ชื่อเรื่อง  การพัฒนาพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริงผู้วิจัย  นายยงยุ การแปล - ชื่อเรื่อง  การพัฒนาพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริงผู้วิจัย  นายยงยุ ไทย วิธีการพูด

ชื่อเรื่อง การพัฒนาพิพิธภัณฑ์ธรรมช

ชื่อเรื่อง การพัฒนาพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริง
ผู้วิจัย นายยงยุทธ มุ่งหมาย
กรรมการควบคุม รองศาสตราจารย์ ดร.สุทธิพงษ์ หกสุวรรณและ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรนุช ศรีสะอาด
ปริญญา ปร.ด. สาขาวิชา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่พิมพ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องพัฒนาพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริง 2) เพื่อพัฒนาพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริง 3) เพื่อศึกษาผลการทดลองใช้พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริง ขั้นตอนการดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริงอระยะที่ 2 พัฒนาพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริง และระยะที่ 3 ศึกษาผลการทดลองใช้พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ได้แก่ 1) ประชากรภาคตะวินออกเฉียงเหนือ ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Random Sampling) 2) ผู้บริหารพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา/พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยขอนแก่นและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับพิพิธภัณฑ์ที่ใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) รวมทั้งสิ้น 12 คน 3) ผู้เชี่ยวชาญที่เข้าร่วมการสนทนากลุ่มเพื่อพิจารณาตรวจสอบคุณภาพร่างพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริงและเอกสารประกอบการใช้งาน จำนวน 7 คน 4) นักเรียน/นักศึกษา/ประชาชน ที่ทดลองใช้สื่อพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริง ได้มาโดยการสุ่มแบบเจาะจงและแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบสอบถามสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาให้เป็นเสมือนจริง 2) แบบสัมภาษณ์เชิงลึก 3) แบบสื่อพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริงและคู่มือการใช้งาน 4) แบบวัดการรับรู้สื่อพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนขริง 5) แบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้งานสื่อพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริง 6) แบบคำถามการสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Dependent Samples t-test
ผลการวิจัย
-ยังไม่มีผล เนื่องจากยังไม่ได้ดำเนินการวิจัย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อเรื่องการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริงผู้วิจัยนายยงยุทธมุ่งหมายกรรมการควบคุมรองศาสตราจารย์ดร.สุทธิพงษ์หกสุวรรณและ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.อรนุชศรีสะอาดปริญญาปร.ด สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษามหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาสารคามปีที่พิมพ์ บทคัดย่อการวิจัยครั้งนี้ มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องพัฒนาพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริง 2) เพื่อพัฒนาพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริง 3) เพื่อศึกษาผลการทดลองใช้พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริง ขั้นตอนการดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริงอระยะที่ 2 พัฒนาพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริง และระยะที่ 3 ศึกษาผลการทดลองใช้พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ได้แก่ 1) ประชากรภาคตะวินออกเฉียงเหนือ ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Random Sampling) 2) ผู้บริหารพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา/พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยขอนแก่นและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับพิพิธภัณฑ์ที่ใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) รวมทั้งสิ้น 12 คน 3) ผู้เชี่ยวชาญที่เข้าร่วมการสนทนากลุ่มเพื่อพิจารณาตรวจสอบคุณภาพร่างพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริงและเอกสารประกอบการใช้งาน จำนวน 7 คน 4) นักเรียน/นักศึกษา/ประชาชน ที่ทดลองใช้สื่อพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริง ได้มาโดยการสุ่มแบบเจาะจงและแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบสอบถามสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาให้เป็นเสมือนจริง 2) แบบสัมภาษณ์เชิงลึก 3) แบบสื่อพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริงและคู่มือการใช้งาน 4) แบบวัดการรับรู้สื่อพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนขริง 5) แบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้งานสื่อพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเสมือนจริง 6) แบบคำถามการสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Dependent Samples t-testผลการวิจัยเนื่องจากยังไม่ได้ดำเนินการวิจัย - ยังไม่มีผล
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อเรื่อง
ยงยุทธตั้งขึ้นที่คุณนายมุ่งหมาย
กรรมการควบคุมรองศาสตราจารย์ดร. พงษ์คุณสุทธิหกสุวรรณและ
คุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร. ศรีสะอาดอรนุช
สูงสุดปริญญา ปร.ด. สาขาวิชา
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีความมุ่งหมาย 1) 2) 3) ขั้นตอนการดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะคือระยะที่ 1 2 และระยะที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ 1) ประชากรภาคตะวินออกเฉียงเหนือได้ มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-เวทีสุ่ม) 2) (การสัมภาษณ์เชิงลึก) รวมทั้งสิ้น 12 คน 3) จำนวน 7 คน 4) นักเรียน / นักศึกษา / ประชาชน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) 2) แบบสัมภาษณ์เชิงลึก 3) 4) 5) 6) แบบคำถามการสนทนากลุ่มสถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ ตัวอย่างขึ้นอยู่กับ t-test ผลการวิจัย- ยังไม่มีผลเนื่องจากยังไม่ได้ดำเนิน การวิจัย






การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: