วัตถุประสงค์ของการสอบบัญชี  ตามมาตรฐานการสอบบัญชี ฉบับที่ 200 เรื่องวั การแปล - วัตถุประสงค์ของการสอบบัญชี  ตามมาตรฐานการสอบบัญชี ฉบับที่ 200 เรื่องวั ไทย วิธีการพูด

วัตถุประสงค์ของการสอบบัญชี ตามมาตร

วัตถุประสงค์ของการสอบบัญชี
ตามมาตรฐานการสอบบัญชี ฉบับที่ 200 เรื่องวัตถุประสงค์และหลักการพื้นฐานของการสอบบัญชีได้กำหนดวัตถุประสงค์ของการสอบบัญชีดังนี้
“การตรวจสอบงบการเงินมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้สอบบัญชีสามารถแสดงความเห็นต่องบการเงินว่างบการเงินนั้นได้จัดทำในส่วนสาระสำคัญ
เป็นไปตามแม่บทการบัญชีในการรายงานทางการเงินหรือไม่”
ดังนั้น วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบงบการเงิน คือ การแสดงความเห็นว่างบการเงินนั้นได้แสดงฐานะการเงิน ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสด
ของกิจการโดยถูกต้องตามควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปหรือไม่

การสอบบัญชี
การสอบบัญชี หมายถึงกระบวนการรวบรวม และการประเมินหลักฐานเกี่ยวกับสารสนเทศเพื่อระบุและรายงานเกี่ยวกับระดับความสอดคล้อง
ต้องกันของสารสนเทศนั้นกับหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้และสื่อสารผลลัพธ์ให้ผู้ใช้ที่สนใจ

กระบวนการสอบบัญชี
การสอบบัญชีเป็นกระบวนการของการรวบรวมและประเมินหลักฐานการสอบบัญชี เพื่อให้ผู้สอบบัญชีสามารถสรุปผลการตรวจสอบและ
จัดทำรายงานการสอบบัญชีได้
กระบวนการสอบบัญชีแบ่งออกได้เป็น 3 ขั้นตอน
1. กระบวนการวางแผน
1.1 การพิจารณารับงานสอบบัญชี
1.2 การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจที่ตรวจสอบ
1.3 การวิเคราะห์เปรียบเทียบในเบื้องต้น
1.4 การกำหนดระดังความมีสาระสำคัญ
1.5 การประเมินความเสี่ยงในการสอบบัญชีที่ยอมรับได้และความเสี่ยงสืบเนื่อง
1.6 การทำความเข้าใจระบบการควบคุมภายในและการประเมินความเสี่ยงจากการควบคุม
1.7 การพัฒนาแผนการสอบบัญชีโดยรวมและการจัดทำแนวการสอบบัญชี

2. การปฏิบัติงานตรวจสอบ ประกอบด้วย การทดสอบการควบคุมและการตรวจสอบเนื้อหาสาระ
2.1 วงจรรายได้
2.2 วงจรรายจ่าย
2.3 วงจรการผลิต
2.4 วงจรการลงทุน
2.5 วงจรการจัดหาเงิน
2.6 การตรวจสอบที่สำคัญเพิ่มเติม

3. การเสร็จสิ้นการสอบบัญชีและการออกรายงานการสอบบัญชี
3.1 การประเมินผลจากหลักฐานการสอบบัญชี
3.2 การเสนอรายการปรับปรุงและรายการจัดประเภทบัญชี
3.3 การออกรายงานการสอบบัญชี

ประเภทของการตรวจสอบ
1. การตรวจสอบงบการเงิน หมายถึง การตรวจสอบข้อมูลทางบัญชีและรายงานทางการเงิน เช่น งบดุล งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด
และหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อประเมินว่าข้อมูลดังกล่าวมีความสมบูรณ์ เชื่อถือได้ และเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้หรือไม่
โดยผู้สอบบัญชีทำหน้าที่ตรวจสอบงบการเงินเพื่อแสดงความเห็นต่อความถูกต้องของงบการเงินนั้น โดยปฏิบัติตามหลักการพื้นฐาน ดังต่อไปนี้
- มรรยาทผู้สอบบัญชี
- มาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป
- การใช้วิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ
2. การตรวจสอบการดำเนินการ หมายถึง การสอบทานขั้นตอน วิธีการปฏิบัติงานและภาระหน้าที่ต่างๆในองค์กร เพื่อให้มั่นใจว่า ลำดับขั้นตอน
ในการปฏิบัติงานและภาระหน้าที่ในแต่ละหน่วยงานได้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตามขั้นตอนที่กำหนดไว้อย่างเหมาะสม ซึ่งจะส่งผลให้
มีการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด และผลของงานนั้นได้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้
3. การตรวจสอบการปฏิบัติงานตามกฎระเบียบ หมายถึง การตรวจสอบเพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติงานขององค์กรเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ
ข้อบังคับของหน่วยงานกำกับดูแล และกฎระเบียบนโยบายขององค์กร
มาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป
มาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป หมายถึง แนวทางการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชี ผู้สอบบัญชีต้องปฏิบัติงานตรวจสอบงบการเงินตามมาตรฐาน
การสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปซึ่งกำหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชีประกอบด้วยหลักการพื้นฐานและวิธีการตรวจสอบที่สำคัญ รวมทั้ง
แนวทางปฏิบัติต่างๆที่เกี่ยวข้อง โดยในปัจจุบัน สภาวิชาชีพได้จัดทำร่างมาตรฐานการสอบบัญชีเพื่อใช้แทนมาตรฐานการสอบบัญชีที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
วัตถุประสงค์ของการสอบบัญชี ตามมาตรฐานการสอบบัญชีฉบับที่ 200 เรื่องวัตถุประสงค์และหลักการพื้นฐานของการสอบบัญชีได้กำหนดวัตถุประสงค์ของการสอบบัญชีดังนี้ "การตรวจสอบงบการเงินมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้สอบบัญชีสามารถแสดงความเห็นต่องบการเงินว่างบการเงินนั้นได้จัดทำในส่วนสาระสำคัญเป็นไปตามแม่บทการบัญชีในการรายงานทางการเงินหรือไม่" ดังนั้นวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบงบการเงินคือการแสดงความเห็นว่างบการเงินนั้นได้แสดงฐานะการเงินผลการดำเนินงานและกระแสเงินสดของกิจการโดยถูกต้องตามควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปหรือไม่ การสอบบัญชี การสอบบัญชีหมายถึงกระบวนการรวบรวมและการประเมินหลักฐานเกี่ยวกับสารสนเทศเพื่อระบุและรายงานเกี่ยวกับระดับความสอดคล้องต้องกันของสารสนเทศนั้นกับหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้และสื่อสารผลลัพธ์ให้ผู้ใช้ที่สนใจ กระบวนการสอบบัญชี การสอบบัญชีเป็นกระบวนการของการรวบรวมและประเมินหลักฐานการสอบบัญชีเพื่อให้ผู้สอบบัญชีสามารถสรุปผลการตรวจสอบและจัดทำรายงานการสอบบัญชีได้ ขั้นตอนกระบวนการสอบบัญชีแบ่งออกได้เป็น 3 1. กระบวนการวางแผน 1.1 การพิจารณารับงานสอบบัญชี 1.2 การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจที่ตรวจสอบ 1.3 การวิเคราะห์เปรียบเทียบในเบื้องต้น 1.4 การกำหนดระดังความมีสาระสำคัญ 1.5 การประเมินความเสี่ยงในการสอบบัญชีที่ยอมรับได้และความเสี่ยงสืบเนื่อง 1.6 การทำความเข้าใจระบบการควบคุมภายในและการประเมินความเสี่ยงจากการควบคุม 1.7 การพัฒนาแผนการสอบบัญชีโดยรวมและการจัดทำแนวการสอบบัญชี 2. การปฏิบัติงานตรวจสอบประกอบด้วยการทดสอบการควบคุมและการตรวจสอบเนื้อหาสาระ 2.1 วงจรรายได้ 2.2 วงจรรายจ่าย 2.3 วงจรการผลิต 2.4 วงจรการลงทุน 2.5 วงจรการจัดหาเงิน 2.6 การตรวจสอบที่สำคัญเพิ่มเติม 3. การเสร็จสิ้นการสอบบัญชีและการออกรายงานการสอบบัญชี 3.1 การประเมินผลจากหลักฐานการสอบบัญชี 3.2 การเสนอรายการปรับปรุงและรายการจัดประเภทบัญชี 3.3 การออกรายงานการสอบบัญชี ประเภทของการตรวจสอบ 1. การตรวจสอบงบการเงินหมายถึงการตรวจสอบข้อมูลทางบัญชีและรายงานทางการเงินเช่นงบดุลงบกำไรขาดทุนงบกระแสเงินสด และหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อประเมินว่าข้อมูลดังกล่าวมีความสมบูรณ์เชื่อถือได้และเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้หรือไม่ โดยผู้สอบบัญชีทำหน้าที่ตรวจสอบงบการเงินเพื่อแสดงความเห็นต่อความถูกต้องของงบการเงินนั้นโดยปฏิบัติตามหลักการพื้นฐานดังต่อไปนี้ -มรรยาทผู้สอบบัญชี -มาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป -การใช้วิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ 2. การตรวจสอบการดำเนินการหมายถึงการสอบทานขั้นตอนวิธีการปฏิบัติงานและภาระหน้าที่ต่างๆในองค์กรเพื่อให้มั่นใจว่าลำดับขั้นตอน ในการปฏิบัติงานและภาระหน้าที่ในแต่ละหน่วยงานได้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนที่กำหนดไว้อย่างเหมาะสมซึ่งจะส่งผลให้ มีการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและผลของงานนั้นได้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ 3. การตรวจสอบการปฏิบัติงานตามกฎระเบียบหมายถึงการตรวจสอบเพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติงานขององค์กรเป็นไปตามกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับของหน่วยงานกำกับดูแลและกฎระเบียบนโยบายขององค์กร มาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป มาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปหมายถึงแนวทางการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีผู้สอบบัญชีต้องปฏิบัติงานตรวจสอบงบการเงินตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปซึ่งกำหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีมาตรฐานการสอบบัญชีประกอบด้วยหลักการพื้นฐานและวิธีการตรวจสอบที่สำคัญรวมทั้งแนวทางปฏิบัติต่างๆที่เกี่ยวข้องโดยในปัจจุบันสภาวิชาชีพได้จัดทำร่างมาตรฐานการสอบบัญชีเพื่อใช้แทนมาตรฐานการสอบบัญชีที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

ฉบับที่ 200 คือ หมายถึงกระบวนการรวบรวม 3 ขั้นตอน1 กระบวนการวางแผน1.1 การพิจารณารับงานสอบบัญชี1.2 การกำหนดระดังความมีสาระสำคัญ1.5 การปฏิบัติงานตรวจสอบประกอบด้วย วงจรรายได้2.2 วงจรรายจ่าย2.3 วงจรการผลิต2.4 วงจรการลงทุน2.5 วงจรการจัดหาเงิน2.6 การตรวจสอบที่สำคัญเพิ่มเติม3 การตรวจสอบงบการเงินหมายถึง เช่นงบดุลงบกำไรขาดทุน เชื่อถือได้ โดยปฏิบัติตามหลักการพื้นฐานดังต่อไปนี้- มรรยาทผู้สอบบัญชี- มาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป- การตรวจสอบการดำเนินการหมายถึงการสอบทานขั้นตอน เพื่อให้มั่นใจว่า ตามขั้นตอนที่กำหนดไว้อย่างเหมาะสม หมายถึง หมายถึงแนวทางการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชี โดยในปัจจุบัน



















































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
วัตถุประสงค์ของการสอบบัญชีฉบับที่ 200 เรื่องวัตถุประสงค์และหลักการพื้นฐานของการสอบบัญชีได้กำหนดวัตถุประสงค์ของการสอบบัญชีดังนี้

ตามมาตรฐานการสอบบัญชี" การตรวจสอบงบการเงินมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้สอบบัญชีสามารถแสดงความเห็นต่องบการเงินว่างบการเงินนั้นได้จัดทำในส่วนสาระสำคัญ

เป็นไปตามแม่บทการบัญชีในการรายงานทางการเงินหรือไม่ "ดังนั้นวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบงบการเงินความการแสดงความเห็นว่างบการเงินนั้นได้แสดงฐานะการเงินผลการดำเนินงานและกระแสเงินสด

ของกิจการโดยถูกต้องตามควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปหรือไม่การสอบบัญชีหมายถึงกระบวนการรวบรวมและการประเมินหลักฐานเกี่ยวกับสารสนเทศเพื่อระบุและรายงานเกี่ยวกับระดับความสอดคล้อง

การสอบบัญชีต้องกันของสารสนเทศนั้นกับหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้และสื่อสารผลลัพธ์ให้ผู้ใช้ที่สนใจ


กระบวนการสอบบัญชีการสอบบัญชีเป็นกระบวนการของการรวบรวมและประเมินหลักฐานการสอบบัญชีเพื่อให้ผู้สอบบัญชีสามารถสรุปผลการตรวจสอบและ

3
จัดทำรายงานการสอบบัญชีได้กระบวนการสอบบัญชีแบ่งออกได้เป็นแนะนำและอำนวย 1 กระบวนการวางแผน
11 การพิจารณารับงานสอบบัญชีการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจที่ตรวจสอบ

1.2 1.3 1.4 การกำหนดระดังความมีสาระสำคัญการวิเคราะห์เปรียบเทียบในเบื้องต้น

15 การประเมินความเสี่ยงในการสอบบัญชีที่ยอมรับได้และความเสี่ยงสืบเนื่อง
1.6 1.7 การพัฒนาแผนการสอบบัญชีโดยรวมและการจัดทำแนวการสอบบัญชีการทำความเข้าใจระบบการควบคุมภายในและการประเมินความเสี่ยงจากการควบคุม

2การปฏิบัติงานตรวจสอบประกอบด้วยการทดสอบการควบคุมและการตรวจสอบเนื้อหาสาระวงจรรายได้

2.1 2.2 2.3 วงจรการผลิตวงจรรายจ่าย



วงจรการจัดหาเงินวงจรการลงทุน 2.4 2.5 2.6 การตรวจสอบที่สำคัญเพิ่มเติม

3การเสร็จสิ้นการสอบบัญชีและการออกรายงานการสอบบัญชี


การเสนอรายการปรับปรุงและรายการจัดประเภทบัญชีการประเมินผลจากหลักฐานการสอบบัญชี 3.1 3.2 3.3 การออกรายงานการสอบบัญชี

ประเภทของการตรวจสอบ
1การตรวจสอบงบการเงินหมายถึงการตรวจสอบข้อมูลทางบัญชีและรายงานทางการเงินเช่นงบดุลงบกำไรขาดทุนงบกระแสเงินสด
และหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อประเมินว่าข้อมูลดังกล่าวมีความสมบูรณ์เชื่อถือได้และเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้หรือไม่
โดยผู้สอบบัญชีทำหน้าที่ตรวจสอบงบการเงินเพื่อแสดงความเห็นต่อความถูกต้องของงบการเงินนั้นโดยปฏิบัติตามหลักการพื้นฐานดังต่อไปนี้
-

- มาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปมรรยาทผู้สอบบัญชี- การใช้วิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ
2 การตรวจสอบการดำเนินการหมายถึงการสอบทานขั้นตอนวิธีการปฏิบัติงานและภาระหน้าที่ต่างๆในองค์กรเพื่อให้มั่นใจว่าลำดับขั้นตอน
ในการปฏิบัติงานและภาระหน้าที่ในแต่ละหน่วยงานได้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนที่กำหนดไว้อย่างเหมาะสมซึ่งจะส่งผลให้
มีการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและผลของงานนั้นได้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้
3การตรวจสอบการปฏิบัติงานตามกฎระเบียบหมายถึงการตรวจสอบเพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติงานขององค์กรเป็นไปตามกฎหมายระเบียบและกฎระเบียบนโยบายขององค์กร

ข้อบังคับของหน่วยงานกำกับดูแลมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปหมายถึงแนวทางการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีผู้สอบบัญชีต้องปฏิบัติงานตรวจสอบงบการเงินตามมาตรฐาน

มาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปซึ่งกำหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีมาตรฐานการสอบบัญชีประกอบด้วยหลักการพื้นฐานและวิธีการตรวจสอบที่สำคัญรวมทั้ง
แนวทางปฏิบัติต่างๆที่เกี่ยวข้องโดยในปัจจุบันสภาวิชาชีพได้จัดทำร่างมาตรฐานการสอบบัญชีเพื่อใช้แทนมาตรฐานการสอบบัญชีที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: