หลักสูตรของมูลนิธิพระดาบสที่เปิดสอนการจัดการเรียนการสอน จัดแบ่งหลักสูต การแปล - หลักสูตรของมูลนิธิพระดาบสที่เปิดสอนการจัดการเรียนการสอน จัดแบ่งหลักสูต ไทย วิธีการพูด

หลักสูตรของมูลนิธิพระดาบสที่เปิดสอน

หลักสูตรของมูลนิธิพระดาบสที่เปิดสอน
การจัดการเรียนการสอน จัดแบ่งหลักสูตรเป็น ๓ ประเภท
๑. หลักสูตรวิชาชีพหลัก ได้แก่ หลักสูตรระยะยาว ๑ ปี เป็นหลักสูตรหลักของโรงเรียนพระดาบส เมื่อจบแล้วได้รับพระราชทานประกาศนียบัตรพระดาบส มีสิทธิ์ในการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานขั้นที่ ๑ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน รายวิชาบางวิชาสามารถเทียบโอนเครดิตกับหลักสูตร ปวช . กศน . ได้เปิดการสอนใน 7 หลักสูตร วิชาชีพ
- ช่างยนต์
- ช่างไฟฟ้า
- ช่างอิเล็กทรอนิกส์
- ช่างซ่อมบำรุง
- การเกษตรพอเพียง
- เคหบริบาล
- ช่างไม้เครื่องเรือน
การจัดหลักสูตรแบ่งผังกำหนดระยะเวลา ดังนี้ ๓ เดือน เตรียมช่าง ๖ เดือนวิชาเฉพาะสาขา ๓ เดือน ฝึกปฏิบัติใน สถานประกอบการ
๒.หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ได้แก่ หลักสูตรเฉพาะเรื่อง ที่มุ่งเน้นให้สามารถนำไปประกอบอาชีพได้โดยตรง มีระยะเวลาการเรียนอย่างน้อย ๑๐๐ ชั่วโมง เมื่อจบแล้วได้รับประกาศนียบัตรและมีสิทธิ์ในการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานขั้นที่ ๑ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เช่น หลักสูตรการนวดไทยเพื่อสุขภาพ จำนวน ๑๕๐ ชั่วโมง ซึ่งเป็นหลักสูตรร่วมของโรงเรียนพระดาบส และกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
๓.หลักสูตรการอบรมระยะสั้น ได้แก่ หลักสูตรสั้นๆ เฉพาะเรื่อง ตามความสนใจของชุมชุนมีระยะเวลาอบรมตั้งแต่ ๓ ชั่วโมง เป็นต้นไป เช่น การสอนทำขนม ทำสิ่งประดิษฐ์ ซึ่งเป็นความร่วมมือของกรมการศึกษานอกโรงเรียน จัดขึ้นในวันอาทิตย์หรือวันหยุด หรือการอบรมการปลูกผักไฮโดรโพนิกส์ ของโครงการลูกพระดาบสสมุทรปราการ เป็นต้น

นับตั้งแต่ปี พ . ศ . ๒๕๔๐ ประเทศไทยได้ประสบปัญหาวิกฤติด้านเศรษฐกิจ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงมีกระแสพระราชดำริ เกี่ยวกับการแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจของประเทศในรูปแบบต่างๆ พระราชดำริดังกล่าวมีส่วนหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับโครงการพระดาบสโดยทรงมีพระราชดำริผ่านทาง พล . ต . ต . สุชาติ เผือกสกนธ์ เลขาธิการมูลนิธิพระดาบส เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๔ เป็นการส่วนพระองค์ว่า ? ให้มุ่งหน้าไปด้านเกษตรกรรมอย่างจริงจัง ? โดยมีพระราชประสงค์ให้นักเรียนของโรงเรียนพระดาบสมีความรู้ในวิชาชีพเกษตรกรรมอีกแขนงหนึ่งเพื่อจะได้นำความรู้ทางด้านการเกษตรไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพเลี้ยงตนเอง ครอบครัวและช่วยเหลือสังคมในชนบทได้ ต่อมามูลนิธิพระดาบสได้สนองแนวกระแสพระราชดำริดังกล่าว โดยได้จัดตั้งหลักสูตรทางด้านการเกษตรขึ้น โดยนายแก้วขวัญ วัชโรทัย เลขาธิการพระราชวัง ได้มอบให้ทางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นผู้ออกแบบโครงสร้างหลักสูตรขึ้นใช้ชื่อหลักสูตรว่า ? หลักสูตรพืชอาหารสัตว์และการเลี้ยงโคนม ? และได้มอบหมายให้ นายเอกสิทธิ์ วัฒนปรีชานนท์ ผู้อำนวยการกองบำรุงรักษาราชอุทยาน เป็นประธานคณะทำงานจัดตั้งหลักสูตรเกษตรมี ว่าที่ ร . ต . สมานมิตร พัฒนา เป็นเลขานุการคณะทำงานฯ โดยได้ใช้ห้องประชุมชั้น ๒ อาคารออมสินเฉลิมพระเกียรติ สวนจิตรลดา เป็นสำนักงานและห้องเรียนชั่วคราว ซึ่งได้เปิดการเรียนการสอนครั้งแรกในปีการศึกษา ๒๕๔๔ มีนักเรียนรุ่นที่ ๑ จำนวน ๖ คน ใช้ระยะเวลาเรียนตลอดหลักสูตร ๑๐ เดือน ต่อมาในปีการศึกษา ๒๕๔๕ คณะทำงานโครงการจัดตั้งหลักสูตรการเกษตร ได้จัดประชุมคณะที่ปรึกษาฯและคณะทำงานเพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานในวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๔๕ ณ ห้องประชุมชั้น ๒ อาคารออมสินเฉลิมพระเกียรติ สวนจิตรลดา ที่ประชุมเห็นว่าสมควรเปลี่ยนชื่อหลักสูตร เพื่อให้ครอบคลุมการเกษตรในสาขาอื่นๆ ด้วย จึงใช้ชื่อ ใหม่ว่า ? การเกษตรพอเพียง ? โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.พัฒนา สุขประเสริฐ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นที่ปรึกษาและมีการปรับปรุงหลักสูตรอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอดเพื่อให้สอดคล้องกับความพร้อมและความต้องการของผู้เรียน โดยใช้ระยะเวลาในการเรียนตลอดหลักสูตรเป็นเวลา ๑๕ เดือน ต่อมาในปีการศึกษา ๒๕๔๖ ฯพณฯ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ น . พ . เกษม วัฒนชัย องคมนตรี ในฐานะเลขาธิการมูลนิธิพระดาบสคนใหม่ได้ปรับระยะเวลาการเรียนของทุกหลักสูตร วิชาชีพหลักคงเหลือ ๑ ปี และในปีการศึกษา ๒๕๔๗ หลักสูตรการเกษตรพอเพียง ได้ย้ายไปเรียน ณ โรงเรียนพระดาบสจังหวัดสมุทรปราการ ภายในพื้นที่โครงการลูกพระดาบส ต . บางปลา อ . บางพลี จ . สมุทรปราการ ซึ่งมีพื้นที่กว้างขวางเหมาะสมกับการทำแปลงเกษตรให้นักเรียนโรงเรียนพระดาบสได้ฝึกปฏิบัติมากยิ่งขึ้น
เมื่อสำเร็จหลักสูตรการศึกษาระยะยาว ๑ ปีจะได้รับพระราชทานประกาศนียบัตรพระดาบสจากสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เรียนฟรี โรงเรียนพระดาบสเปิดรับสมัครในเดือนมกราคม ถึง ๑๕ มีนาคม ของทุกปี และทำการสัมภาษณ์ภายในเดือนมีนาคม (วัน เวลา ตามกำหนดในแต่ละปี) ผู้สนใจติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่มูลนิธิพระดาบสเลขที่ ๓๘๔-๓๘๖ ถนนสามเสน (ตรงข้ามหอสมุดแห่งชาติ)แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐โทรศัพท์ ๐๒-๒๘๒-๗๐๐๐ , ๐๒-๒๘๑-๐๓๗๗โทรสาร ๐๒-๒๘๐-๐๑๕๕www.PHRADABOS.OR.TH
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
หลักสูตรของมูลนิธิพระดาบสที่เปิดสอนการจัดการเรียนการสอนจัดแบ่งหลักสูตรเป็น ๓ ประเภท ๑ . หลักสูตรวิชาชีพหลักได้แก่หลักสูตรระยะยาว ๑ ปีเป็นหลักสูตรหลักของโรงเรียนพระดาบสเมื่อจบแล้วได้รับพระราชทานประกาศนียบัตรพระดาบสมีสิทธิ์ในการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานขั้นที่ ๑ กรมพัฒนาฝีมือแรงงานรายวิชาบางวิชาสามารถเทียบโอนเครดิตกับหลักสูตรปวช กศน วิชาชีพหลักสูตรได้เปิดการสอนใน 7 -ช่างยนต์ -ช่างไฟฟ้า -ช่างอิเล็กทรอนิกส์ -ช่างซ่อมบำรุง -การเกษตรพอเพียง -เคหบริบาล -ช่างไม้เครื่องเรือน การจัดหลักสูตรแบ่งผังกำหนดระยะเวลาดังนี้ ๓ เดือนเตรียมช่าง ๖ เดือนวิชาเฉพาะสาขา ๓ เดือนฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ ๒.หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นได้แก่หลักสูตรเฉพาะเรื่องที่มุ่งเน้นให้สามารถนำไปประกอบอาชีพได้โดยตรงมีระยะเวลาการเรียนอย่างน้อย ๑๐๐ ชั่วโมงเมื่อจบแล้วได้รับประกาศนียบัตรและมีสิทธิ์ในการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานขั้นที่ ๑ กรมพัฒนาฝีมือแรงงานเช่นหลักสูตรการนวดไทยเพื่อสุขภาพจำนวน ๑๕๐ ชั่วโมงซึ่งเป็นหลักสูตรร่วมของโรงเรียนพระดาบสและกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกกระทรวงสาธารณสุข ๓.หลักสูตรการอบรมระยะสั้นได้แก่หลักสูตรสั้น ๆ เฉพาะเรื่องตามความสนใจของชุมชุนมีระยะเวลาอบรมตั้งแต่ ๓ ชั่วโมงเป็นต้นไปเช่นการสอนทำขนมทำสิ่งประดิษฐ์ซึ่งเป็นความร่วมมือของกรมการศึกษานอกโรงเรียนจัดขึ้นในวันอาทิตย์หรือวันหยุดหรือการอบรมการปลูกผักไฮโดรโพนิกส์ของโครงการลูกพระดาบสสมุทรปราการเป็นต้น นับตั้งแต่ปี พ . ศ . ๒๕๔๐ ประเทศไทยได้ประสบปัญหาวิกฤติด้านเศรษฐกิจ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงมีกระแสพระราชดำริ เกี่ยวกับการแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจของประเทศในรูปแบบต่างๆ พระราชดำริดังกล่าวมีส่วนหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับโครงการพระดาบสโดยทรงมีพระราชดำริผ่านทาง พล . ต . ต . สุชาติ เผือกสกนธ์ เลขาธิการมูลนิธิพระดาบส เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๔ เป็นการส่วนพระองค์ว่า ? ให้มุ่งหน้าไปด้านเกษตรกรรมอย่างจริงจัง ? โดยมีพระราชประสงค์ให้นักเรียนของโรงเรียนพระดาบสมีความรู้ในวิชาชีพเกษตรกรรมอีกแขนงหนึ่งเพื่อจะได้นำความรู้ทางด้านการเกษตรไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพเลี้ยงตนเอง ครอบครัวและช่วยเหลือสังคมในชนบทได้ ต่อมามูลนิธิพระดาบสได้สนองแนวกระแสพระราชดำริดังกล่าว โดยได้จัดตั้งหลักสูตรทางด้านการเกษตรขึ้น โดยนายแก้วขวัญ วัชโรทัย เลขาธิการพระราชวัง ได้มอบให้ทางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นผู้ออกแบบโครงสร้างหลักสูตรขึ้นใช้ชื่อหลักสูตรว่า ? หลักสูตรพืชอาหารสัตว์และการเลี้ยงโคนม ? และได้มอบหมายให้ นายเอกสิทธิ์ วัฒนปรีชานนท์ ผู้อำนวยการกองบำรุงรักษาราชอุทยาน เป็นประธานคณะทำงานจัดตั้งหลักสูตรเกษตรมี ว่าที่ ร . ต . สมานมิตร พัฒนา เป็นเลขานุการคณะทำงานฯ โดยได้ใช้ห้องประชุมชั้น ๒ อาคารออมสินเฉลิมพระเกียรติ สวนจิตรลดา เป็นสำนักงานและห้องเรียนชั่วคราว ซึ่งได้เปิดการเรียนการสอนครั้งแรกในปีการศึกษา ๒๕๔๔ มีนักเรียนรุ่นที่ ๑ จำนวน ๖ คน ใช้ระยะเวลาเรียนตลอดหลักสูตร ๑๐ เดือน ต่อมาในปีการศึกษา ๒๕๔๕ คณะทำงานโครงการจัดตั้งหลักสูตรการเกษตร ได้จัดประชุมคณะที่ปรึกษาฯและคณะทำงานเพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานในวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๔๕ ณ ห้องประชุมชั้น ๒ อาคารออมสินเฉลิมพระเกียรติ สวนจิตรลดา ที่ประชุมเห็นว่าสมควรเปลี่ยนชื่อหลักสูตร เพื่อให้ครอบคลุมการเกษตรในสาขาอื่นๆ ด้วย จึงใช้ชื่อ ใหม่ว่า ? การเกษตรพอเพียง ? โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.พัฒนา สุขประเสริฐ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นที่ปรึกษาและมีการปรับปรุงหลักสูตรอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอดเพื่อให้สอดคล้องกับความพร้อมและความต้องการของผู้เรียน โดยใช้ระยะเวลาในการเรียนตลอดหลักสูตรเป็นเวลา ๑๕ เดือน ต่อมาในปีการศึกษา ๒๕๔๖ ฯพณฯ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ น . พ . เกษม วัฒนชัย องคมนตรี ในฐานะเลขาธิการมูลนิธิพระดาบสคนใหม่ได้ปรับระยะเวลาการเรียนของทุกหลักสูตร วิชาชีพหลักคงเหลือ ๑ ปี และในปีการศึกษา ๒๕๔๗ หลักสูตรการเกษตรพอเพียง ได้ย้ายไปเรียน ณ โรงเรียนพระดาบสจังหวัดสมุทรปราการ ภายในพื้นที่โครงการลูกพระดาบส ต . บางปลา อ . บางพลี จ . สมุทรปราการ ซึ่งมีพื้นที่กว้างขวางเหมาะสมกับการทำแปลงเกษตรให้นักเรียนโรงเรียนพระดาบสได้ฝึกปฏิบัติมากยิ่งขึ้น เมื่อสำเร็จหลักสูตรการศึกษาระยะยาว ๑ ปีจะได้รับพระราชทานประกาศนียบัตรพระดาบสจากสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีเรียนฟรีโรงเรียนพระดาบสเปิดรับสมัครในเดือนมกราคมถึง ๑๕ มีนาคมของทุกปีและทำการสัมภาษณ์ภายในเดือนมีนาคม (วันเวลาตามกำหนดในแต่ละปี) ผู้สนใจติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่มูลนิธิพระดาบสเลขที่ ๓๘๔ - ๓๘๖ ถนนสามเสน (ตรงข้ามหอสมุดแห่งชาติ) แขวงดุสิตเขตดุสิตกรุงเทพมหานคร๑๐๓๐๐โทรศัพท์ ๐๒ - ๒๘๒ - ๗๐๐๐ ๐๒ - ๒๘๑ -๐๓๗๗โทรสาร ๐๒ - ๒๘๐ - ๐๑๕๕ www.PHRADABOS.OR.TH
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

จัดแบ่งหลักสูตรเป็น 3 ประเภท
1 หลักสูตรวิชาชีพหลัก ได้แก่ หลักสูตรระยะยาว 1 ปี 1 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ปวช กศน ได้เปิดการสอนใน 7 หลักสูตรวิชาชีพ
- ช่างยนต์
- ช่างไฟฟ้า
- ช่างอิเล็กทรอนิกส์
- ช่างซ่อมบำรุง
- การเกษตรพอเพียง
- เคหบริบาล
-
ดังนี้ 3 เดือนเตรียมช่าง 6 เดือนวิชาเฉพาะสาขา 3 เดือนฝึกปฏิบัติใน
ได้แก่ หลักสูตรเฉพาะเรื่อง มีระยะเวลาการเรียนอย่างน้อย 100 ชั่วโมง 1 กรมพัฒนาฝีมือแรงงานเช่นหลักสูตรการนวดไทยเพื่อสุขภาพจำนวน 150 ชั่วโมง
ได้แก่ หลักสูตรสั้น ๆ เฉพาะเรื่อง 3 ชั่วโมงเป็นต้นไปเช่นการสอนทำขนมทำสิ่งประดิษฐ์ จัดขึ้นในวันอาทิตย์หรือวันหยุดหรือการอบรมการปลูกผักไฮโดรโพนิกส์ของโครงการลูกพระดาบสสมุทรปราการเป็นต้นนับตั้งแต่ปีพ ศ 2540 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงมีกระแสพระราชดำริ พล ต ต สุชาติเผือกสกนธ์เลขาธิการมูลนิธิพระดาบสเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2544 เป็นการส่วนพระองค์ว่า? ? โดยนายแก้วขวัญวัชโรทัยเลขาธิการพระราชวัง ? ? และได้มอบหมายให้นายเอกสิทธิ์วัฒนปรีชานนท์ผู้อำนวยการกองบำรุงรักษาราชอุทยาน ว่าที่ร ต สมานมิตรพัฒนาเป็นเลขานุการคณะทำงานฯ โดยได้ใช้ห้องประชุมชั้น 2 อาคารออมสินเฉลิมพระเกียรติสวนจิตรลดาเป็นสำนักงานและห้องเรียนชั่วคราว 2544 มีนักเรียนรุ่นที่ 1 จำนวน 6 คนใช้ระยะเวลาเรียนตลอดหลักสูตร 10 เดือนต่อมาในปีการศึกษา 2545 15 สิงหาคม 2545 ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารออมสินเฉลิมพระเกียรติสวนจิตรลดา ด้วยจึงใช้ชื่อใหม่ว่า? การเกษตรพอเพียง? โดยมีรองศาสตราจารย์ดร. พัฒนาสุขประเสริฐมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 15 เดือนต่อมาในปีการศึกษา 2546 ฯพณฯ ศาสตราจารย์เกียรติคุณน พ เกษมวัฒนชัยองคมนตรี วิชาชีพหลักคงเหลือ 1 ปีและในปีการศึกษา 2547 หลักสูตรการเกษตรพอเพียงได้ย้ายไปเรียน ณ โรงเรียนพระดาบสจังหวัดสมุทรปราการภายในพื้นที่โครงการลูกพระดาบสต บางปลาอ บางพลีจ สมุทรปราการ 1 เรียนฟรี ถึง 15 มีนาคมของทุกปีและทำการสัมภาษณ์ภายในเดือนมีนาคม (วันเวลาตามกำหนดในแต่ละปี) 384-386 ถนนสามเสน (ตรงข้ามหอสมุดแห่งชาติ) แขวงดุสิตเขตดุสิตกรุงเทพมหานคร 10300 โทรศัพท์ 02-282-7000, 02-281-0377 โทรสาร 02-280-0155www.PHRADABOS.OR.TH



การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
หลักสูตรของมูลนิธิพระดาบสที่เปิดสอน
การจัดการเรียนการสอนจัดแบ่งหลักสูตรเป็นกันประเภท
๑ .หลักสูตรวิชาชีพหลักได้แก่หลักสูตรระยะยาว๑ . เป็นหลักสูตรหลักของโรงเรียนพระดาบสเมื่อจบแล้วได้รับพระราชทานประกาศนียบัตรพระดาบสมีสิทธิ์ในการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานขั้นที่๑กรมพัฒนาฝีมือแรงงานปวช .กศน . ได้เปิดการสอนใน 7 หลักสูตรวิชาชีพ
-
-
- ช่างยนต์ช่างไฟฟ้าช่างอิเล็กทรอนิกส์
-
-
- ช่างซ่อมบำรุงการเกษตรพอเพียงเคหบริบาล
-
ช่างไม้เครื่องเรือนการจัดหลักสูตรแบ่งผังกำหนดระยะเวลาดังนี้กันเดือนเตรียมช่างจากเดือนวิชาเฉพาะสาขากันเดือนฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ
๒ .หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นได้แก่หลักสูตรเฉพาะเรื่องที่มุ่งเน้นให้สามารถนำไปประกอบอาชีพได้โดยตรงมีระยะเวลาการเรียนอย่างน้อย๑๐๐ชั่วโมง๑กรมพัฒนาฝีมือแรงงานเช่นหลักสูตรการนวดไทยเพื่อสุขภาพจำนวน๑๕๐ชั่วโมงซึ่งเป็นหลักสูตรร่วมของโรงเรียนพระดาบสและกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกกระทรวงสาธารณสุข
กัน .หลักสูตรการอบรมระยะสั้นได้แก่หลักสูตรสั้นๆเฉพาะเรื่องตามความสนใจของชุมชุนมีระยะเวลาอบรมตั้งแต่กันชั่วโมงเป็นต้นไปเช่นการสอนทำขนมทำสิ่งประดิษฐ์ซึ่งเป็นความร่วมมือของกรมการศึกษานอกโรงเรียนหรือการอบรมการปลูกผักไฮโดรโพนิกส์ของโครงการลูกพระดาบสสมุทรปราการเป็นต้น

นับตั้งแต่ปีพ . ศ .๒๕๔๐ประเทศไทยได้ประสบปัญหาวิกฤติด้านเศรษฐกิจพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงมีกระแสพระราชดำริเกี่ยวกับการแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจของประเทศในรูปแบบต่างๆพล .ต . ต . สุชาติเผือกสกนธ์เลขาธิการมูลนิธิพระดาบสเมื่อวันที่๕ธันวาคม๒๕๔๔เป็นการส่วนพระองค์ว่า ? ให้มุ่งหน้าไปด้านเกษตรกรรมอย่างจริงจัง ?โดยมีพระราชประสงค์ให้นักเรียนของโรงเรียนพระดาบสมีความรู้ในวิชาชีพเกษตรกรรมอีกแขนงหนึ่งเพื่อจะได้นำความรู้ทางด้านการเกษตรไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองครอบครัวและช่วยเหลือสังคมในชนบทได้โดยได้จัดตั้งหลักสูตรทางด้านการเกษตรขึ้นโดยนายแก้วขวัญวัชโรทัยเลขาธิการพระราชวังได้มอบให้ทางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นผู้ออกแบบโครงสร้างหลักสูตรขึ้นใช้ชื่อหลักสูตรว่า ?หลักสูตรพืชอาหารสัตว์และการเลี้ยงโคนม ? และได้มอบหมายให้นายเอกสิทธิ์วัฒนปรีชานนท์ผู้อำนวยการกองบำรุงรักษาราชอุทยานเป็นประธานคณะทำงานจัดตั้งหลักสูตรเกษตรมีว่าที่ใช้ . ต .สมานมิตรพัฒนาเป็นเลขานุการคณะทำงานฯโดยได้ใช้ห้องประชุมชั้น๒อาคารออมสินเฉลิมพระเกียรติสวนจิตรลดาเป็นสำนักงานและห้องเรียนชั่วคราวซึ่งได้เปิดการเรียนการสอนครั้งแรกในปีการศึกษา๒๕๔๔มีนักเรียนรุ่นที่จำนวนจากคนใช้ระยะเวลาเรียนตลอดหลักสูตร๑๐เดือนต่อมาในปีการศึกษา๒๕๔๕คณะทำงานโครงการจัดตั้งหลักสูตรการเกษตรได้จัดประชุมคณะที่ปรึกษาฯและคณะทำงานเพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานในวันที่๑๕สิงหาคม๒๕๔๕ฃ๒อาคารออมสินเฉลิมพระเกียรติสวนจิตรลดาที่ประชุมเห็นว่าสมควรเปลี่ยนชื่อหลักสูตรเพื่อให้ครอบคลุมการเกษตรในสาขาอื่นๆด้วยจึงใช้ชื่อใหม่ว่า ?การเกษตรพอเพียง ? โดยมีรองศาสตราจารย์ดร .พัฒนาสุขประเสริฐมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นที่ปรึกษาและมีการปรับปรุงหลักสูตรอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอดเพื่อให้สอดคล้องกับความพร้อมและความต้องการของผู้เรียนโดยใช้ระยะเวลาในการเรียนตลอดหลักสูตรเป็นเวลาเดือนต่อมาในปีการศึกษา๒๕๔๖ฯพณฯศาสตราจารย์เกียรติคุณน .พ .เกษมวัฒนชัยองคมนตรีในฐานะเลขาธิการมูลนิธิพระดาบสคนใหม่ได้ปรับระยะเวลาการเรียนของทุกหลักสูตรวิชาชีพหลักคงเหลือต่างหากและในปีการศึกษา๒๕๔๗หลักสูตรการเกษตรพอเพียงได้ย้ายไปเรียนณ .ภายในพื้นที่โครงการลูกพระดาบสต .บางปลา Admiral บางพลี . . . . สมุทรปราการซึ่งมีพื้นที่กว้างขวางเหมาะสมกับการทำแปลงเกษตรให้นักเรียนโรงเรียนพระดาบสได้ฝึกปฏิบัติมากยิ่งขึ้น
เมื่อสำเร็จหลักสูตรการศึกษาระยะยาว๑ปีจะได้รับพระราชทานประกาศนียบัตรพระดาบสจากสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีเรียนฟรีโรงเรียนพระดาบสเปิดรับสมัครในเดือนมกราคมถึง๑๕มีนาคมของทุกปี( ได้รับเลือกตั้งผ่านกระบวนการประชาธิปไตยของพม่าเวลาตามกำหนดในแต่ละปี ) ผู้สนใจติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่มูลนิธิพระดาบสเลขที่๓๘๔ - ๓๘๖ถนนสามเสน ( ตรงข้ามหอสมุดแห่งชาติ ) แขวงดุสิตเขตดุสิตกรุงเทพมหานคร๑๐๓๐๐โทรศัพท์๐๒ - - ๗๐๐๐๒๘๒ ,๐๒ - ๒๘๑ - ๐๓๗๗โทรสาร๐๒ - ๒๘๐ - ๐๑๕๕ www.phradabos หรือ TH
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: