ประวัติของโรงเรียนเดชะ : เป็นคำที่ตัดย่อมาจากนาม พระยาเดชานุชิต สมุหเท การแปล - ประวัติของโรงเรียนเดชะ : เป็นคำที่ตัดย่อมาจากนาม พระยาเดชานุชิต สมุหเท ไทย วิธีการพูด

ประวัติของโรงเรียนเดชะ : เป็นคำที่ต

ประวัติของโรงเรียน

เดชะ : เป็นคำที่ตัดย่อมาจากนาม พระยาเดชานุชิต สมุหเทศาภิบาลมณฑล ปัตตานีผู้ริเริ่มก่อตั้งโรงเรียน

ปัตตนยานุกูล : เกิดจากการสนธิกันของคำว่าปัตตานีซึ่งมีความหมาย สถานที่ตั้ง กับคำว่า อนุกูล หมายถึง การให้ความ ช่วยเหลือ โรงเรียนเดชะปัตตนยากูล เดิมมีชื่อเรียกกันว่า "โรงเรียนสตรีมณฑลปัตตานี" ผู้ที่ริเริ่มตั้งโรงเรียนนี้ คือ คุณหญิงเดชานุชิต ภรรยาของมหาอำมาตย์ตรี พระยาเดชานุชิตสมุหเทศาภิบาล สำเร็จราชการมณฑลปัตตานี ในขณะนั้นซึ่งชาวเมืองปัตตานีรู้จักคุณหญิงเดชานุชิต ในนามคุณหญิงแหม่ม ในสมัยมณฑลปัตตานีมีโรงเรียนแห่งเดียวคือ "โรงเรียนตัวอย่างมณฑล"ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนเบญจมราชูทิศจังหวัดปัตตานี

ดังนั้นทั้งนักเรียนชาย และนักเรียนหญิง และนักเรียนหญิงต้องมาเรียนรวมกัน ที่โรงเรียนตัวอย่างมณฑล สมัยนั้นหาครูสตรีมาสอนค่อนข้างยากจึงมีนักเรียนมาเรียนน้อยมีมาสมทบเรียน ที่โรงเรียนตัวอย่างมณฑล เพียงไม่กี่คนเท่านั้นต่อมาผู้ปกครองเริ่มเห็นความสำคัญของการศึกษาจึงยอม ให้นักเรียนหญิงเข้าเรียนมากขึ้น คุณหญิงแหม่ม มองเห็นว่าควรจะแยกโรงเรียนสำหรับสตรีโดยเฉพาะ จึนได้ชักชวนข้าราชการ พ่อค้า คหบดี และประชาชน ในจังหวัดปัตตานีสมัยนั้น มาร่วมกันตั้งโรงเรียนสตรีขึ้น

ใน ระยะเวลาแรกต้องใช้บ้านพักสำหรับข้าราชการต่างมณฑล ซึ่งอยู่ใกล้จวนสมุหเทศาภิบาล เป็นสถานที่เรียนเริ่มเปิด โรงเรียนสำหรับสตรีครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ 2456 มี "ครูใหญ่" ซึ่งเป็นบุตรีของคุณหญิงแหม่ม แผ่นครูสอนในสมัยนั้น "คุณใหญ่"เรียนสำเร็จมาจากโรงเรียนเซ็นต์โยเซฟ คอนแวนต์ กรุงเทพฯ ในสมัยนั้น มีขุนพิบูย์พิทยาพรรค เป็นธรรมการจังหวัดปัตตานี และมีมหาอำมาตย์เอง พระยา วิสุทธสุริยศักดิ์ เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการโรงเรียนสตรีมณฑลปัตตานี ได้เปิดสอนอย่างไม่เป็นทางการ อยู่เดือนกว่าๆ จึงได้เปิดสอนอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ 2456 จัดการเรียนการสอน โดยอาศัยที่ของรัฐบาลหลายแห่งเป็นสถานที่เรียนจนกระทั่งถึง พ.ศ 2465 พระยาเดชานุชิต และคุณหญิงแหม่ม จึงได้หาเงินมาสร้างอาคารเรียนของโรงเรียนให้เป็นการถาวร โดยได้รับความร่วมมือจากข้าราชการ พ่อค้า คหบดีของจังหวัดปัตตานีเป็นอย่างดี โรงเรียนสตรีมณฑล ปัตตานีจึงได้มีสถานที่เรียนเป็นการถาวรที่ ถนนสะบารัง ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาพระยาเดชานุชิต และคุณหญิงแหม่ม ได้ขอให้กระทรวงธรรมการในสมัยนั้นเป็นผู้ตั้งชื่อของโรงเรียนใหม่ ดังมีรายละเอียดปรากฏใน หนังสือราชการที่พระยาเดชานุชิตสมุหเทษาภิบาลมณฑลปัตตานี มีไปถึง เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มาตรี เสนาบดีกระทรวงธรรมการ เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2465 มีใจความตอนหนึ่งว่า ด้วยโรงเรียนสตรีมลฑลปัตตานี ได้เริ่มเปิดสอนมาครั้งแรกตั้งแต่ พ.ศ. 2465 อาศัยสถานที่เรียนของรัฐบาลหลายแห่งเป็นที่สั่งสอน คุณหญิงเดชานุชิต ผู้อุปการะได้ตั้งใจที่จะขยายสถานที่ให้เป็นที่สง่าผ่าเผย กว้างขวางสืบไป จึงได้เริ่มบอกบุญแก่บรรดาข้าราชการ ราษฏรในมณฑลปัตตานี ได้เงินเป็นก้อนหนึ่ง แต่หาพอกับการปลูกสร้างไม่ จึงได้จ่ายเงินบำรุงการศึกษา ที่มีเหลืออยู่รวมกันเข้าได้เงิน 125,000 บาท ว่าจ้างช่างรับเหมาปลูกสร้างขึ้นเป็นรูปตึก 2 ชั้น ขนาดกล้าง 10 เมตร ยาว 14 เมตร แบ่งเป็นห้องเรียน 8 ห้อง

บัดนี้โรงเรียนหลังนี้ได้ปลูกสร้างจวนจะเสร็จอยู่แล้ว ข้าพเจ้าจะกำหนดเปิดและทำบุญฉลองในราวต้น ตุลาคม พ.ศ. 2465 ข้าพเจ้าและท่านผู้มีอุปการะประสงค์จะให้มีชื่ออันเป็นมงคลแก่ตึกหลังนี้ เพื่อเป็นเกียรติประวัติ การสืบไปเพราะฉะนั้นข้าพเจ้าขอความกรุณาเป็นที่พึ่งขอให้กระทรวงธรรมการตั้ง นามตึกอันเป็น โรงเรียนสตรีนี้ต่อไปด้วย....เสนาบดีกระทรวงธรรมการ คือ เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ได้ให้ชื่อโรงเรียนสตรีแห่นี้ชื่อว่า "เดชะปัตตนยานุกูล" ทั้งนี้เพื่อนเป็นอนุสรณ์แก่พระยาเดชานุชิตและคุณหญิงแหม่มในฐานะที่เป็นผู้ ริเริ่มก่อตั้งและเป็นผู้อุปการะโรงเรียนมาโดยตัดเอาคำ"เดชา" ตั้งแต่ครั้งนั้นเป็นต้นมาและมีขุนวิลาศจรรยา (นายทองสุข สุขพลินท์) เป็นผู้บริหารโรงเรียนคนแรกเมื่อ พ.ศ. 2472 จนถึง พ.ศ. 2486 กรมสามัญศึกษาได้ตั้งงบประมาณ ให้จัดสร้าง โรงเรียนแห่งนี้ใหม่ นายสุชาติ บุญยรัตรพันธ์ ผู้ว่าราชการจัดหวัดปัตตานีในสมัยนั้นได้เอาที่ดินราชพัสดุเนื้อที่ 19 ไร่ 2 งาน 6 ตารางวา เป็นที่ตั้งโรงเรียน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติของโรงเรียนเดชะ: เป็นคำที่ตัดย่อมาจากนามพระยาเดชานุชิตสมุหเทศาภิบาลมณฑลปัตตานีผู้ริเริ่มก่อตั้งโรงเรียนปัตตนยานุกูล: เกิดจากการสนธิกันของคำว่าปัตตานีซึ่งมีความหมายสถานที่ตั้งกับคำว่าอนุกูลหมายถึงการให้ความช่วยเหลือโรงเรียนเดชะปัตตนยากูลเดิมมีชื่อเรียกกันว่า "โรงเรียนสตรีมณฑลปัตตานี" ผู้ที่ริเริ่มตั้งโรงเรียนนี้คือคุณหญิงเดชานุชิตภรรยาของมหาอำมาตย์ตรีพระยาเดชานุชิตสมุหเทศาภิบาลสำเร็จราชการมณฑลปัตตานีในขณะนั้นซึ่งชาวเมืองปัตตานีรู้จักคุณหญิงเดชานุชิตในนามคุณหญิงแหม่มในสมัยมณฑลปัตตานีมีโรงเรียนแห่งเดียวคือ "โรงเรียนตัวอย่างมณฑล" ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนเบญจมราชูทิศจังหวัดปัตตานีดังนั้นทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิงและนักเรียนหญิงต้องมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนตัวอย่างมณฑลสมัยนั้นหาครูสตรีมาสอนค่อนข้างยากจึงมีนักเรียนมาเรียนน้อยมีมาสมทบเรียนที่โรงเรียนตัวอย่างมณฑลเพียงไม่กี่คนเท่านั้นต่อมาผู้ปกครองเริ่มเห็นความสำคัญของการศึกษาจึงยอมให้นักเรียนหญิงเข้าเรียนมากขึ้นคุณหญิงแหม่มมองเห็นว่าควรจะแยกโรงเรียนสำหรับสตรีโดยเฉพาะจึนได้ชักชวนข้าราชการพ่อค้าคหบดีและประชาชนในจังหวัดปัตตานีสมัยนั้นมาร่วมกันตั้งโรงเรียนสตรีขึ้นในระยะเวลาแรกต้องใช้บ้านพักสำหรับข้าราชการต่างมณฑลซึ่งอยู่ใกล้จวนสมุหเทศาภิบาลเป็นสถานที่เรียนเริ่มเปิดโรงเรียนสำหรับสตรีครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคมพ.ศ 2456 มี "ครูใหญ่" ซึ่งเป็นบุตรีของคุณหญิงแหม่มแผ่นครูสอนในสมัยนั้น "คุณใหญ่" เรียนสำเร็จมาจากโรงเรียนเซ็นต์โยเซฟคอนแวนต์กรุงเทพฯ ในสมัยนั้นมีขุนพิบูย์พิทยาพรรคเป็นธรรมการจังหวัดปัตตานีและมีมหาอำมาตย์เองพระยาวิสุทธสุริยศักดิ์เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการโรงเรียนสตรีมณฑลปัตตานีได้เปิดสอนอย่างไม่เป็นทางการอยู่เดือนกว่า ๆ จึงได้เปิดสอนอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 15 สิงหาคมพ.ศ 2456 จัดการเรียนการสอนโดยอาศัยที่ของรัฐบาลหลายแห่งเป็นสถานที่เรียนจนกระทั่งถึงพ.ศ 2465 พระยาเดชานุชิตและคุณหญิงแหม่มจึงได้หาเงินมาสร้างอาคารเรียนของโรงเรียนให้เป็นการถาวรโดยได้รับความร่วมมือจากข้าราชการพ่อค้าคหบดีของจังหวัดปัตตานีเป็นอย่างดีโรงเรียนสตรีมณฑลปัตตานีจึงได้มีสถานที่เรียนเป็นการถาวรที่ถนนสะบารังตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาพระยาเดชานุชิตและคุณหญิงแหม่มได้ขอให้กระทรวงธรรมการในสมัยนั้นเป็นผู้ตั้งชื่อของโรงเรียนใหม่ดังมีรายละเอียดปรากฏในหนังสือราชการที่พระยาเดชานุชิตสมุหเทษาภิบาลมณฑลปัตตานีมีไปถึงเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มาตรีเสนาบดีกระทรวงธรรมการเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคมพ.ศ. 2465 มีใจความตอนหนึ่งว่าด้วยโรงเรียนสตรีมลฑลปัตตานีได้เริ่มเปิดสอนมาครั้งแรกตั้งแต่พ.ศ. 2465 อาศัยสถานที่เรียนของรัฐบาลหลายแห่งเป็นที่สั่งสอนคุณหญิงเดชานุชิตผู้อุปการะได้ตั้งใจที่จะขยายสถานที่ให้เป็นที่สง่าผ่าเผยกว้างขวางสืบไปจึงได้เริ่มบอกบุญแก่บรรดาข้าราชการราษฏรในมณฑลปัตตานีได้เงินเป็นก้อนหนึ่งแต่หาพอกับการปลูกสร้างไม่จึงได้จ่ายเงินบำรุงการศึกษาที่มีเหลืออยู่รวมกันเข้าได้เงิน 125000 บาทว่าจ้างช่างรับเหมาปลูกสร้างขึ้นเป็นรูปตึก 2 ชั้นขนาดกล้าง 10 เมตรยาว 14 เมตรแบ่งเป็นห้องเรียน 8 ห้องบัดนี้โรงเรียนหลังนี้ได้ปลูกสร้างจวนจะเสร็จอยู่แล้วข้าพเจ้าจะกำหนดเปิดและทำบุญฉลองในราวต้นตุลาคมพ.ศ. 2465 ข้าพเจ้าและท่านผู้มีอุปการะประสงค์จะให้มีชื่ออันเป็นมงคลแก่ตึกหลังนี้เพื่อเป็นเกียรติประวัติการสืบไปเพราะฉะนั้นข้าพเจ้าขอความกรุณาเป็นที่พึ่งขอให้กระทรวงธรรมการตั้งนามตึกอันเป็นโรงเรียนสตรีนี้ต่อไปด้วย...เสนาบดีกระทรวงธรรมการคือเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีได้ให้ชื่อโรงเรียนสตรีแห่นี้ชื่อว่า "เดชะปัตตนยานุกูล" ทั้งนี้เพื่อนเป็นอนุสรณ์แก่พระยาเดชานุชิตและคุณหญิงแหม่มในฐานะที่เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งและเป็นผู้อุปการะโรงเรียนมาโดยตัดเอาคำ "เดชา" ตั้งแต่ครั้งนั้นเป็นต้นมาและมีขุนวิลาศจรรยา (นายทองสุขสุขพลินท์) เป็นผู้บริหารโรงเรียนคนแรกเมื่อพ.ศ. บรรพจนถึงพ.ศ. 2486 กรมสามัญศึกษาได้ตั้งงบประมาณให้จัดสร้างโรงเรียนแห่งนี้ใหม่นายสุชาติบุญยรัตรพันธ์ผู้ว่าราชการจัดหวัดปัตตานีในสมัยนั้นได้เอาที่ดินราชพัสดุเนื้อที่ 19 ไร่ 2 งาน 6 ตารางวาเป็นที่ตั้งโรงเรียน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติของตำแหน่งเดชะ: เป็นคำที่ตัดย่อมาจากนามพระยาเดชานุชิตสมุหเทศาภิบาลมณฑล : สถานที่ตั้งกับคำว่าอนุกูลหมายถึงการให้ความช่วยเหลือโรงเรียนเดชะปัตตนยากูลเดิมมีชื่อเรียกกันว่า "โรงเรียนสตรีมณฑลปัตตานี" ผู้ที่ริเริ่มตั้งโรงเรียนนี้คือคุณหญิงเดชานุชิตภรรยาของมหาอำมาตย์ตรีพระยาเดชา นุชิตสมุหเทศาภิบาลสำเร็จราชการมณฑลปัตตานี ในนามคุณหญิงแหม่ม และนักเรียนหญิงและนักเรียนหญิงต้องมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนตัวอย่างมณฑล ที่โรงเรียนตัวอย่างมณฑล ให้นักเรียนหญิงเข้าเรียนมากขึ้นคุณหญิงแหม่ม จึนได้ชักชวนข้าราชการพ่อค้าคหบดีและประชาชนในจังหวัดปัตตานีสมัยนั้นมาส่วนตัวกันตั้งตำแหน่งสตรีขึ้นใน ซึ่งอยู่ใกล้จวนสมุหเทศาภิบาลเป็นสถานที่เรียนเริ่มเปิด 4 กรกฎาคมพ. ศ 2456 มี "ครูใหญ่" ซึ่งเป็นบุตรีของคุณหญิงแหม่มแผ่นครูสอนในสมัยนั้น คอนแวนต์กรุงเทพฯในสมัยนั้นมีขุนพิบูย์พิทยาพรรคเป็นธรรมการจังหวัดปัตตานีและมีมหาอำมาตย์เองพระยาวิสุทธสุริยศักดิ์ ได้เปิดสอนอย่างไม่เป็นทางการอยู่เดือนกว่า ๆ 15 สิงหาคมพ. ศ 2456 จัดการเรียนการสอน พ. ศ 2465 พระยาเดชานุชิตและคุณหญิงแหม่ม โดยได้รับความร่วมมือจากข้าราชการพ่อค้าคหบดีของจังหวัดปัตตานีเป็นอย่างดีโรงเรียนสตรีมณฑล ถนนสะบารัง และคุณหญิงแหม่ม ดังมีรายละเอียดปรากฏใน มีไปถึงเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มาตรีเสนาบดีกระทรวงธรรมการเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2465 มีใจความตอนหนึ่งว่าด้วยโรงเรียนสตรีมลฑลปัตตานีได้เริ่มเปิดสอนมาครั้งแรกตั้งแต่ พ.ศ. 2465 คุณหญิงเดชานุชิต กว้างขวางสืบไป ราษฏรในมณฑลปัตตานีได้เงินเป็นก้อนหนึ่ง แต่หาพอกับการปลูกสร้างไม่จึงได้จ่ายเงินบำรุงการศึกษาที่มีเหลืออยู่รวมกันเข้าได้เงิน 125,000 บาท 2 ชั้นขนาดกล้าง 10 เมตรยาว 14 เมตรแบ่งเป็นห้องเรียน 8 ตุลาคม พ.ศ. 2465 เพื่อเป็นเกียรติประวัติ นามตึกอันเป็น คือเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี "เดชะปัตตนยานุกูล" (นายทองสุขสุขพลินท์) เป็นผู้บริหารโรงเรียนคนแรกเมื่อ พ.ศ. 2472 จนถึง พ.ศ. 2486 กรมสามัญศึกษาได้ตั้งงบประมาณให้จัดสร้างโรงเรียนแห่งนี้ใหม่นายสุชาติบุญยรัตรพันธ์ 19 ไร่ 2 งาน 6 ตารางวาเป็นที่ตั้งโรงเรียน









การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติของโรงเรียน

เดชะ : เป็นคำที่ตัดย่อมาจากนามพระยาเดชานุชิตสมุหเทศาภิบาลมณฑลปัตตานีผู้ริเริ่มก่อตั้งโรงเรียน

ปัตตนยานุกูล :เกิดจากการสนธิกันของคำว่าปัตตานีซึ่งมีความหมายสถานที่ตั้งกับคำว่าอนุกูลหมายถึงการให้ความช่วยเหลือโรงเรียนเดชะปัตตนยากูลเดิมมีชื่อเรียกกันว่า " โรงเรียนสตรีมณฑลปัตตานี " ผู้ที่ริเริ่มตั้งโรงเรียนนี้คุณหญิงเดชานุชิตภรรยาของมหาอำมาตย์ตรีพระยาเดชานุชิตสมุหเทศาภิบาลสำเร็จราชการมณฑลปัตตานีในขณะนั้นซึ่งชาวเมืองปัตตานีรู้จักคุณหญิงเดชานุชิตในนามคุณหญิงแหม่มในสมัยมณฑลปัตตานีมีโรงเรียนแห่งเดียวคือโรงเรียนเบญจมราชูทิศจังหวัดปัตตานี

ดังนั้นทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิงและนักเรียนหญิงต้องมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนตัวอย่างมณฑลสมัยนั้นหาครูสตรีมาสอนค่อนข้างยากจึงมีนักเรียนมาเรียนน้อยมีมาสมทบเรียนที่โรงเรียนตัวอย่างมณฑลให้นักเรียนหญิงเข้าเรียนมากขึ้นคุณหญิงแหม่มมองเห็นว่าควรจะแยกโรงเรียนสำหรับสตรีโดยเฉพาะจึนได้ชักชวนข้าราชการพ่อค้าคหบดีและประชาชนในจังหวัดปัตตานีสมัยนั้นมาร่วมกันตั้งโรงเรียนสตรีขึ้น

the ระยะเวลาแรกต้องใช้บ้านพักสำหรับข้าราชการต่างมณฑลซึ่งอยู่ใกล้จวนสมุหเทศาภิบาลเป็นสถานที่เรียนเริ่มเปิดโรงเรียนสำหรับสตรีครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคมพ .ศ 2456 คอนโด " ครูใหญ่ " ซึ่งเป็นบุตรีของคุณหญิงแหม่มแผ่นครูสอนในสมัยนั้น " คุณใหญ่ " เรียนสำเร็จมาจากโรงเรียนเซ็นต์โยเซฟคอนแวนต์กรุงเทพฯในสมัยนั้นมีขุนพิบูย์พิทยาพรรคเป็นธรรมการจังหวัดปัตตานีและมีมหาอำมาตย์เองวิสุทธสุริยศักดิ์เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการโรงเรียนสตรีมณฑลปัตตานีได้เปิดสอนอย่างไม่เป็นทางการอยู่เดือนกว่าๆ 15 จึงได้เปิดสอนอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่สิงหาคมพ .ศ 2456 จัดการเรียนการสอนโดยอาศัยที่ของรัฐบาลหลายแห่งเป็นสถานที่เรียนจนกระทั่งถึงพ .ศของพระยาเดชานุชิตและคุณหญิงแหม่มจึงได้หาเงินมาสร้างอาคารเรียนของโรงเรียนให้เป็นการถาวรโดยได้รับความร่วมมือจากข้าราชการพ่อค้าคหบดีของจังหวัดปัตตานีเป็นอย่างดีโรงเรียนสตรีมณฑลถนนสะบารังตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาพระยาเดชานุชิตและคุณหญิงแหม่มได้ขอให้กระทรวงธรรมการในสมัยนั้นเป็นผู้ตั้งชื่อของโรงเรียนใหม่ดังมีรายละเอียดปรากฏในมีไปถึงเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มาตรีเสนาบดีกระทรวงธรรมการเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคมพ .ศ . ของมีใจความตอนหนึ่งว่าด้วยโรงเรียนสตรีมลฑลปัตตานีได้เริ่มเปิดสอนมาครั้งแรกตั้งแต่พ . ศ .ของอาศัยสถานที่เรียนของรัฐบาลหลายแห่งเป็นที่สั่งสอนคุณหญิงเดชานุชิตผู้อุปการะได้ตั้งใจที่จะขยายสถานที่ให้เป็นที่สง่าผ่าเผยกว้างขวางสืบไปจึงได้เริ่มบอกบุญแก่บรรดาข้าราชการราษฏรในมณฑลปัตตานีแต่หาพอกับการปลูกสร้างไม่จึงได้จ่ายเงินบำรุงการศึกษาที่มีเหลืออยู่รวมกันเข้าได้เงิน 125000 บาทว่าจ้างช่างรับเหมาปลูกสร้างขึ้นเป็นรูปตึก 2 ชั้นขนาดกล้าง 10 เมตรยาว 14 เมตรแบ่งเป็นห้องเรียนห้อง

8บัดนี้โรงเรียนหลังนี้ได้ปลูกสร้างจวนจะเสร็จอยู่แล้วข้าพเจ้าจะกำหนดเปิดและทำบุญฉลองในราวต้นตุลาคมพ . ศ .ข้าพเจ้าและท่านผู้มีอุปการะประสงค์จะให้มีชื่ออันเป็นมงคลแก่ตึกหลังนี้เพื่อเป็นเกียรติประวัติการสืบไปเพราะฉะนั้นข้าพเจ้าขอความกรุณาเป็นที่พึ่งขอให้กระทรวงธรรมการตั้งนามตึกอันเป็น 2465. . . . . . .เสนาบดีกระทรวงธรรมการความเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีได้ให้ชื่อโรงเรียนสตรีแห่นี้ชื่อว่า " เดชะปัตตนยานุกูล " ทั้งนี้เพื่อนเป็นอนุสรณ์แก่พระยาเดชานุชิตและคุณหญิงแหม่มในฐานะที่เป็นผู้ตั้งแต่ครั้งนั้นเป็นต้นมาและมีขุนวิลาศจรรยา ( นายทองสุขสุขพลินท์ ) เป็นผู้บริหารโรงเรียนคนแรกเมื่อพ .ศ . . จนถึงพ . ศ .2486 กรมสามัญศึกษาได้ตั้งงบประมาณให้จัดสร้างโรงเรียนแห่งนี้ใหม่นายสุชาติบุญยรัตรพันธ์ผู้ว่าราชการจัดหวัดปัตตานีในสมัยนั้นได้เอาที่ดินราชพัสดุเนื้อที่ 19 ไร่ 2 งาน 6 ตารางวาเป็นที่ตั้งโรงเรียน
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: