พฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบา การแปล - พฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบา ไทย วิธีการพูด

พฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่ถูกต้

พฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งในการควบคุมโรคเบาหวาน การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเบาหวานที่คัดเลือกจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้ายสระโคล่ ตำบลหัวรอ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 30 ราย กลุ่มทดลองได้เข้าร่วมโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนตามทฤษฎีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของแบนดูรา ประกอบด้วย 1) ประสบการณ์ที่ประสบความสำเร็จ ได้แก่ การเล่าสู่กันฟัง การสร้างสัมพันธภาพ การสะท้อนคิด และการได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับโรคเบาหวาน 2) การใช้ตัวแบบ ได้แก่ ยกตัวอย่างและพูดคุยกับผู้ป่วยเบาหวานที่สามารถควบคุมโรคเบาหวานได้ 3) การใช้คำพูดชักจูง ได้แก่ กิจกรรมการสอน ตามคู่มือการสอนผู้ป่วยโรคเบาหวาน การสาธิตการออกกำลังกาย 4) การกระตุ้นทางอารมณ์ ได้แก่ การฝึกการจัดการความเครียด และกิจกรรมนันทนาการ ดำเนินโปรแกรมเป็นเวลา 12 สัปดาห์ ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบได้รับการดูแลตามปกติ ผลการวิจัย พบว่า ระดับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานกลุ่มที่เข้าร่วมโปรแกรมการสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนหลังการทดลองสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และระดับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพหลังการทดลองของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานกลุ่มที่เข้าร่วมโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05
คำสำคัญ ผู้สูงอายุโรคเบาหวาน การส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน พฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
พฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งในการควบคุมโรคเบาหวานการวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเบาหวานที่คัดเลือกจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้ายสระโคล่ตำบลหัวรออำเภอเมืองจังหวัดพิษณุโลกแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 30 รายกลุ่มทดลองได้เข้าร่วมโปรแกรมการส่งเสริมการยกตัวอย่างและพูดคุยกัได้แก่การใช้ตัวแบบรับรู้สมรรถนะแห่งตนตามทฤษฎีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของแบนดูราประกอบด้วย 1) ประสบการณ์ที่ประสบความสำเร็จได้แก่การเล่าสู่กันฟังการสร้างสัมพันธภาพการสะท้อนคิดและการได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับโรคเบาหวาน 2)บผู้ป่วยเบาหวานที่สามารถควบคุมโรคเบาหวานได้ 3) การใช้คำพูดชักจูงได้แก่กิจกรรมการสอนตามคู่มือการสอนผู้ป่วยโรคเบาหวานการสาธิตการออกกำลังกาย 4) การกระตุ้นทางอารมณ์ได้แก่การฝึกการจัดการความเครียดและกิจกรรมนันทนาการดำเนินโปรแกรมเป็นเวลา 1สัปดาห์ที่ 2 ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบได้รับการดูแลตามปกติผลการวิจัยพบว่าระดับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานกลุ่มที่เข้าร่วมโปรแกรมการสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนหลังการทดลองสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และระดับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพหลังการทดลองของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานกลุ่มที่เข้าร่วมโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05คำสำคัญผู้สูงอายุโรคเบาหวานการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ตำบลหัวรออำเภอเมืองจังหวัดพิษณุโลก 30 ราย ประกอบด้วย 1) ประสบการณ์ที่ประสบความสำเร็จ ได้แก่ การเล่าสู่กันฟังการสร้างสัมพันธภาพการสะท้อนคิด 2) การใช้ตัวแบบ ได้แก่ 3) การใช้คำพูดชักจูง ได้แก่ กิจกรรมการสอนตามคู่มือการสอนผู้ป่วยโรคเบาหวานการสาธิตการออกกำลังกาย 4) การกระตุ้นทางอารมณ์ ได้แก่ การฝึกการจัดการความเครียดและกิจกรรมนันทนาการดำเนินโปรแกรมเป็นเวลา 12 สัปดาห์ ผลการวิจัยพบว่า 0.05 0.05
คำสำคัญผู้สูงอายุโรคเบาหวานการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
พฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งในการควบคุมโรคเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเบาหวานที่คัดเลือกจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้ายสระโคล่ตำบลหัวรออำเภอเมืองจังหวัดพิษณุโลกแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 30 รายประกอบด้วย 1) ประสบการณ์ที่ประสบความสำเร็จ ได้แก่ การเล่าสู่กันฟัง การสร้างสัมพันธภาพ การสะท้อนคิด และการได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับโรคเบาหวาน 2) การใช้ตัวแบบ ได้แก่ 3 ) การใช้คำพูดชักจูงได้แก่กิจกรรมการสอนตามคู่มือการสอนผู้ป่วยโรคเบาหวานการสาธิตการออกกำลังกาย 4 ) การกระตุ้นทางอารมณ์ได้แก่การฝึกการจัดการความเครียดและกิจกรรมนันทนาการดำเนินโปรแกรมเป็นเวลา 12 สัปดาห์ผลการวิจัยพบว่าระดับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานกลุ่มที่เข้าร่วมโปรแกรมการสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนหลังการทดลองสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 005 และระดับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพหลังการทดลองของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานกลุ่มที่เข้าร่วมโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05
คำสำคัญ ผู้สูงอายุโรคเบาหวาน การส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน พฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: