วิธีใช้ไขควงวัดไฟ ---------------------------------------------------- การแปล - วิธีใช้ไขควงวัดไฟ ---------------------------------------------------- ไทย วิธีการพูด

วิธีใช้ไขควงวัดไฟ -----------------

วิธีใช้ไขควงวัดไฟ

--------------------------------------------------------------------------------

1. ไขควงลองไฟนั้นเป็นเครื่องมืออย่างง่ายสำหรับใช้ตรวจสอบวัตถุหรือตัวนำว่า มีไฟฟ้าหรือมีแรงดันไฟฟ้าอยู่หรือไม่ และยังใช้ตรวจสอบเครื่องใช้ไฟฟ้าว่ามีไฟรั่วหรือไม่อีกด้วย

2. การทำงานของไขควงลองไฟแบบธรรมดา ภายในจะประกอบด้วยหลอดนีออนต่ออยู่กับความต้านทานค่าสูง โดยความต้านทานมีหน้าที่ จำกัดปริมาณกระแสไฟที่ จะไหลผ่านหลอดนีออนและร่างกายไม่ให้มีอันตราย หากมีการนำไปแตะสัมผัสกับส่วนที่มีไฟ ซึ่งจะเป็นการต่อไฟครบวงจร โดยไฟฟ้าจะไหลจากปลายไขควงผ่านหลอดนีออน ตัวต้านทาน นิ้ว แขน ร่างกาย ลงสู่พื้นที่ยืนอยู่ โดยหลอดนีออนจะสว่างก็ต่อเมื่อแรงดันที่หลอดสูงถึงระดับพิกัดที่หลอดนีออนจะสว่าง

3. การเลือกไขควงลองไฟควรเลือกให้เหมาะกับไฟฟ้าที่ จะใช้ ทั้งชนิดของไฟฟ้าและขนาดแรงดัน

3.1 ชนิดของไฟฟ้า เช่น ไฟฟ้ากระแสตรง DC (ใช้ในรถยนต์) ไฟฟ้ากระแสสลับ AC (ใช้กับไฟที่มาจากการไฟฟ้าฯ)

3.2 ขนาดแรงดันไฟฟ้าต้องพอเหมาะ ไม่ สูงหรือต่ำเกินไปหากเลือกไขควงมีค่าแรงดันต่ำอาจไวดี แต่ไม่ปลอดภัยนัก คือ จะรู้สึกว่ามีไฟรั่วผ่านไขควงมากเวลาแตะสัมผัส เช่น ไฟฟ้าตามบ้านใช้ไฟ 200-250 โวลต์ แต่ใช้ไขควงสำหรับแรงดัน 80-125 โวลต์ เป็นต้น

4. ระวังอย่าให้นิ้วแตะสัมผัสไขควงส่วนที่เปลือย ควรใช้ไขควงที่มีการหุ้มฉนวนให้เหลือเฉพาะปลายที่ จะใช้สัมผัส หากไม่ มีอาจต้องใช้วิธีพันให้รอบด้วยเทปพันสายไฟก็ได้ ซึ่งจะช่วยลดหรือป้องกันอุบัติเหตุการเกิดลัดวงจรจากการใช้ไขควงที่ไม่ระมัดระวังด้วย

5. ไขควงลองไฟทั่วไปที่ใช้ตามบ้าน มักจะมีปุ่มด้านบน หรือเป็นแบบคลิ้ปหนีบปากกา ไว้สำหรับให้ใช้นิ้วแตะเพื่อให้ไฟไหลครบวงจรผ่านร่างกาย ไฟนีออนจึงจะติดแดงขึ้นมาได้

6. การใช้ไขควงลองไฟที่ถูกวิธีนั้นให้เอาปลายแตะวัตถุที่จะทดสอบก่อน แล้วจึงใช้นิ้วแตะปุ่มด้านบนหรือตรงคลิ้ปหนีบให้ครบวงจร และต้องไม่ยืนอยู่บนพื้นฉนวนหรือใส่รองเท้า เพราะไฟอาจจะไม่ติดทำให้แปลความหมายผิดว่าไม่มีไฟรั่วก็ได้

7. ทุกครั้งที่จะใช้ ให้ระมัดระวังและระลึกไว้เสมอว่าอาจมีอันตราย เช่น ไขควงฯอาจชำรุดหรือลัดวงจรภายในได้จึงต้องแตะเพียงเล็กน้อย เท่านั้น

8. ไขควงลองไฟ ที่ ไม่ ได้ใช้งานมานาน ไฟนีออนหรือตัวต้านทานภายในอาจชำรุดใช้งานไม่ได้(ไฟไม่ติด) หรือ หากเป็นแบบดิจิตอลไฟแสดงผลอาจไม่ทำงาน ดังนั้นก่อนใช้งาน ควรทดสอบไขควงฯนั้นว่ายังใช้ได้อยู่ โดยทดสอบกับส่วนที่รู้แน่ว่ามีไฟเสียก่อน เช่น ไขควงลองไฟชนิดใช้ไฟบ้านให้ใช้ทดสอบโดยแหย่ เข้าไปในรูเต้ารับที่ ผนัง จะมีรูหนึ่งเท่านั้นที่มีไฟ เป็นต้น

9. เวลาแหย่ ไขควงลองไฟ ต้องระมัดระวังอย่าให้ไขควงไปแตะส่วนอื่นที่เป็นขั้วไฟคนละขั้วพร้อมกัน เช่น ขั้วไฟต่างเฟส หรือ ขั้วมีไฟแตะกับขั้วดินหรือนิวทรัล เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในที่แคบๆ เพราะนั่นหมายถึงการทำให้เกิดลัดวงจรและจะมีประกายไฟที่รุนแรงพุ่งเข้าสู่ใบหน้าและดวงตาจนอาจเสียโฉมหรือพิการได้ ดังนั้น ในสถานการณ์ที่มีขั้วไฟฟ้าเปิดโล่ง หรือเปลือย เช่น ตู้แผงสวิตช์ หรือเต้ารับที่เปิดฝาออก ไม่แนะนำให้ผู้ที่ไม่ใช่ช่างไฟฟ้าทำงานโดยเด็ดขาด

10. ห้ามซ่อมหรือดัดแปลงไขควงลองไฟที่ชำรุดเป็นอันขาด เช่น การเปลี่ยนค่าความต้านทาน หรือต่อตรงความต้านทาน เป็นต้น

11. ห้ามนำไขควงลองไฟไปใช้ทดสอบกับไฟฟ้าที่ไม่รู้ค่าแรงดัน หรือไฟฟ้าแรงดันสูง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
วิธีใช้ไขควงวัดไฟ --------------------------------------------------------------------------------1. ไขควงลองไฟนั้นเป็นเครื่องมืออย่างง่ายสำหรับใช้ตรวจสอบวัตถุหรือตัวนำว่ามีไฟฟ้าหรือมีแรงดันไฟฟ้าอยู่หรือไม่และยังใช้ตรวจสอบเครื่องใช้ไฟฟ้าว่ามีไฟรั่วหรือไม่อีกด้วย2. การทำงานของไขควงลองไฟแบบธรรมดาภายในจะประกอบด้วยหลอดนีออนต่ออยู่กับความต้านทานค่าสูงโดยความต้านทานมีหน้าที่จำกัดปริมาณกระแสไฟที่จะไหลผ่านหลอดนีออนและร่างกายไม่ให้มีอันตรายหากมีการนำไปแตะสัมผัสกับส่วนที่มีไฟซึ่งจะเป็นการต่อไฟครบวงจรโดยไฟฟ้าจะไหลจากปลายไขควงผ่านหลอดนีออนตัวต้านทานนิ้วแขนร่างกายลงสู่พื้นที่ยืนอยู่โดยหลอดนีออนจะสว่างก็ต่อเมื่อแรงดันที่หลอดสูงถึงระดับพิกัดที่หลอดนีออนจะสว่าง3. การเลือกไขควงลองไฟควรเลือกให้เหมาะกับไฟฟ้าที่จะใช้ทั้งชนิดของไฟฟ้าและขนาดแรงดัน 3.1 ชนิดของไฟฟ้า เช่น ไฟฟ้ากระแสตรง DC (ใช้ในรถยนต์) ไฟฟ้ากระแสสลับ AC (ใช้กับไฟที่มาจากการไฟฟ้าฯ) 3.2 ขนาดแรงดันไฟฟ้าต้องพอเหมาะ ไม่ สูงหรือต่ำเกินไปหากเลือกไขควงมีค่าแรงดันต่ำอาจไวดี แต่ไม่ปลอดภัยนัก คือ จะรู้สึกว่ามีไฟรั่วผ่านไขควงมากเวลาแตะสัมผัส เช่น ไฟฟ้าตามบ้านใช้ไฟ 200-250 โวลต์ แต่ใช้ไขควงสำหรับแรงดัน 80-125 โวลต์ เป็นต้น4. ระวังอย่าให้นิ้วแตะสัมผัสไขควงส่วนที่เปลือย ควรใช้ไขควงที่มีการหุ้มฉนวนให้เหลือเฉพาะปลายที่ จะใช้สัมผัส หากไม่ มีอาจต้องใช้วิธีพันให้รอบด้วยเทปพันสายไฟก็ได้ ซึ่งจะช่วยลดหรือป้องกันอุบัติเหตุการเกิดลัดวงจรจากการใช้ไขควงที่ไม่ระมัดระวังด้วย5. ไขควงลองไฟทั่วไปที่ใช้ตามบ้าน มักจะมีปุ่มด้านบน หรือเป็นแบบคลิ้ปหนีบปากกา ไว้สำหรับให้ใช้นิ้วแตะเพื่อให้ไฟไหลครบวงจรผ่านร่างกาย ไฟนีออนจึงจะติดแดงขึ้นมาได้6. การใช้ไขควงลองไฟที่ถูกวิธีนั้นให้เอาปลายแตะวัตถุที่จะทดสอบก่อน แล้วจึงใช้นิ้วแตะปุ่มด้านบนหรือตรงคลิ้ปหนีบให้ครบวงจร และต้องไม่ยืนอยู่บนพื้นฉนวนหรือใส่รองเท้า เพราะไฟอาจจะไม่ติดทำให้แปลความหมายผิดว่าไม่มีไฟรั่วก็ได้7. ทุกครั้งที่จะใช้ ให้ระมัดระวังและระลึกไว้เสมอว่าอาจมีอันตราย เช่น ไขควงฯอาจชำรุดหรือลัดวงจรภายในได้จึงต้องแตะเพียงเล็กน้อย เท่านั้น8. ไขควงลองไฟ ที่ ไม่ ได้ใช้งานมานาน ไฟนีออนหรือตัวต้านทานภายในอาจชำรุดใช้งานไม่ได้(ไฟไม่ติด) หรือ หากเป็นแบบดิจิตอลไฟแสดงผลอาจไม่ทำงาน ดังนั้นก่อนใช้งาน ควรทดสอบไขควงฯนั้นว่ายังใช้ได้อยู่ โดยทดสอบกับส่วนที่รู้แน่ว่ามีไฟเสียก่อน เช่น ไขควงลองไฟชนิดใช้ไฟบ้านให้ใช้ทดสอบโดยแหย่ เข้าไปในรูเต้ารับที่ ผนัง จะมีรูหนึ่งเท่านั้นที่มีไฟ เป็นต้น
9. เวลาแหย่ ไขควงลองไฟ ต้องระมัดระวังอย่าให้ไขควงไปแตะส่วนอื่นที่เป็นขั้วไฟคนละขั้วพร้อมกัน เช่น ขั้วไฟต่างเฟส หรือ ขั้วมีไฟแตะกับขั้วดินหรือนิวทรัล เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในที่แคบๆ เพราะนั่นหมายถึงการทำให้เกิดลัดวงจรและจะมีประกายไฟที่รุนแรงพุ่งเข้าสู่ใบหน้าและดวงตาจนอาจเสียโฉมหรือพิการได้ ดังนั้น ในสถานการณ์ที่มีขั้วไฟฟ้าเปิดโล่ง หรือเปลือย เช่น ตู้แผงสวิตช์ หรือเต้ารับที่เปิดฝาออก ไม่แนะนำให้ผู้ที่ไม่ใช่ช่างไฟฟ้าทำงานโดยเด็ดขาด

10. ห้ามซ่อมหรือดัดแปลงไขควงลองไฟที่ชำรุดเป็นอันขาด เช่น การเปลี่ยนค่าความต้านทาน หรือต่อตรงความต้านทาน เป็นต้น

11. ห้ามนำไขควงลองไฟไปใช้ทดสอบกับไฟฟ้าที่ไม่รู้ค่าแรงดัน หรือไฟฟ้าแรงดันสูง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
วิธีใช้ไขควงวัดไฟ--------------------------------------------------------------------------------1 . ไขควงลองไฟนั้นเป็นเครื่องมืออย่างง่ายสำหรับใช้ตรวจสอบวัตถุหรือตัวนำว่ามีไฟฟ้าหรือมีแรงดันไฟฟ้าอยู่หรือไม่และยังใช้ตรวจสอบเครื่องใช้ไฟฟ้าว่ามีไฟรั่วหรือไม่อีกด้วย2 . การทำงานของไขควงลองไฟแบบธรรมดาภายในจะประกอบด้วยหลอดนีออนต่ออยู่กับความต้านทานค่าสูงโดยความต้านทานมีหน้าที่จำกัดปริมาณกระแสไฟที่จะไหลผ่านหลอดนีออนและร่างกายไม่ให้มีอันตรายหากมีการนำไปแตะสัมผัสกับส่วนที่มีไฟซึ่งจะเป็นการต่อไฟครบวงจรโดยไฟฟ้าจะไหลจากป ลายไขควงผ่านหลอดนีออนตัวต้านทานนิ้วแขนร่างกายลงสู่พื้นที่ยืนอยู่โดยหลอดนีออนจะสว่างก็ต่อเมื่อแรงดันที่หลอดสูงถึงระดับพิกัดที่หลอดนีออนจะสว่าง3 . การเลือกไขควงลองไฟควรเลือกให้เหมาะกับไฟฟ้าที่จะใช้ทั้งชนิดของไฟฟ้าและขนาดแรงดัน3.1 ชนิดของไฟฟ้าเช่นไฟฟ้ากระแสตรง DC ( ใช้ในรถยนต์ ) ไฟฟ้ากระแสสลับ AC ( ใช้กับไฟที่มาจากการไฟฟ้าฯ )3.2 ขนาดแรงดันไฟฟ้าต้องพอเหมาะไม่สูงหรือต่ำเกินไปหากเลือกไขควงมีค่าแรงดันต่ำอาจไวดีแต่ไม่ปลอดภัยนักความจะรู้สึกว่ามีไฟรั่วผ่านไขควงมากเวลาแตะสัมผัสเช่นไฟฟ้าตามบ้านใช้ไฟ 200-250 โวลต์แต่ใช้ไขควงสำหรับแรงดัน 80-125 โวลต์เป็นต้น4 . ระวังอย่าให้นิ้วแตะสัมผัสไขควงส่วนที่เปลือยควรใช้ไขควงที่มีการหุ้มฉนวนให้เหลือเฉพาะปลายที่จะใช้สัมผัสหากไม่มีอาจต้องใช้วิธีพันให้รอบด้วยเทปพันสายไฟก็ได้ซึ่งจะช่วยลดหรือป้องกันอุบัติเหตุการเกิดลัดวงจรจากการใช้ไขควงที่ไม่ระมัดระวังด้วย5 . ไขควงลองไฟทั่วไปที่ใช้ตามบ้านมักจะมีปุ่มด้านบนหรือเป็นแบบคลิ้ปหนีบปากกาไว้สำหรับให้ใช้นิ้วแตะเพื่อให้ไฟไหลครบวงจรผ่านร่างกายไฟนีออนจึงจะติดแดงขึ้นมาได้6 . การใช้ไขควงลองไฟที่ถูกวิธีนั้นให้เอาปลายแตะวัตถุที่จะทดสอบก่อนแล้วจึงใช้นิ้วแตะปุ่มด้านบนหรือตรงคลิ้ปหนีบให้ครบวงจรและต้องไม่ยืนอยู่บนพื้นฉนวนหรือใส่รองเท้าเพราะไฟอาจจะไม่ติดทำให้แปลความหมายผิดว่าไม่มีไฟรั่วก็ได้7 . ทุกครั้งที่จะใช้ให้ระมัดระวังและระลึกไว้เสมอว่าอาจมีอันตรายเช่นไขควงฯอาจชำร
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: