ประวัติของเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องแรกเป็นแบบภาษาอังกฤษจดท การแปล - ประวัติของเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องแรกเป็นแบบภาษาอังกฤษจดท ฝรั่งเศส วิธีการพูด

ประวัติของเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องพิม

ประวัติของเครื่องพิมพ์ดีด

เครื่องพิมพ์ดีดเครื่องแรกเป็นแบบภาษาอังกฤษจดทะเบียนสิทธิบัตรเมื่อ พ.ศ.2237 ณ ประเทศอังกฤษ โดยวิศวกรชื่อเฮนรี่ มิล โดยใช้ชื่อว่า Writig Machine ต่อจากนั้นนายวิลเลี่ยม ออสตินเบิท ชาวอเมริกันได้ประดิษฐ์เครื่องเขียนหนังสือใช้ชื่อว่า Typographer มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมทำด้วยไม้ทั้งสิ้น

พ.ศ.2376 Progin ชาวฝรั่งเศส ได้ประดิษฐ์เครื่องเขียนหนังสือ สำหรับคนตาบอดเรียกว่า Ktypographic เครื่องนี้ประกอบด้วยที่รวมของแป้นอักษรเมื่อเคาะลงไปบนแป้นอักษรจะดีดก้านอักษรตีไปที่จุดศูนย์กลาง ซึ่งเป็นรูปแบบของเครื่องพิมพ์ดีดในปัจจุบัน

พ.ศ.2416 มีการผลิตเครื่องพิมพ์ดีดแบบมาตรฐานออกสู่ตลาดในสหรัฐอเมริกา มีเครื่องพิมพ์ดีดที่ประสบความสำเร็จในการจำหน่ายเพียง 4-5 ยี่ห้อ คือ รอยัล เรมิงตัน ไอบีเอ็ม สมิธโคโรน่า และอันเดอร์วูด

ส่วนในยุโรปมีนักประดิษฐ์ทำเครื่องพิมพ์ดีดออกจำหน่ายหลายยี่ห้อ เช่น ในเยอรมันนี มีโอลิมเปีย แอดเลอร์ ออบติม่า นอิตาลีมี โอลิวิตตี้ ในฮอลแลนด์มี เฮร์เมส เป็นต้น

ในประเทศไทย

นายเอดวิน แมคฟาร์แลนด์ เลขานุการส่วนพระองค์ของสมเด็จพระยาดำรงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงธรรมการเดินทางไปสหรัฐอเมริกา มีแนวความคิดที่จะดัดแปลงเครื่องพิมพ์ดีดภาษาอังกฤษเป็นเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย แต่เนื่องจากภาษาไทยมีสระและวรรณยุกต์มาก ต้องใช้เครื่องพิมพ์ดีดที่มีแป้นอักษรมากกว่าชนิดอื่น ในที่สุดก็เลือกได้ยี่ห้อ สมิทฟรีเมียร์

เมื่อ พ.ศ. 2438 นายเอดวิน แมคฟาร์แลนด์ ก็ถึงแก่กรรม แต่ในขณะที่ป่วยอยู่ได้มอบหมายให้หมอยอร์ช บี แมคฟาร์แลนด์ (พระอาจวิทยาคม) น้องชายหาวิธีแก้ไขปรับปรุง และแพร่เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยให้กว้างขวางต่อไป พระอาจวิทยาคม ได้นำเครื่องพิมพ์ดีดแสดงโชว์ไว้ที่ร้านทำฟันของท่าน มีประชาชนและข้าราชการที่ไปทำฟันได้พบเห็นและได้รับคำแนะนำจำนวนมาก ต่อมาหน่วยราชการต่าง ๆ ก็สั่งซื้อจำนวนมาก โดยท่านได้สั่งให้โรงงานสมิทฟรีเมียร์ในสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ผลิตและส่งมาถึงเมืองไทยรุ่นแรก พ.ศ. 2440

ในปี พ.ศ. 2467 พระอาจวิทยาคม ได้ปรึกษาและทำการค้นคว้ากับพนักงานบริษัท 2 คนคือ นายสวัสดิ์ มากประยูร และนายสุวรรณประเสริฐ (กิมเฮง) เกษมณี โดยนายสวัสดิ์ มากประยูร เป็นวิศวกรออกแบบประดิษฐ์ตัวอักษร นายสุวรรณประเสริฐ (กิมเฮง) เกษมณี ทำหน้าที่ฝ่ายวิชาการ ใช้เวลา 7 ปี ก็วางแป้นอักษรใหม่สำเร็จและเห็นว่าเหมาะสมที่สุด ใน พ.ศ. 2474 สามารถพิมพ์ได้ถนัดที่สุดและรวดเร็วที่สุด ให้ชื่อว่าแบบ “เกษมณี” และใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้

ต่อมาได้มีผู้วิจัยพบว่า เครื่องพิมพ์ดีดแบบเกษมณี ยังมีข้อบกพร่องและคิดวางแป้นอักษรใหม่ ใช้ชื่อว่า “ปัตตะโชติ” และสภาวิจัยแห่งชาติตรวจสอบแล้วเห็นว่าเครื่องพิมพ์ดีดแบบปัตตะโชติ สามารถพิมพ์ได้เร็วกว่าแบบเดิมประมาณ 25.8% ในระหว่างปี พ.ศ. 2508 – 2516 ทำให้วงการใช้เครื่องพิมพ์ดีดเกิดความสับสน คณะรัฐมนตรีลงมติให้หน่วยราชการที่ได้รับงบประมาณค่าเครื่องพิมพ์ดีดจัดซื้อเครื่องพิมพ์ดีดไทยแบบปัตตะโชติ หลังวันที่ 16 ตุลาคม 2516 มีการยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าวและให้มีการจัดซื้อเครื่องพิมพ์ดีดเป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้

ปัจจุบันเครื่องพิมพ์ดีดได้ถูกพัฒนาให้ก้าวหน้าด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ สามารถพิมพ์ได้เร็ว น้ำหนักเบา เพราะใช้ระบบเครื่องไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์โดยสามารถเก็บข้อมูลต่าง ๆ ที่พิมพ์ไว้ในเครื่องและสามารถสั่งให้เครื่องพิมพ์ข้อความเติมได้หลาย ๆ ฉบับ

ขนาดของตัวพิมพแบบเครื่องพิมพ์ ประเภทของเครื่องพิมพ์
ขนาดตัวพิมพที่ใช้กันอยู่โดยทั่วไปมี 3 ขนาด คือ
1. ตัวอักษรขนาดใหญ่เรียกว่า"ไปก้า"์
2. ตัวอักษรขนาดเล็กเรียกว่า"อีลีท"
3. ตัวอักษร IBMเป็นตัวอักษรขนาดเล็ก
แบบเครื่องพิมพ์
การวางแป้นอักษร เป็นสัญลักษณ์ของแบบเครื่องพิมพ์ เครตื ่องพิมพ์ดีดภาษาไทยได้มีการพัฒนา
การวางแป้นอักษรมาแล้วแบบเครื่องพิมพ์มี 2 แบบ คือ
1. แบบเกษมณี เป็นอักษรแป้นเหย้าคือ ฟ ห ก ด ่ า ส ว
2. แบบปัตตะโชติ อักษรแป้นเหย้า คือ ้ ท ง ก า น เ ไ
ประเภทของเครื่องพิมพ์ แบ่งได้ 2 ชนิด
1. เครื่องพิมพ์ดีดที่เป็นอักษรไทยล้วน
2.ท เครื่อง พิมพ์ดีดที่มีอักษรไทยและอักษรอังกฤษ
เครื่องพิมพ์ดีดเป็นอักษรไทยล้วนมี 2 แบบ
1. แบบธรรมดา
2. แบบไฟฟ้า
เครื่องพิมพ์ดีดที่มีทั้งอักษรไทยและอังกฤษอยู่ในเครื่องเดียวกันมี 2 แบบ
1. แบบกอล์ฟบอลล์
2. แบบเฟืองหมุน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ฝรั่งเศส) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติของเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องแรกเป็นแบบภาษาอังกฤษจดทะเบียนสิทธิบัตรเมื่อ พ.ศ.2237 ณ ประเทศอังกฤษ โดยวิศวกรชื่อเฮนรี่ มิล โดยใช้ชื่อว่า Writig Machine ต่อจากนั้นนายวิลเลี่ยม ออสตินเบิท ชาวอเมริกันได้ประดิษฐ์เครื่องเขียนหนังสือใช้ชื่อว่า typographe มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมทำด้วยไม้ทั้งสิ้นพ.ศ.2376 Progin ชาวฝรั่งเศส ได้ประดิษฐ์เครื่องเขียนหนังสือ สำหรับคนตาบอดเรียกว่า Ktypographic เครื่องนี้ประกอบด้วยที่รวมของแป้นอักษรเมื่อเคาะลงไปบนแป้นอักษรจะดีดก้านอักษรตีไปที่จุดศูนย์กลาง ซึ่งเป็นรูปแบบของเครื่องพิมพ์ดีดในปัจจุบันพ.ศ.2416 มีการผลิตเครื่องพิมพ์ดีดแบบมาตรฐานออกสู่ตลาดในสหรัฐอเมริกา มีเครื่องพิมพ์ดีดที่ประสบความสำเร็จในการจำหน่ายเพียง 4-5 ยี่ห้อ คือ รอยัล เรมิงตัน ไอบีเอ็ม สมิธโคโรน่า และอันเดอร์วูดส่วนในยุโรปมีนักประดิษฐ์ทำเครื่องพิมพ์ดีดออกจำหน่ายหลายยี่ห้อ เช่น ในเยอรมันนี มีโอลิมเปีย แอดเลอร์ ออบติม่า นอิตาลีมี โอลิวิตตี้ ในฮอลแลนด์มี เฮร์เมส เป็นต้นในประเทศไทยนายเอดวิน แมคฟาร์แลนด์ เลขานุการส่วนพระองค์ของสมเด็จพระยาดำรงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงธรรมการเดินทางไปสหรัฐอเมริกา มีแนวความคิดที่จะดัดแปลงเครื่องพิมพ์ดีดภาษาอังกฤษเป็นเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย แต่เนื่องจากภาษาไทยมีสระและวรรณยุกต์มาก ต้องใช้เครื่องพิมพ์ดีดที่มีแป้นอักษรมากกว่าชนิดอื่น ในที่สุดก็เลือกได้ยี่ห้อ สมิทฟรีเมียร์เมื่อ พ.ศ. 2438 นายเอดวิน แมคฟาร์แลนด์ ก็ถึงแก่กรรม แต่ในขณะที่ป่วยอยู่ได้มอบหมายให้หมอยอร์ช บี แมคฟาร์แลนด์ (พระอาจวิทยาคม) น้องชายหาวิธีแก้ไขปรับปรุง และแพร่เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยให้กว้างขวางต่อไป พระอาจวิทยาคม ได้นำเครื่องพิมพ์ดีดแสดงโชว์ไว้ที่ร้านทำฟันของท่าน มีประชาชนและข้าราชการที่ไปทำฟันได้พบเห็นและได้รับคำแนะนำจำนวนมาก ต่อมาหน่วยราชการต่าง ๆ ก็สั่งซื้อจำนวนมาก โดยท่านได้สั่งให้โรงงานสมิทฟรีเมียร์ในสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ผลิตและส่งมาถึงเมืองไทยรุ่นแรก พ.ศ. 2440ในปี พ.ศ. 2467 พระอาจวิทยาคม ได้ปรึกษาและทำการค้นคว้ากับพนักงานบริษัท 2 คนคือ นายสวัสดิ์ มากประยูร และนายสุวรรณประเสริฐ (กิมเฮง) เกษมณี โดยนายสวัสดิ์ มากประยูร เป็นวิศวกรออกแบบประดิษฐ์ตัวอักษร นายสุวรรณประเสริฐ (กิมเฮง) เกษมณี ทำหน้าที่ฝ่ายวิชาการ ใช้เวลา 7 ปี ก็วางแป้นอักษรใหม่สำเร็จและเห็นว่าเหมาะสมที่สุด ใน พ.ศ. 2474 สามารถพิมพ์ได้ถนัดที่สุดและรวดเร็วที่สุด ให้ชื่อว่าแบบ » เกษมณี » และใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้ต่อมาได้มีผู้วิจัยพบว่า เครื่องพิมพ์ดีดแบบเกษมณี ยังมีข้อบกพร่องและคิดวางแป้นอักษรใหม่ ใช้ชื่อว่า « ปัตตะโชติ » และสภาวิจัยแห่งชาติตรวจสอบแล้วเห็นว่าเครื่องพิมพ์ดีดแบบปัตตะโชติ สามารถพิมพ์ได้เร็วกว่าแบบเดิมประมาณ ในระหว่างปี DE 25,8 % พ.ศ. 2508-2516 ทำให้วงการใช้เครื่องพิมพ์ดีดเกิดความสับสน คณะรัฐมนตรีลงมติให้หน่วยราชการที่ได้รับงบประมาณค่าเครื่องพิมพ์ดีดจัดซื้อเครื่องพิมพ์ดีดไทยแบบปัตตะโชติ หลังวันที่ 16 ตุลาคม 2516 มีการยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าวและให้มีการจัดซื้อเครื่องพิมพ์ดีดเป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ปัจจุบันเครื่องพิมพ์ดีดได้ถูกพัฒนาให้ก้าวหน้าด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ สามารถพิมพ์ได้เร็ว น้ำหนักเบา เพราะใช้ระบบเครื่องไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์โดยสามารถเก็บข้อมูลต่าง ๆ ที่พิมพ์ไว้ในเครื่องและสามารถสั่งให้เครื่องพิมพ์ข้อความเติมได้หลาย ๆ ฉบับขนาดของตัวพิมพแบบเครื่องพิมพ์ ประเภทของเครื่องพิมพ์ขนาดตัวพิมพที่ใช้กันอยู่โดยทั่วไปมี 3 ขนาด คือ1. ตัวอักษรขนาดใหญ่เรียกว่า « ไปก้า » ์2. ตัวอักษรขนาดเล็กเรียกว่า « อีลีท »3. ตัวอักษร IBMเป็นตัวอักษรขนาดเล็กแบบเครื่องพิมพ์การวางแป้นอักษร เป็นสัญลักษณ์ของแบบเครื่องพิมพ์ เครตื ่องพิมพ์ดีดภาษาไทยได้มีการพัฒนาการวางแป้นอักษรมาแล้วแบบเครื่องพิมพ์มี 2 แบบ คือ1. แบบเกษมณี เป็นอักษรแป้นเหย้าคือ ฟ ห ก ด ่ า ส ว2. แบบปัตตะโชติ อักษรแป้นเหย้า คือ ้ ท ง ก า น เ ไประเภทของเครื่องพิมพ์ แบ่งได้ 2 ชนิด1. เครื่องพิมพ์ดีดที่เป็นอักษรไทยล้วน2.ท เครื่อง พิมพ์ดีดที่มีอักษรไทยและอักษรอังกฤษเครื่องพิมพ์ดีดเป็นอักษรไทยล้วนมี 2 แบบ1. แบบธรรมดา2. แบบไฟฟ้าเครื่องพิมพ์ดีดที่มีทั้งอักษรไทยและอังกฤษอยู่ในเครื่องเดียวกันมี 2 แบบ1. แบบกอล์ฟบอลล์2. แบบเฟืองหมุน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ฝรั่งเศส) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ของ เครื่อง พิมพ์ดีด ประวัติ

เครื่อง พิมพ์ดีด เครื่อง แรก เป็น แบบ ภาษา อังกฤษ จดทะเบียน สิทธิบัตร เมื่อ พ.ศ. 2237 ณ ประเทศ อังกฤษ โดย วิศวกร ชื่อ เฮ น รี่ มิ ล โดย ใช้ ชื่อว่า Writig machine ต่อ จาก นั้น นาย วิ ล เลี่ยม ออสติน เบิ ท ชาว อเมริกัน ได้ ประดิษฐ์ เครื่อง เขียน หนังสือ ใช้ ชื่อว่า Typographer ลักษณะ เป็น รูป มี สี่เหลี่ยม ทำ ด้วย ไม้ ทั้งสิ้น

พ.ศ. 2376 Progin ชาว ฝรั่งเศส ได้ ประดิษฐ์ เครื่อง เขียน หนังสือ สำหรับ คน ตาบอด เรียก ว่า Ktypographic เครื่อง นี้ ประกอบด้วย ที่ รวม ของ แป้น อักษร เมื่อ เคาะ ลง ไป บน แป้น อักษร จะ ด ก้าน อักษร ดี ตี ไป ที่ จุดศูนย์กลาง ซึ่ง เป็น รูป แบบ ของ เครื่อง พิมพ์ดีด ใน ปัจจุบัน

พ.ศ. 2416 มี การ ผลิต เครื่อง พิมพ์ดีด แบบ มาตรฐาน ออก สู่ ตลาด ใน สหรัฐอเมริกา มี เครื่อง พิมพ์ดีด ที่ ประสบ ความ สำเร็จ ใน การ จำหน่าย เพียง 4-5 ยี่ห้อ คือ รอยัล เร มิ § ตัน ไอบีเอ็ม ส มิ ¸ โค โร น่า และ อันเดอร์ วู ด

ส่วน ใน ยุโรป มี นัก ประดิษฐ์ ทำ เครื่อง พิมพ์ดีด ออก จำหน่าย หลาย ยี่ห้อ เช่น ใน เยอรมันนี มี โอลิมเปีย แอด เลอ ร์ Í อบ ติ ม่า ¹ อิตาลี มี โอ ลิ วิ ต ตี้ ใน ฮอลแลนด์ มี เฮ ร์ เม ส เป็นต้น

ใน ประเทศไทย

นาย เอ ด วิน แม ค ฟา ร์ แลนด์ เลขานุการ ส่วน พระองค์ ของ สมเด็จ พระยา ดำรง ราชา นุ ภาพ เสนาบดี กระทรวง ธรรม การ เดินทาง ไป สหรัฐอเมริกา มี แนว ความ คิด ที่ จะ ดัดแปลง เครื่อง พิมพ์ดีด ภาษา อังกฤษ เป็น เครื่อง พิมพ์ดีด ภาษา แต่ เนื่องจาก ภาษา ไทย ไทย มี สระ และ วรรณยุกต์ มาก ต้อง ใช้ เครื่อง พิมพ์ดีด ที่ มี แป้น อักษร มากกว่า ชนิด อื่น ใน ที่สุด ก็ เลือก ได้ ยี่ห้อ ส มิ ท ฟรี เมีย ร์

เมื่อ พ.ศ. 2438 นาย เอ ด วิน แม ค ฟา ร์ แลนด์ ก็ ถึงแก่กรรม แต่ ใน ขณะ ที่ ป่วย อยู่ ได้ มอบหมาย ให้ หมอ ย อ ร์ ช บี แม ค ฟา ร์ แลนด์ (พระ อาจ วิทยาคม) น้อง ชาย หา วิธี แก้ไข ปรับปรุง และ แพร่ เครื่อง พิมพ์ดีด ภาษา ไทย ให้ กว้างขวาง ต่อ ไป พระ อาจ วิทยาคม ได้ นำ เครื่อง พิมพ์ดีด แสดง โชว์ ไว้ ที่ ร้าน ทำฟัน ของ ท่าน มี ประชาชน และ ข้าราชการ ที่ ไป ทำฟัน ได้ พบเห็น และ ได้ รับคำ แนะนำ จำนวน มาก ต่อ มา หน่วย ราชการ ต่าง ๆ ก็ สั่ง ซื้อ จำนวน มาก โดย ท่าน ได้ สั่ง ให้ โรงงาน ส มิ ท ฟรี เมีย ร์ ใน สหรัฐอเมริกา เป็น ผู้ ผลิต และ ส่ง มา ถึง เมือง ไทย รุ่น แรก พ.ศ. 2440

ใน ปี พ.ศ. 2467 พระ อาจ วิทยาคม ได้ ปรึกษา และ ทำการ ค้นคว้า กับ พนักงาน บริษัท 2 คน คือ นาย สวัสดิ์ มาก ประยูร และ นาย สุวรรณ ประเสริฐ (กิ ม เฮง) เก ษ มณี โดย นาย สวัสดิ์ มาก ประยูร เป็น วิศวกร ออกแบบ ประดิษฐ์ ตัว อักษร นาย สุวรรณ ประเสริฐ (กิ ม เฮง) เก ษ มณี ทำ หน้าที่ ฝ่าย วิชาการ ใช้ เวลา 7 ปี ก็ วาง แป้น อักษร ใหม่ สำเร็จ และ เห็น ว่า เหมาะสม ที่สุด ใน พ.ศ. 2474 สามารถ พิมพ์ ได้ ถนัด ที่สุด และ รวดเร็ว ที่สุด ให้ ชื่อว่า แบบ "เก ษ มณี" และ ใช้ มา จนถึง ปัจจุบัน นี้

ต่อ มา ได้ มี ผู้ วิจัย พบ ว่า เครื่อง พิมพ์ดีด แบบ เก ษ มณี ยัง มี ข้อ บกพร่อง และ คิด วาง แป้น อักษร ใหม่ ใช้ ชื่อว่า " ปัตตะ โชติ "และ สภา วิจัย แห่ง ชาติ ตรวจ สอบ แล้ว เห็น ว่า เครื่อง พิมพ์ดีด แบบ ปัตตะ โชติ สามารถ พิมพ์ ได้ เร็ว กว่า แบบ เดิม ประมาณ 25,8% ใน ระหว่าง ปี พ.ศ. 2508 - 2516 ทำให้ วงการ ใช้ เครื่อง พิมพ์ดีด เกิด ความ สับสน คณะรัฐมนตรี ลง มติ ให้ หน่วย ราชการ ที่ ได้ รับ งบประมาณ ค่า เครื่อง พิมพ์ดีด จัด ซื้อ เครื่อง พิมพ์ดีด ไทย แบบ ปัตตะ โชติ หลัง วัน ที่ 16 ตุลาคม 2516 มี การ ยกเลิก มติ คณะรัฐมนตรี ดัง กล่าว และ ให้ มี การ จัด ซื้อ เครื่อง พิมพ์ดีด เป็น ไป ตาม ความ ต้องการ ของ ผู้ ใช้

ปัจจุบัน เครื่อง พิมพ์ดีด ได้ ถูก พัฒนา ให้ ก้าวหน้า ด้วย เทคโนโลยี สมัยใหม่ สามารถ พิมพ์ ได้ เร็ว น้ำหนัก เบา เพราะ ใช้ ระบบ เครื่อง ไฟฟ้า และ คอมพิวเตอร์ โดย สามารถ เก็บ ข้อมูล ต่าง ๆ ที่ พิมพ์ ไว้ ใน เครื่อง และ สามารถ สั่ง ให้ ข้อความ เติม ได้ เครื่องพิมพ์ หลาย ๆ ฉบับ

ขนาด ของ ตัว พิมพ แบบ เครื่องพิมพ์ ประเภท ของ เครื่องพิมพ์
ขนาด ตัว พิมพ ที่ ใช้ กัน อยู่ โดย ทั่วไป มี 3 ขนาด คือ
1. ตัว อักษร ขนาด ใหญ่ เรียก ว่า "ไป ก้า" ์
2. ตัว อักษร ขนาด เล็ก เรียก ว่า "อี ลี ท"
3. ตัว อักษร IBM ตัว อักษร ขนาด เป็น เล็ก
แบบ เครื่องพิมพ์
การ วาง แป้น อักษร เป็น สัญลักษณ์ ของ แบบ เครื่องพิมพ์ เค ร ตื ่ อง พิมพ์ดีด ภาษา ไทย ได้ มี การ พัฒนา
การ วาง แป้น อักษร มา แล้ว แบบ เครื่องพิมพ์ มี 2 แบบ คือ
1. แบบ เก ษ มณี เป็น อักษร แป้น เหย้า คือ ฟ ห ก ด ่ า ส ว
2. ปัตตะ โชติ อักษร แบบ แป้น เหย้า คือ ้ ท § ก Ò ¹ เ ไ
ประเภท ของ เครื่องพิมพ์ แบ่ง ได้ 2 ชนิด
1. เครื่อง พิมพ์ดีด ที่ เป็น อักษร ไทย ล้วน
2. เครื่อง พิมพ์ดีด ที่ ท มี อักษร ไทย และ อักษร อังกฤษ
เครื่อง พิมพ์ดีด เป็น อักษร ไทย ล้วน มี 2 แบบ
1. แบบ ธรรมดา
2. ไฟฟ้า แบบ
เครื่อง พิมพ์ดีด ที่ มี ทั้ง อักษร ไทย และ อังกฤษ อยู่ ใน เครื่อง เดียวกัน มี 2 แบบ
1. แบบ กอล์ฟ บอล ล์
2. แบบ เฟือง หมุน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ฝรั่งเศส) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติของเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องแรกเป็นแบบภาษาอังกฤษจดทะเบียนสิทธิบัตรเมื่อ พ. ศ. 2237 ณ ประเทศอังกฤษ โดยวิศวกรชื่อเฮนรี่ มิล โดยใช้ชื่อว่า writig machine ต่อจากนั้นนายวิลเลี่ยม ออสตินเบิท มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมทำด้วยไม้ทั้ ชาวอเมริกันได้ประดิษฐ์เครื่องเขียนหนังสือใช้ชื่อว่า typographeงสิ้นพ. ศ. 2376 progin ชาวฝรั่งเศส ได้ประดิษฐ์เครื่องเขียนหนังสือ สำหรับคนตาบอดเรียกว่า ktypographic เครื่องนี้ประกอบด้วยที่รวมของแป้นอักษรเมื่อเคาะลงไปบนแป้นอักษรจะดีดก้านอักษรตีไปที่จุดศูนย์กลาง ซึ่งเป็นรูปแบบของเครื่องพิมพ์ดีดในปัจจุบันพ. ศ. 2416 มีการผลิตเครื่องพิมพ์ดีดแบบมาตรฐานออกสู่ตลาดในสหรัฐอเมริกา มีเครื่องพิมพ์ดีดที่ประสบความสำเร็จในการจำหน่ายเพียง 4 - 5 ยี่ห้อ คือ รอยัล เรมิงตัน ไอบีเอ็ม สมิธโคโรน่า และอันเดอร์วูดส่วนในยุโรปมีนักประดิษฐ์ทำเครื่องพิมพ์ดีดออกจำหน่ายหลายยี่ห้อ เช่น ในเยอรมันนี มีโอลิมเปีย แอดเลอร์ ออบติม่า นอิตาลีมี โอลิวิตตี้ ในฮอลแลนด์มี เฮร์เมส เป็นต้นในประเทศไทยนายเอดวิน แมคฟาร์แลนด์ เลขานุการส่วนพระองค์ของสมเด็จพระยาดำรงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงธรรมการเดินทางไปสหรัฐอเมริกา มีแนวความคิดที่จะดัดแปลงเครื่องพิมพ์ดีดภาษาอังกฤษเป็นเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย แต่เนื่องจากภาษาไทยมีสระและวรรณยุกต์มาก ต้องใช้เครื่องพิมพ์ดีดที่มีแป้นอักษรมากกว่าชนิดอื่น ในที่สุดก็เลือกได้ยี่ห้อ สมิทฟรีเมียร์เมื่อ พ. ศ.2438 นายเอดวิน แมคฟาร์แลนด์ ก็ถึงแก่กรรม แต่ในขณะที่ป่วยอยู่ได้มอบหมายให้หมอยอร์ช บี แมคฟาร์แลนด์ (พระอาจวิทยาคม) น้องชายหาวิธีแก้ไขปรับปรุง และแพร่เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยให้กว้างขวางต่อไป พระอาจวิทยาคม ได้นำเครื่องพิมพ์ดีดแสดงโชว์ไว้ที่ร้านทำฟันของท่าน มีประชาชนและข้าราชการที่ไปทำฟันได้พบเห็นและได้รับคำแนะนำจำนวนมาก ต่อมาหน่วยราชการต่าง ๆ ก็สั่งซื้อจำนวนมาก โดยท่านได้สั่งให้โรงงานสมิทฟรีเมียร์ในสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ผลิตและส่งมาถึงเมืองไทยรุ่นแรก พ. ศ.2440ในปี พ. ศ.2467 พระอาจวิทยาคม คนคือ นายสวั ได้ปรึกษาและทำการค้นคว้ากับพนักงานบริษัท 2
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: