ชื่อเรื่อง   บทบาทของผู้บริหารในการดำเนินงานโรงเรียนตามหลักปรัชญา ของเ การแปล - ชื่อเรื่อง   บทบาทของผู้บริหารในการดำเนินงานโรงเรียนตามหลักปรัชญา ของเ ไทย วิธีการพูด

ชื่อเรื่อง บทบาทของผู้บริหารในการ

ชื่อเรื่อง บทบาทของผู้บริหารในการดำเนินงานโรงเรียนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
บุรีรัมย์ เขต 3
ผู้วิจัย นารี คุณวงศ์
ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ รองศาสตราจารย์มาลิณี จุโฑปะมา ที่ปรึกษาหลัก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิราณี จุโฑปะมา ที่ปรึกษาร่วม
ปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารการศึกษา
สถานศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ ปีที่พิมพ์ 2559
บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบบทบาทของผู้บริหารในการดำเนินงานโรงเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 โดยมุ่งศึกษาใน 5 ด้านคือ ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา ด้านผลลัพธ์และภาพความสำเร็จ จำแนกตามสภาพตำแหน่งและขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 493 คน แยกเป็นผู้บริหารจำนวน 152 คน และครู จำนวน 341 คน แล้วทำการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วนของขนาดโรงเรียน (Stratified Random Sampling) หลังจากนั้นทำการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม มีลักษณะเป็น แบบตรวจสอบรายการ (Check List) แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ และแบบคำถามปลายเปิด (Open Form) ความเชื่อมั่น (Reliability) โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach) ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .850 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency) และหาร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การทดสอบสมมติฐานใช้ t-test (Independent Samples) เปรียบเทียบ One-Way ANOVA ทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Seheffe ) โดยกำหนดค่าสถิติที่ระดับนัยสำคัญ .05 ผลการวิจัยพบว่า
1. บทบาทของผู้บริหารในการดำเนินงานโรงเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร และครู ทั้ง 5 ด้าน โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับ มาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด
คือ ด้านหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รองลงมาคือ ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา และด้านผลลัพธ์และภาพความสำเร็จ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา
2. เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับบทบาทของผู้บริหารในการดำเนินงานโรงเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 จำแนกตามสถานภาพตำแหน่ง โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษาไม่แตกต่างกันส่วนด้านอื่น ๆ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
3. เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับบทบาทของผู้บริหารในการดำเนินงานโรงเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 จำแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยรวมและรายด้าน ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
4. ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับบทบาทของผู้บริหารในการดำเนินงานโรงเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ที่มีจำนวนมากที่สุด คือ งบประมาณไม่เพียงพอ รองลงมาควรเพิ่มงบประมาณ ด้านหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่มีจำนวนมากที่สุด คือ การจัดหาสื่อ นวัตกรรม การเรียนการสอนให้เพียงพอ รองลงมา ครูส่วนใหญ่ขาดทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในสภาพที่ครูไม่ครบชั้น ไม่ตรงวิชาเอก มีผลต่อการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ที่มีจำนวนมากที่สุด คือ ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมน้อย รองลงมาขาดการประชาสัมพันธ์ที่หลากหลาย ด้านการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา ที่มีจำนวนมากที่สุด คือ ครูไม่ครบชั้น สอนไม่ตรงตามวิชาเอก รองลงมาควรจัดครูมาให้ครบชั้นเมื่อมีครูย้ายออก ด้านผลลัพธ์และภาพความสำเร็จ ที่มีจำนวนมากที่สุด คือ คณะกรรมการสถานศึกษามีบทบาทน้อย รองลงมาคณะกรรมการสถานศึกษา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อเรื่องบทบาทของผู้บริหารในการดำเนินงานโรงเรียนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา บุรีรัมย์เขต 3ผู้วิจัยนารีคุณวงศ์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์รองศาสตราจารย์มาลิณีจุโฑปะมาที่ปรึกษาหลัก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ศิราณีจุโฑปะมาที่ปรึกษาร่วม ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษาสถานศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ปีที่พิมพ์ 2559 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบบทบาทของผู้บริหารในการดำเนินงานโรงเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 โดยมุ่งศึกษาใน 5 ด้านคือ ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา ด้านผลลัพธ์และภาพความสำเร็จ จำแนกตามสภาพตำแหน่งและขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 493 คน แยกเป็นผู้บริหารจำนวน 152 คน และครู จำนวน 341 คน แล้วทำการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วนของขนาดโรงเรียน (Stratified Random Sampling) หลังจากนั้นทำการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม มีลักษณะเป็น แบบตรวจสอบรายการ (Check List) แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ และแบบคำถามปลายเปิด (Open Form) ความเชื่อมั่น (Reliability) โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach) ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .850 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency) และหาร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การทดสอบสมมติฐานใช้ t-test (Independent Samples) เปรียบเทียบ One-Way ANOVA ทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Seheffe ) โดยกำหนดค่าสถิติที่ระดับนัยสำคัญ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1. บทบาทของผู้บริหารในการดำเนินงานโรงเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร และครู ทั้ง 5 ด้าน โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับ มาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รองลงมาคือ ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา และด้านผลลัพธ์และภาพความสำเร็จ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา 2. เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับบทบาทของผู้บริหารในการดำเนินงานโรงเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 จำแนกตามสถานภาพตำแหน่ง โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษาไม่แตกต่างกันส่วนด้านอื่น ๆ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับบทบาทของผู้บริหารในการดำเนินงานโรงเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 จำแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยรวมและรายด้าน ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้บริหารและครูเกี่ยวกับบทบาทของผู้บริหารในการดำเนินงานโรงเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ที่มีจำนวนมากที่สุด คือ งบประมาณไม่เพียงพอ รองลงมาควรเพิ่มงบประมาณ ด้านหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่มีจำนวนมากที่สุด คือ การจัดหาสื่อ นวัตกรรม การเรียนการสอนให้เพียงพอ รองลงมา ครูส่วนใหญ่ขาดทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในสภาพที่ครูไม่ครบชั้น ไม่ตรงวิชาเอก มีผลต่อการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ที่มีจำนวนมากที่สุด คือ ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมน้อย รองลงมาขาดการประชาสัมพันธ์ที่หลากหลาย ด้านการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา ที่มีจำนวนมากที่สุด คือ ครูไม่ครบชั้น สอนไม่ตรงตามวิชาเอก รองลงมาควรจัดครูมาให้ครบชั้นเมื่อมีครูย้ายออก ด้านผลลัพธ์และภาพความสำเร็จ ที่มีจำนวนมากที่สุด คือ คณะกรรมการสถานศึกษามีบทบาทน้อย รองลงมาคณะกรรมการสถานศึกษา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อเรื่อง เขต 3 คุณผู้วิจัยนารีที่คุณคุณวงศ์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์รองศาสตราจารย์มาลิณีจุโฑปะมาที่ปรึกษาหลักคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร. ศิราณีจุโฑปะมาที่ปรึกษาร่วมสูงสุดปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาหัวเรื่อง: การบริหารหัวเรื่อง: การศึกษาเป็นสถานศึกษาเป็นผู้แต่ง: มหาวิทยาลัยราชภัฎ บุรีรัมย์ปีที่พิมพ์ เขต 3 โดยมุ่งศึกษาใน 5 ด้านคือด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้าน การพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษาด้านผลลัพธ์และภาพความสำเร็จ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 493 คนแยกเป็นผู้บริหารจำนวน 152 คนและครูจำนวน 341 คน (วิทยานิพนธ์) หลังจากนั้นทำการสุ่มอย่างง่าย (แบบง่ายสุ่ม) มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (ตรวจสอบรายการ) แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating ชั่ง) 5 ระดับและแบบคำถามปลายเปิด (แบบเปิด) ความเชื่อมั่น (Reliability) โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (alpha Coefficient) ตามวิธีของครอน บาค (Cronbach) ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ. 850 การแจกแจงความถี่ (Frequency) และหาร้อยละ (ร้อยละ) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน) การทดสอบสมมติฐานใช้ t-test (ตัวอย่างอิสระ) เปรียบเทียบ One-way ANOVA ทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของ เชฟเฟ่ (Seheffe) โดยกำหนดค่าสถิติที่ระดับนัยสำคัญ. 05 ผลการวิจัยพบว่า 1 เขต 3 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครู ทั้ง 5 โดยรวมด้านและรายด้านขณะนี้ในห้างหุ้นส่วนจำกัดระดับมากโดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ รองลงมาคือด้านการบริหารจัดการ สถานศึกษาและด้านผลลัพธ์และภาพความสำเร็จด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือด้านการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา 2 เขต 3 จำแนกตามสถานภาพตำแหน่ง 0.01 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า 05 ๆ .01 3 เขต 3 จำแนกตามขนาดของโรงเรียนโดยรวมและ รายด้าน .01 4 เขต 3 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษาที่มี จำนวนมากที่สุดคืองบประมาณไม่เพียงพอรองลงมาควรเพิ่มงบประมาณ ที่มีจำนวนมากที่สุดคือการจัดหา สื่อนวัตกรรมการเรียนการสอนให้เพียงพอรองลงมา ไม่ตรงวิชาเอก ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ มีจำนวนมากที่สุดคือ ด้านการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษาที่ มีจำนวนมากที่สุดคือครูไม่ครบชั้นสอนไม่ตรงตามวิชาเอก ด้านผลลัพธ์และภาพความสำเร็จที่มี จำนวนมากที่สุดคือคณะกรรมการสถานศึกษามีบทบาทน้อยรองลงมาคณะกรรมการสถานศึกษา
















การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: