏิกูลต่างๆ ลงในแม่น้ำ
• เป็นการสักการะรอยพระพุทธบาท ที่พระพุทธเจ้าทรงได้ประทับรอยพระบาทไว้หาดทรายแม่น้ำนัมมทานที ในประเทศอินเดีย
• เป็นการลอยความทุกข์ ความโศกรวมถึงโรคภัยต่างๆ ให้ลอยไปกับแม่น้ำ
• ชาวไทยในภาคเหนือมีความเชื่อว่า การลอยกระทงเป็นการบูชาพระอุปคุต ตามตำนานเล่าว่า พระอุปคุตทรงสามารถปราบพระยามารได้

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติ ในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหง เป็นผู้ประดิษฐ์กระทงขึ้นครั้งแรกโดย แต่เดิมเรียกว่าพิธีจองเปรียงและนางนพมาศได้นำดอกโคทมในสมัย​​รัชกาลที่ 1
•ภาคเหนือตอนบนนิยมทำโคมลอยเรียกว่า "ลอยโคม" หรือ "ว่าวฮม" หรือ "ว่าวควัน" ทำจากผ้าบาง ๆ ประเพณีของชาวเหนือนี้เรียกว่ายี่เป็งo จังหวัดเชียงใหม่มีประเพณี "ยี่เป็ง" เชียงใหม่
o จังหวัดตาก เรียกว่า "กระทงสาย"
o จังหวัดสุโขทัยขบวนแห่โคมชักโคมแขวนการเล่นพลุตะไลไฟพะเนียง
•ภาคอีสาน สิบสองเพ็ง เช่น
o จังหวัดร้อยเอ็ดมีชื่องาน "สมมาน้ำคืนเพ็งเส​​็งประทีป" ประเพณีว่า ในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสองo จังหวัดสกลนครในอดีตจะมีการลอยกระทงจากกาบกล้วย สิบสองเพ็งไทสกล
o จังหวัดนครพนมจะตกแต่งเรือแล้วประดับไฟเป็นรูปต่างๆเรียกว่า
•ภาคกลาง
o กรุงเทพมหานครจะมีงานภูเขาทองเป็นรูปแบบงานวัดเฉลิมฉลองราว 7-10 วันก่อนงานลอยกระทงและจบลงในช่วงหลังวันลอยกระทง
o จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ศาสตร์พระนครศรีอยุธยาภายในงานมีการจัดแสดงแสงสีเสียงอย่างงดงามตระการตา
•ภาคใต้อย่างที่อำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลาก็มีการจัดงานอย่างยิ่งใหญ่นอกจากนั้นในจังหวัดอื่น ๆ ก็จะจัดงานวันลอยกระทงด้วยเช่นกัน
•เป็นการขอขมาพระแม่คงคาที่มนุษย์ได้ใช้น้ำได้ดื่มกินน้ำรวมไปถึงการทิ้งสิ่งปฏิกูลต่างๆลงในแม่น้ำ
•เป็นการสักการะรอยพระพุทธบาท ในประเทศอินเดีย
•เป็นการลอยความทุกข์ความโศกรวมถึงโรคภัยต่างๆให้ลอยไปกับแม่น้ำ
•ชาวไทยในภาคเหนือมีความเชื่อว่าการลอยกระทงเป็นการบูชาพระอุปคุตตามตำนานเล่าว่า
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติเดิมเชื่อกันว่าประเพณีลอยกระทงเริ่มมีมาแต่สมัยสุโขทัยในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหงโดยมีนางนพมาศหรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์เป็นผู้ประดิษฐ์กระทงขึ้นครั้งแรกโดยแต่เดิมเรียกว่าพิธีจองเปรียง และนางนพมาศได้นำดอกโคทมซึ่งเป็นดอกบัวที่บานเฉพาะวันเพ็ญเดือนสิบสองมาใช้ใส่เทียนประทีปแต่ปัจจุบันมีหลักฐานว่าไม่น่าจะเก่ากว่าสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ในสมัยรัชกาลที่1
•ภาคเหนือตอนบนนิยมทำโคมลอยเรียกว่า "ลอยโคม" หรือ "ว่าวฮม" หรือ "ว่าวควัน" ทำจากผ้าบาง ๆ แล้วสุมควันข้างใต้ให้ลอยขึ้นไปในอากาศอย่างบัลลูนประเพณีของชาวเหนือนี้เรียกว่ายี่เป็ง ตรงกับวันเพ็ญเดือนสิบสองในแบบไทย)
o จังหวัดเชียงใหม่มีประเพณี "ยี่เป็ง" เชียงใหม่ในทุกๆปีจะมีการจัดงานขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ตระการตาและมีการปล่อยโคมลอยขึ้นเต็มท้องฟ้า
o จังหวัดตากจะลอยกระทงขนาดเล็กทยอยเรียงรายไปเป็นสายเรียกว่า "กระทงสาย"
o จังหวัดสุโขทัยขบวนแห่โคมชักโคมแขวนการเล่นพลุตะไลไฟพะเนียง
•ภาคอีสานในอดีตมีการเรียกประเพณีลอยกระทงในภาคอีสานว่าสิบสองเพ็งหมายถึงวันเพ็ญเดือนสิบสองซึ่งจะมีเอกลักษณ์แตกต่างกันออกไปเช่น
o จังหวัดร้อยเอ็ดมีชื่องานประเพณีว่า "สมมาน้ำคืนเพ็งเส็งประทีป" ตามภาษาถิ่นมีความหมายถึงการขอขมาพระแม่คงคาในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสองการประกวดประทีปโคมไฟและกระทงอันสวยงาม หัวเมือง
o จังหวัดสกลนครในอดีตจะมีการลอยกระทงจากกาบกล้วยลักษณะคล้ายกับการทำปราสาทผึ้งโบราณเรียกงานนี้ว่าเทศกาลลอยพระประทีปพระราชทานสิบสองเพ็งไทสกล
o จังหวัดนครพนมจะตกแต่งเรือแล้วประดับไฟเป็นรูปต่าง ๆ เรียกว่า "ไหลเรือไฟ" โดยเฉพาะที่จังหวัดนครพนมเพราะมีความงดงามและอลังการที่สุดในภาคอีสาน
•ภาคกลางมีการจัดประเพณีลอยกระทงขึ้นทั่วทุกจังหวัด
o กรุงเทพมหานครจะมีงานภูเขาทองเป็นรูปแบบงานวัดเฉลิมฉลองราว 7-10 วันก่อนงานลอยกระทงและจบลงในช่วงหลังวันลอยกระทง
o จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีการจัดงานประเพณีลอยกระทงกรุงเก่าขึ้นอย่างยิ่งใหญ่บริเวณอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาภายในงานมีการจัดแสดงแสงสีเสียงอย่างงดงามตระการตา
•ภาคใต้อย่างที่อำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลาก็มีการจัดงานอย่างยิ่งใหญ่นอกจากนั้นในจังหวัดอื่น ๆ ก็จะจัดงานวันลอยกระทงด้วยเช่นกัน
นอกจากนี้ในแต่ละท้องถิ่นยังอาจมีประเพณีลอยกระทงที่แตกต่างกันไปและสืบทอดต่อกันเรื่อยมา

ความเชื่อเกี่ยวกับวันลอยกระทง
•เป็นการขอขมาพระแม่คงคาที่มนุษย์ได้ใช้น้ำได้ดื่มกินน้ำรวมไปถึงการทิ้งสิ่งปฏิกูลต่าง ๆ ลงในแม่น้ำ
•เป็นการสักการะรอยพระพุทธบาทที่พระพุทธเจ้าทรงได้ประทับรอยพระบาทไว้หาดทรายแม่น้ำนัมมทานทีในประเทศอินเดีย
•เป็นการลอยความทุกข์ความโศกรวมถึงโรคภัยต่าง ๆ ให้ลอยไปกับแม่น้ำ
•ชาวไทยในภาคเหนือมีความเชื่อว่าการลอยกระทงเป็นการบูชาพระอุปคุตตามตำนานเล่าว่าพระอุปคุตทรงสามารถปราบพระยามารได้

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติเดิมเชื่อกันว่าประเพณีลอยกระทงเริ่มมีมาแต่ในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหงโดยมีนางนพมาศหรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์เป็นผู้ประดิษฐ์กระทงขึ้นครั้งแรกโดยแต่เดิมเรียกว่าพิธีจองเปรียงและนางนพมาศได้นำดอกโคทมซึ่งเป็นดอกบัวที่บานเฉพาะวันเพ็ญเดือนสิบสอแต่ปัจจุบันมีหลักฐานว่าไม่น่าจะเก่ากว่าสมัในสมัยรัชกาลที่ 1
• ภาคเหนือตอนบน นิยมทำโคมลอยเรียกว่า"ลอยโคม"หรือ"ว่าวฮม"หรือ"ว่าวควัน"ทำจากผ้าบางๆแล้วสุมควันข้างใต้ให้ลอยขึ้นไปในอากาศอย่างประเพณีของชาวเหนือนี้เรียกว่ายี่เป็งตรงกับวันเพ็ญเดือนสิบสองในแบบไทย)
o จังหวัดเชียงใหม่มีประเพณี"ยี่เป็ง"เชียงใหม่ในทุกๆปีจะมีการจัดงานขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ตระกและมีการปล่อยโคมลอยขึ้นเต็มท้องฟ้า
o จังหวัดตากจะลอยกระทงขนาดเล็กทยอยเรียงรายไปเป็นสายเรียกว่า"กระทงสาย"
o จังหวัดสุโขทัยขบวนแห่โคมชักโคมแขวนการเล่นพลุตะไลไฟพะเนียง
• ภาคอีสาน ในอดีตมีการเรียกประเพณีลอยกระทงในภาคอีสานว สิบสองเพ็งหมายถึงวันเพ็ญเดือนสิบสองซึ่งจะมีเอกลักษณ์เช่น
o จังหวัดร้อยเอ็ดมีชื่องานประเพณีว่า"สมมาน้ำคืนเพ็งเส็งประทีป" ตามภาษาถิ่นมีความหมายถึงการขอขมาพระแม่คงคา ในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสองการประกวดประทีปโคมไฟและกระทงอันสวยงามหัวเมือง
o จังหวัดสกลนครในอดีตจะมีการลอยกระทงจากกาบกล้วยลักษณะคล้ายกับการทำปราสาทผึ้งโบราณเรียกงานนี้ว่าเทศกาลลอยพระประทีปพระราชทานสิบสองเพ็งไทสกล
o จังหวัดนครพนมจะตกแต่งเรือแล้วประดับไฟเป็นรูปต่างๆเรียกว่า"ไหลเรือไฟ"โดยเฉพาะที่จังหวัดนครพนมเพราะมีคว
• ภาคกลาง มีการจัดประเพณีลอยกระทงขึ้นทั่วทุกจังหวัด
o กรุงเทพมหานคร จะมีงานภูเขาทอง เป็นรูปแบบงานวัดเฉลิมฉลองราว 7-10 7-10 7-10 ท่องเที่ยวเพื่อรับฟังเรื่องราวของก่อนงานลอยกระทงและจบลงในช่วงหลังวันลอยกระทง
o จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีการจัดงานประเพณีลอยกระทงกรุงเก่าขึ้นอย่าศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ภายในงานมีการจัดแสดงแสง สีเสียงอย่างงดงามตระการตา
• ภาคใต้ อย่างที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาก็มีการจัดงานอย่างยิ่งใหญ่นอกจากนั้นในจังหวัดอื่นๆก็จะจัดงานวันลอยกระทงด้วยเช่นกัน
นอกจากนี้ในแต่ละท้องถิ่นยังอาจมีประเพณีลอยและสืบทอดต่อกันเรื่อยมา

ความเชื่อเกี่ยวกับว•เป็นการขอขมาพระแม่คงคาที่มนุษย์ได้ใช้น้ำได้ดื่มกินน้ำรวมไปถึงการทิ้งสิ่งปฏิกูลต่างๆลงในแม่น้ำ
•เป็นการสักการะรอยพระพุทธบาทที่พระพุทธเจ้าทรงได้ประทับรอยพระบาทไว้หาดทในประเทศอินเดีย
•เป็นการลอยความทุกข์ ความโศกรวมถึงโรคภัยต่างๆ ให้ลอยไปกับแม่น้ำ
• ชาวไทยในภาคเหนือมีความเชื่อว่า การลอยกระทงเป็นการบูชาพระอุปคุตตามตำนานเล่าว่า พระอุปคุตทรงสามารถปราบพระยามารได้

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: