พระราชกรณียกิจด้านความมั่นคงภายในประเทศ[แก้]พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว การแปล - พระราชกรณียกิจด้านความมั่นคงภายในประเทศ[แก้]พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไทย วิธีการพูด

พระราชกรณียกิจด้านความมั่นคงภายในปร

พระราชกรณียกิจด้านความมั่นคงภายในประเทศ[แก้]
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 และได้มีพระราชพิธีบรมราชาภิเษกอย่างเป็นทางการในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการแก่พสกนิกรชาวไทยว่า "เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม" ตลอดระยะเวลา 60 ปีของการเป็นพระมหากษัตริย์ที่ได้ทรงปกครองประเทศ พสกนิกรชาวไทยทุกหมู่เหล่าตลอดจนผู้เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารต่างได้รับความร่วมเย็นเป็นสุขภายใต้พระบารมีและพระบรมเดชานุภาพเป็นที่ประจักษ์ของผู้คนทั้งหลาย พระองค์ได้เสด็จฯ เยี่ยมพสกนิกรไปทุกหนทุกแห่งได้ทรงพบผู้คนในระดับล่าง แลกเปลี่ยน รับรู้ และทรงเข้าใจในสภาพความเป็นอยู่ของคนเหล่านั้นและได้นำข้อเท็จจริงทั้งหลายอันนำมาซึ่งความทุกข์ยากต่างๆที่คนเหล่านั้นประสบมาหาแนวทางช่วยเหลือแก้ไข เป็นที่มาของโครงการพระราชดำริมากมายกว่าหนึ่งพันโครงการ พิสูจน์ให้เห็นถึงพระปฐมบรมราชโองการดังกล่าวว่า พระองค์ท่าน "ครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม" อย่างแท้จริง

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงทุ่มเทพระวรกายและพระสติปัญญา ทรงประกอบพระราชกรณียกิจในด้านต่างๆ มากมาย โดยคำนึงถึงประโยชน์สุขของพสกนิกรเป็นหลัก ตลอดระยะเวลาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติ พระองค์ทรงให้ทุกอย่างกับพสกนิกรและชาติบ้านเมือง ทรงงานอย่างหนักเสียสละประโยชน์สุขส่วนพระองค์ ตรากตรำพระวรกายอย่างไม่เห็นแก่ความเหนื่อยยาก เพียงเพื่อมุ่งหวังให้พสกนิกรทั่วราชอาณาจักรมีความสงบร่มเย็นและมีความกินดีอยู่ดี พระมหากรุณาธิคุณแห่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่พระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทยนั้น...ใหญ่หลวงนัก สมดังที่ได้พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการ ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกว่า "เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม"

ในวันที่ 19 สิงหาคม 2489 เมื่อกำหนดเวลาที่จะเสด็จฯ กลับประเทศสวิตเซอร์แลนด์มาถึง ตลอดทางที่รถพระที่นั่งแล่นผ่านฝูงชนที่มาส่งเสด็จอย่างล้นหลาม ได้ทอดพระเนตรเห็นประชาชนที่แสดงความจงรักภักดี บางแห่งใกล้จนทอดพระเนตรเห็นดวงหน้าและแววตาชัด ที่บ่งบอกถึงความเสียขวัญอย่างใหญ่หลวง ทั้งเต็มไปด้วยความรักและห่วงใย อันเป็นภาพที่ทำให้อยากรับสั่งกับเขาทุกคน ถึงความหวังดีที่ทรงเข้าพระทัย และขอบใจเขาเช่นกัน ขวัญของคนเป็นสิ่งสำคัญ ถ้าขาดกำลังใจ ถ้าขวัญเสียมีแต่ความหวาดระแวง ประเทศจะมีแต่ความอ่อนแอและแตกสลาย

ท่ามกลางเสียงโห่ร้องถวายพระพร ก็มีเสียงหนึ่งที่ตะโกนแทรกมาเข้าพระกรรณว่า “ในหลวงอย่าทิ้งประชาชน” ในขณะนั้นทรงนึกตอบในพระทัยว่า “ถ้าประชาชนไม่ทิ้งข้าพเจ้า แล้วข้าพเจ้าจะทิ้งประชาชนได้อย่างไร” เหตุการณ์ในครั้งนั้นเป็นภาพที่ติดอยู่ในพระราชหฤทัยจนไม่อาจทรงลืมได้ จากเดิมที่ทรงตัดสินพระทัยเพียงว่า จะทรงอยู่จนถึงวันพระราชพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพสมเด็จพระบรมเชษฐาเสร็จสิ้นเท่านั้น กลับทำให้ทรงได้คิดว่า ทรงมีหน้าที่เพื่อชาติ และถึงโอกาสแล้วที่ควรจะทรงทำหน้าที่เพื่อชาติและประชาชน ตามที่ทรงได้รับมอบมา ประชาชนจึงเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ตัดสินพระทัยแน่วแน่ ที่จะอยู่ทำหน้าที่ตามที่ประชาชนพร้อมใจกันทูลเกล้าฯ ถวายพระราชภาระแสนยิ่งใหญ่

“ท่านผู้หญิงเกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา” จรดปลายปากกาเขียนไว้ในหนังสือ “ทำเป็นธรรม” เนื่องในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ ว่า ในการตัดสินพระทัยที่ทรงรับพระราชภาระจากสมเด็จพระบรมเชษฐาในครั้งแรก คงจะทรงรับเพราะเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะพระพักตร์ในเวลาอันรวดเร็ว ที่จะต้องตัดสินพระทัยด้วยพระองค์เอง ไม่มีใครที่จะถวายความเห็นได้ หันพระพักตร์ไปทางไหนก็ทรงพบแต่ความโศกเศร้า สมเด็จพระราชชนนีได้แต่ทรงพระกันแสง ไม่เสวย ไม่บรรทม แม้พระองค์เองก็แทบจะหมดพระสติ สิ่งที่ทรงรำลึกถึงคือ จะต้องทรงจัดงานพระบรมศพสมเด็จพระบรมเชษฐาให้สมพระเกียรติ อย่างไรก็ดี แม้จะทรงตัดสินพระทัยขึ้นครองราชย์ตามการกราบบังคมทูลเชิญของรัฐสภา แต่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงมีอีกหนึ่งภารกิจสำคัญ นั่นคือ การเสด็จฯกลับไปทรงศึกษาต่อ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ขณะนั้นจิตใจของประชาชนตกอยู่ในความเสียขวัญ ทรงถือเป็นมิ่งขวัญพระองค์เดียวที่ประชาชนจะยึดมั่นได้

พระราชนิพนธ์บันทึกประจำวันบางส่วนของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ระหว่างวันเสด็จฯจากสยามสู่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ คงพอจะสะท้อนให้เห็นถึงความรักของประชาชน ที่พร้อมใจส่งเสด็จอย่างมืดฟ้ามัวดิน


...วันที่ 19 สิงหาคม 2489 วันนี้ถึงวันที่เราจะต้องจากไปแล้ว พอถึงเวลาก็ลงจากพระที่นั่งพร้อมกับแม่ ลาเจ้านายฝ่ายใน ณ พระที่นั่งชั้นล่างนั้นแล้ว ก็ไปยังวัดพระแก้วเพื่อนมัสการลาพระแก้วมรกต และพระภิกษุสงฆ์ ลาเจ้านายฝ่ายหน้า ลาข้าราชการทั้งไทยและฝรั่ง แล้วก็ไปขึ้นรถยนต์ พอรถแล่นออกไปได้ไม่ถึง 200 เมตร มีผู้หญิงคนหนึ่งเข้ามาหยุดรถแล้วส่งกระป๋องให้เราคนละใบ ราชองครักษ์ไม่แน่ใจว่าจะมีอะไรอยู่ในนั้น บางทีจะเป็นลูกระเบิด เมื่อมาเปิดดูภายหลังปรากฏว่าเป็นทอฟฟี่ที่อร่อยมาก ตามถนนผู้คนช่างมากมายเสียจริงๆ ที่ถนนราชดำเนินกลาง ราษฎรเข้ามาใกล้จนชิดรถที่เรานั่ง กลัวเหลือเกินว่าล้อรถของเราจะไปทับแข้งทับขาใครเข้าบ้าง รถแล่นฝ่าฝูงคนไปได้อย่างช้าที่สุด ถึงวัดเบญจมบพิตร รถแล่นเร็วขึ้นได้บ้าง ตามทางที่ผ่านมา ได้ยินเสียงใครคนหนึ่งร้องขึ้นมาดังๆว่า “อย่าละทิ้งประชาชน” อยากจะร้องบอกเขาลงไปว่า ถ้าประชาชนไม่ “ทิ้ง” ข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าจะ “ละทิ้ง” อย่างไรได้ แต่รถวิ่งเร็วและเลยไปไกลเสียแล้ว...


เมื่อทรงตัดสินพระทัยแน่วแน่ว่า จะทรงดำรงตำแหน่งประมุขของประเทศ จึงทรงมุ่งมั่นศึกษา เพื่อเตรียมพระองค์ให้พร้อมรับพระราชภารกิจ โดยทรงเปลี่ยนแนวทางการศึกษาใหม่เป็นรัฐศาสตร์กับนิติศาสตร์ อย่างไรก็ดี ทรงยืนกรานที่จะศึกษาจนสำเร็จก่อน แล้วค่อยเสด็จนิวัตประเทศไทย เพื่อประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก

กระทั่งเดือนมีนาคม ปี 2493 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จนิวัตประเทศไทย เพื่อร่วมพระราชพิธีถวา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
พระราชกรณียกิจด้านความมั่นคงภายในประเทศ [แก้]พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 9 มิถุนายนพ.ศ. 2489 และได้มีพระราชพิธีบรมราชาภิเษกอย่างเป็นทางการในวันที่ 5 พฤษภาคมพ.ศ. 2493 พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการแก่พสกนิกรชาวไทยว่า "เราจะครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม" ตลอดระยะเวลา 60 ปีของการเป็นพระมหากษัตริย์ที่ได้ทรงปกครองประเทศพสกนิกรชาวไทยทุกหมู่เหล่าตลอดจนผู้เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารต่างได้รับความร่วมเย็นเป็นสุขภายใต้พระบารมีและพระบรมเดชานุภาพเป็นที่ประจักษ์ของผู้คนทั้งหลายพระองค์ได้เสด็จฯ เยี่ยมพสกนิกรไปทุกหนทุกแห่งได้ทรงพบผู้คนในระดับล่างแลกเปลี่ยนรับรู้และทรงเข้าใจในสภาพความเป็นอยู่ของคนเหล่านั้นและได้นำข้อเท็จจริงทั้งหลายอันนำมาซึ่งความทุกข์ยากต่างๆที่คนเหล่านั้นประสบมาหาแนวทางช่วยเหลือแก้ไขเป็นที่มาของโครงการพระราชดำริมากมายกว่าหนึ่งพันโครงการพิสูจน์ให้เห็นถึงพระปฐมบรมราชโองการดังกล่าวว่าพระองค์ท่าน "ครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม" อย่างแท้จริงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงทุ่มเทพระวรกายและพระสติปัญญาทรงประกอบพระราชกรณียกิจในด้านต่าง ๆ มากมายโดยคำนึงถึงประโยชน์สุขของพสกนิกรเป็นหลักตลอดระยะเวลาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติพระองค์ทรงให้ทุกอย่างกับพสกนิกรและชาติบ้านเมืองทรงงานอย่างหนักเสียสละประโยชน์สุขส่วนพระองค์ตรากตรำพระวรกายอย่างไม่เห็นแก่ความเหนื่อยยากเพียงเพื่อมุ่งหวังให้พสกนิกรทั่วราชอาณาจักรมีความสงบร่มเย็นและมีความกินดีอยู่ดีพระมหากรุณาธิคุณแห่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่พระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทยนั้น... ใหญ่หลวงนักสมดังที่ได้พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกว่า "เราจะครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม"ในวันที่ 19 สิงหาคม 2489 เมื่อกำหนดเวลาที่จะเสด็จฯ กลับประเทศสวิตเซอร์แลนด์มาถึงตลอดทางที่รถพระที่นั่งแล่นผ่านฝูงชนที่มาส่งเสด็จอย่างล้นหลามได้ทอดพระเนตรเห็นประชาชนที่แสดงความจงรักภักดีบางแห่งใกล้จนทอดพระเนตรเห็นดวงหน้าและแววตาชัดที่บ่งบอกถึงความเสียขวัญอย่างใหญ่หลวงทั้งเต็มไปด้วยความรักและห่วงใยอันเป็นภาพที่ทำให้อยากรับสั่งกับเขาทุกคนถึงความหวังดีที่ทรงเข้าพระทัยและขอบใจเขาเช่นกันขวัญของคนเป็นสิ่งสำคัญถ้าขาดกำลังใจถ้าขวัญเสียมีแต่ความหวาดระแวงประเทศจะมีแต่ความอ่อนแอและแตกสลายท่ามกลางเสียงโห่ร้องถวายพระพรก็มีเสียงหนึ่งที่ตะโกนแทรกมาเข้าพระกรรณว่า "ในหลวงอย่าทิ้งประชาชน" ในขณะนั้นทรงนึกตอบในพระทัยว่า "ถ้าประชาชนไม่ทิ้งข้าพเจ้าแล้วข้าพเจ้าจะทิ้งประชาชนได้อย่างไร" เหตุการณ์ในครั้งนั้นเป็นภาพที่ติดอยู่ในพระราชหฤทัยจนไม่อาจทรงลืมได้จากเดิมที่ทรงตัดสินพระทัยเพียงว่าจะทรงอยู่จนถึงวันพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระบรมเชษฐาเสร็จสิ้นเท่านั้นกลับทำให้ทรงได้คิดว่าทรงมีหน้าที่เพื่อชาติและถึงโอกาสแล้วที่ควรจะทรงทำหน้าที่เพื่อชาติและประชาชน ตามที่ทรงได้รับมอบมาประชาชนจึงเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ตัดสินพระทัยแน่วแน่ที่จะอยู่ทำหน้าที่ตามที่ประชาชนพร้อมใจกันทูลเกล้าฯ ถวายพระราชภาระแสนยิ่งใหญ่"ท่านผู้หญิงเกนหลงสนิทวงศ์ณอยุธยา" จรดปลายปากกาเขียนไว้ในหนังสือ "ทำเป็นธรรม" เนื่องในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 6 รอบว่าในการตัดสินพระทัยที่ทรงรับพระราชภาระจากสมเด็จพระบรมเชษฐาในครั้งแรกคงจะทรงรับเพราะเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะพระพักตร์ในเวลาอันรวดเร็วที่จะต้องตัดสินพระทัยด้วยพระองค์เองไม่มีใครที่จะถวายความเห็นได้หันพระพักตร์ไปทางไหนก็ทรงพบแต่ความโศกเศร้าสมเด็จพระราชชนนีได้แต่ทรงพระกันแสงไม่เสวยไม่บรรทมแม้พระองค์เองก็แทบจะหมดพระสติสิ่งที่ทรงรำลึกถึงคือจะต้องทรงจัดงานพระบรมศพสมเด็จพระบรมเชษฐาให้สมพระเกียรติอย่างไรก็ดีแม้จะทรงตัดสินพระทัยขึ้นครองราชย์ตามการกราบบังคมทูลเชิญของรัฐสภาแต่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงมีอีกหนึ่งภารกิจสำคัญนั่นคือการเสด็จฯกลับไปทรงศึกษาต่อณประเทศสวิตเซอร์แลนด์ขณะนั้นจิตใจของประชาชนตกอยู่ในความเสียขวัญทรงถือเป็นมิ่งขวัญพระองค์เดียวที่ประชาชนจะยึดมั่นได้พระราชนิพนธ์บันทึกประจำวันบางส่วนของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวระหว่างวันเสด็จฯจากสยามสู่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์คงพอจะสะท้อนให้เห็นถึงความรักของประชาชนที่พร้อมใจส่งเสด็จอย่างมืดฟ้ามัวดิน ...วันที่ 19 สิงหาคม 2489 วันนี้ถึงวันที่เราจะต้องจากไปแล้ว พอถึงเวลาก็ลงจากพระที่นั่งพร้อมกับแม่ ลาเจ้านายฝ่ายใน ณ พระที่นั่งชั้นล่างนั้นแล้ว ก็ไปยังวัดพระแก้วเพื่อนมัสการลาพระแก้วมรกต และพระภิกษุสงฆ์ ลาเจ้านายฝ่ายหน้า ลาข้าราชการทั้งไทยและฝรั่ง แล้วก็ไปขึ้นรถยนต์ พอรถแล่นออกไปได้ไม่ถึง 200 เมตร มีผู้หญิงคนหนึ่งเข้ามาหยุดรถแล้วส่งกระป๋องให้เราคนละใบ ราชองครักษ์ไม่แน่ใจว่าจะมีอะไรอยู่ในนั้น บางทีจะเป็นลูกระเบิด เมื่อมาเปิดดูภายหลังปรากฏว่าเป็นทอฟฟี่ที่อร่อยมาก ตามถนนผู้คนช่างมากมายเสียจริงๆ ที่ถนนราชดำเนินกลาง ราษฎรเข้ามาใกล้จนชิดรถที่เรานั่ง กลัวเหลือเกินว่าล้อรถของเราจะไปทับแข้งทับขาใครเข้าบ้าง รถแล่นฝ่าฝูงคนไปได้อย่างช้าที่สุด ถึงวัดเบญจมบพิตร รถแล่นเร็วขึ้นได้บ้าง ตามทางที่ผ่านมา ได้ยินเสียงใครคนหนึ่งร้องขึ้นมาดังๆว่า “อย่าละทิ้งประชาชน” อยากจะร้องบอกเขาลงไปว่า ถ้าประชาชนไม่ “ทิ้ง” ข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าจะ “ละทิ้ง” อย่างไรได้ แต่รถวิ่งเร็วและเลยไปไกลเสียแล้ว...เมื่อทรงตัดสินพระทัยแน่วแน่ว่าจะทรงดำรงตำแหน่งประมุขของประเทศจึงทรงมุ่งมั่นศึกษาเพื่อเตรียมพระองค์ให้พร้อมรับพระราชภารกิจโดยทรงเปลี่ยนแนวทางการศึกษาใหม่เป็นรัฐศาสตร์กับนิติศาสตร์อย่างไรก็ดีทรงยืนกรานที่จะศึกษาจนสำเร็จก่อนแล้วค่อยเสด็จนิวัตประเทศไทยเพื่อประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกกระทั่งเดือนมีนาคมปี 2493 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จนิวัตประเทศไทยเพื่อร่วมพระราชพิธีถวา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
พระราชกรณียกิจด้านความมั่นคงภายในประเทศ [แก้]
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อ วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 และได้มีพระราชพิธีบรมราชาภิเษก อย่างเป็นทางการในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการแก่พสกนิกรชาว ไทยว่า "เราจะครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์ สุขแห่งมหาชนชาวสยาม " ตลอดระยะเวลา 60 ปีของการเป็นพระมหากษัตริย์ที่ ได้ทรงปกครองประเทศพสกนิกรชาวไทยทุกหมู่เหล่าตลอดจน ผู้เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารต่างได้ รับความร่วมเย็นเป็นสุขภายใต้พระบารมีและพระบรมเดชานุภาพเป็นที่ประจักษ์ของผู้คนทั้งหลายพระองค์ได้เสด็จฯ เยี่ยมพสกนิกรไปทุกหนทุกแห่งได้ทรงพบผู้คนในระดับล่างแลกเปลี่ยนรับรู้และทรงเข้าใจใน สภาพความเป็นอยู่ของคนเหล่านั้น และได้นำข้อเท็จจริงทั้งหลายอันนำมาซึ่งความทุกข์ยากต่างๆที่คนเหล่านั้นประสบมาหาแนวทางช่วยเหลือแก้ไขเป็นที่มาของโครงการพระราชดำริมากมายกว่าหนึ่งพันโครงการพิสูจน์ให้เห็นถึงพระปฐมบรม ราชโองการดังกล่าวว่าพระองค์ท่าน "ครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่ง มหาชนชาวสยาม " อย่างแท้จริง

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวคุณทรงทุ่มเทที่คุณพระวรกายและที่คุณพระสติปัญญาคุณทรงประกอบที่คุณพระราชกรณียกิจในห้างหุ้นส่วนจำกัดด้านต่างๆมากมายโดยคำนึงถึงประโยชน์คุณสุขของพสกนิกรเป็นหลักตลอด ระยะเวลาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครอง สิริราชสมบัติพระองค์ทรงให้ทุกอย่างกับพสกนิกรและชาติบ้านเมืองทรงงานอย่างหนักเสียสละประโยชน์สุขส่วนพระองค์ตรากตรำพระวรกายอย่างไม่เห็นแก่ความเหนื่อยยากเพียงเพื่อมุ่งหวังให้พสกนิกรทั่วราชอาณาจักรมีความ สงบร่มเย็นและมีความกินดีอยู่ดี พระมหากรุณาธิคุณแห่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่พระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทยนั้น ... ใหญ่หลวงนักสมดังที่ได้พระราชทาน พระปฐมบรมราชโองการในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ว่า "เราจะครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์ สุขแห่งมหาชนชาวสยาม "

ในวันที่ 19 สิงหาคม 2489 เมื่อกำหนดเวลาที่จะเสด็จฯ กลับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์มาถึงตลอดทางที่รถพระที่นั่งแล่นผ่านฝูงชนที่มาส่ง เสด็จอย่างล้นหลามได้ทอดพระเนตรเห็นประชาชนที่ แสดงความจงรักภักดีบางแห่งใกล้จนทอดพระเนตรเห็นดวงหน้าและแววตาชัดที่บ่งบอกถึงความเสียขวัญอย่างใหญ่หลวงทั้งเต็มไปด้วยความรักและห่วงใยอันเป็นภาพที่ทำให้อยากรับสั่งกับเขาทุกคน ถึงความสามารถหวังดีที่คุณทรงเข้าพระทัยและขอบใจเขาเช่นกันคุณขวัญของของคุณคนเป็นสิ่งสำคัญถ้าขาดกำลังใจถ้าคุณขวัญเสียมี แต่ความสามารถหวาดระแวงออกประเทศจะมี แต่ความสามารถอ่อนแอและแตกสลาย

ท่ามกลางเสียงโห่ร้องถวายพระพรก็มีเสียงคุณหนึ่งที่ตะโกนแทรกมา เข้าพระกรรณว่า "ในหลวงอย่าทิ้งประชาชน" ในขณะนั้นทรงนึกตอบในพระทัย ว่า "ถ้าประชาชนไม่ทิ้งข้าพเจ้าแล้วข้าพเจ้าจะ ทิ้งประชาชนได้อย่างไร " เหตุการณ์ในครั้งนั้นเป็นภาพที่ติด อยู่ในพระราชหฤทัยจนไม่อาจทรง ลืมได้จากเดิมที่ทรงตัดสินพระทัย เพียงว่าจะทรงอยู่จนถึงวันพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระบรมเชษฐาเสร็จสิ้นเท่านั้นกลับทำให้ทรงได้คิดว่าทรงมีหน้าที่เพื่อชาติและถึงโอกาสแล้วที่ควรจะทรงทำหน้าที่ เพื่อชาติและประชาชนตามที่ทรงได้ รับมอบมาประชาชนจึงเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ตัดสินพระทัยแน่วแน่ที่จะอยู่ทำหน้าที่ตามที่ประชาชนพร้อมใจกันทูลเกล้าฯถวายพระราชภาระแสนยิ่งใหญ่

"ท่านผู้หญิงเกนหลงสนิทวงศ์ ณ อยุธยา" จรด ปลายปากกาเขียนไว้ในหนังสือ "ทำเป็นธรรม" เนื่องในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 6 รอบว่าในการตัดสินพระทัยที่ทรง รับพระราชภาระจากสมเด็จพระบรมเชษฐาในครั้งแรกคงจะทรงรับเพราะเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะพระพักตร์ในเวลา อันรวดเร็วที่จะต้องตัดสินพระทัยด้วย พระองค์เองไม่มีใครที่จะถวายความเห็นได้หันพระพักตร์ไปทางไหนก็ทรงพบ แต่ความโศกเศร้าสมเด็จพระราชชนนีได้ แต่ทรงพระกันแสงไม่เสวยไม่บรรทมแม้พระองค์เองก็แทบ จะหมดพระสติสิ่งที่ทรงรำลึก ถึงคือจะต้องทรงจัดงานพระบรมศพสมเด็จพระบรมเชษฐาให้สมพระเกียรติอย่างไรก็ดีแม้จะทรงตัดสินพระทัยขึ้นครองราชย์ตามการกราบบังคมทูลเชิญของรัฐสภา แต่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงมีอีกหนึ่งภารกิจ สำคัญนั่นคือหัวเรื่อง: การเสด็จฯ กลับไปคุณทรงศึกษาเป็นต่อ ณ ออกประเทศสคุณวิตเซอร์แลนด์ขณะนั้นจิตใจของประชาชนตกขณะนี้ในห้างหุ้นส่วนจำกัดความสามารถเสียขวัญคุณทรงถือเป็นมิ่งขวัญพระองค์เดียวที่ประชาชนจะยึดมั่นได้

ที่คุณพระราชนิพนธ์บันทึกประจำความการธนาคารวันบางส่วนของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวระหว่างวันเสด็จฯ จากสยาม สู่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์คงพอจะสะท้อนให้เห็นถึงความรักของประชาชนที่พร้อมใจส่งเสด็จอย่างมืดฟ้ามัวดิน


... วันที่ 19 สิงหาคม 2489 วันนี้ถึงวันที่เราจะต้อง จากไป แล้วพอถึงเวลาก็ลงจากพระที่นั่ง พร้อมกับแม่ลาเจ้านายฝ่ายใน ณ พระที่นั่งชั้นล่างนั้นแล้วก็ไปยังวัดพระแก้วเพื่อนมัสการลาพระแก้วมรกตและพระภิกษุสงฆ์ลาเจ้านายฝ่ายหน้าลาข้าราชการทั้งไทยและฝรั่งแล้วก็ไปขึ้น รถยนต์พอรถแล่นออกไปได้ไม่ ถึง 200 เมตรมีผู้หญิงคนหนึ่งเข้ามาหยุด รถแล้วส่งกระป๋องให้เราคนละใบราชองครักษ์ไม่แน่ใจว่าจะมีอะไรอยู่ในนั้นบางทีจะเป็นลูกระเบิดเมื่อมาเปิดดูภายหลังปรากฏว่าเป็นทอฟฟี่ ที่อร่อยมากตามถนนผู้คนช่าง มากมายเสียจริงๆที่ถนนราชดำเนินกลางราษฎรเข้ามาใกล้จนชิดรถที่เรานั่งกลัวเหลือเกินว่าล้อรถของเราจะไปทับแข้งทับขาใครเข้าบ้างรถแล่นฝ่าฝูงคนไปได้อย่างช้าที่สุด ถึงวัดเบญจมบพิตรรถแล่นเร็วขึ้นได้ บ้างตามทางที่ผ่านมาได้ยินเสียงใครคนหนึ่งร้องขึ้นมาดัง ๆ ว่า "อย่าละทิ้งประชาชน" อยากจะร้องบอกเขาลงไปว่า ถ้าประชาชนไม่ "ทิ้ง" ข้าพเจ้าแล้วข้าพเจ้าจะ "ละทิ้ง "อย่างไรได้ แต่รถวิ่งเร็วและเลย ไปไกลเสียแล้ว ...


เมื่อทรงตัดสินพระทัยแน่วแน่ว่าจะทรง ดำรงตำแหน่งประมุขของประเทศจึงทรงมุ่งมั่นศึกษาเพื่อเตรียมพระองค์ให้พร้อมรับพระราชภารกิจโดยทรงเปลี่ยนแนวทางการศึกษาใหม่ รัฐศาสตร์กับเป็นนิติศาสตร์อย่างไรก็ดีคุณทรงยืนกรานที่จะศึกษาเป็นจนสำเร็จก่อนแล้วค่อยเสด็จนิวัตประเทศไทยเพื่อประกอบที่คุณพระราชพิธีบรมราชาภิเษก

กระทั่งเดือนระเบียนมีนาคมปี 2493 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จนิวัตประเทศไทยเพื่อ ร่วมพระราชพิธีถวา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
พระราชกรณียกิจด้านความมั่นคงภายในประเทศ [ แก้ ]พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 9 มิถุนายนพ . ศ . 2489 และได้มีพระราชพิธีบรมราชาภิเษกอย่างเป็นทางการในวันที่ 5 พฤษภาคมพ . ศ . 2493 พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการแก่พสกนิกรชาวไทยว่า " เราจะครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม " ตลอดระยะเวลา 60 ปีของการเป็นพระมหากษัตริย์ที่ได้ทรงปกครองประเทศพสกนิกรชาวไทยทุกหมู่เหล่าตลอดจนผู้เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารต่างได้รับความร่วมเย็นเป็ นสุขภายใต้พระบารมีและพระบรมเดชานุภาพเป็นที่ประจักษ์ของผู้คนทั้งหลายพระองค์ได้เสด็จฯเยี่ยมพสกนิกรไปทุกหนทุกแห่งได้ทรงพบผู้คนในระดับล่างแลกเปลี่ยนรับรู้และทรงเข้าใจในสภาพความเป็นอยู่ของคนเหล่านั้นและได้นำข้อเท็จจริงทั้งหลายอันนำมาซึ่งความทุกข์ยากต่าง ๆที่คนเหล่านั้นประสบมาหาแนวทางช่วยเหลือแก้ไขเป็นที่มาของโครงการพระราชดำริมากมายกว่าหนึ่งพันโครงการพิสูจน์ให้เห็นถึงพระปฐมบรมราชโองการดังกล่าวว่าพระองค์ท่าน " ครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม " อย่างแท้จริงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงทุ่มเทพระวรกายและพระสติปัญญาทรงประกอบพระราชกรณียกิจในด้านต่างๆมากมายโดยคำนึงถึงประโยชน์สุขของพสกนิกรเป็นหลักตลอดระยะเวลาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติพระองค์ทรงให้ทุกอย่างกับพสกนิกรและชาติบ้านเมืองทร งงานอย่างหนักเสียสละประโยชน์สุขส่วนพระองค์ตรากตรำพระวรกายอย่างไม่เห็นแก่ความเหนื่อยยากเพียงเพื่อมุ่งหวังให้พสกนิกรทั่วราชอาณาจักรมีความสงบร่มเย็นและมีความกินดีอยู่ดีพระมหากรุณาธิคุณแห่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่พระราชทานแก่พสกนิกรชา วไทยนั้น . . . . . . . ใหญ่หลวงนักสมดังที่ได้พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกว่า " เราจะครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม "ในวันที่ 19 สิงหาคม 2489 เมื่อกำหนดเวลาที่จะเสด็จฯกลับประเทศสวิตเซอร์แลนด์มาถึงตลอดทางที่รถพระที่นั่งแล่นผ่านฝูงชนที่มาส่งเสด็จอย่างล้นห
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: