แผลกดทับหรือความดันแผล เป็นแผลที่เกิดจากการบาดเจ็บที่ผิวหนัง และเนื้อเ การแปล - แผลกดทับหรือความดันแผล เป็นแผลที่เกิดจากการบาดเจ็บที่ผิวหนัง และเนื้อเ ไทย วิธีการพูด

แผลกดทับหรือความดันแผล เป็นแผลที่เก

แผลกดทับหรือความดันแผล เป็นแผลที่เกิดจากการบาดเจ็บที่ผิวหนัง และเนื้อเยื่อที่เกิดจากการที่ผิวอยู่ภายใต้ความกดดันเป็นเวลานาน ส่วนใหญ่มักจะเกิดบริเวณผิวที่ปกคลุมกระดูกของร่างกาย เช่น สะโพก ส้นเท้า ข้อเท้า กระดูกก้นกบ เป็นต้น การดูแลและรักษาแผลกดทับเป็นสิ่งที่สำคัญมากเนื่องจากต้องเฝ้าระวังเรื่องความสะอาดของแผลและการติดเชื้อ ซึ่งอาจทำให้แผลมีความรุนแรงมากขึ้น

บริเวณที่พบบ่อยของแผลกดทับในผู้ป่วยที่ใช้รถเข็น

– ก้นกบ หรือแก้มก้น

– หัวไหล่และกระดูกสันหลัง

– ด้านหลังของแขน และขาที่มีการพักบนเก้าอีก

บริเวณที่พบบ่อยของแผลกดทับในผู้ป่วยที่ติดเตียง

– ด้านหลังหรือด้านข้างของศีรษะ

-ขอบหูหรือใบหู

– สะโพกแผ่นหลังด้านล่าง หรือก้นกบ

– ส้นเท้า ข้อเท้า ผิวบริเวณข้อพับด้านหลังหัวเข่า

สาเหตุของการเกิดแผลกดทับ

– ผิวมีการกดทับอย่างต่อเนื่อง เมื่อผิวที่ห่อหุ้มกระดูกอยู่ติดกับพื้นผิวอื่น เช่น รถเข็น เตียง ความดันในการไหลเวียนของ

เส้นเลือดฝอยที่ทำหน้าที่ส่งอ็อกซิเจน และสารอาหารอื่นๆไปยังเนื้อเยื่อ หากเส้นเลือดฝอยไม่สามารถไหลเวียนได้สะดวก

จะทำให้เซลล์ผิว และเนื้อเยื่อได้รับความเสียหาย หรือเกิดเนื้อตายได้ในที่สุด

– แรงเสียดทาน คือแรงเสียดทานความต้านทานต่อการเคลื่อนไหวอาจเกิดขึ้นเมื่อผิวลากไปบนพื้นผิวอื่น เช่น เมื่อมีการเปลี่ยน

ตำแหน่ง หรือผู้ดูแลทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หากผิวมีความชื้นจะทำให้แรงเสียดทานจากการเคลื่อนย้ายมีมากขึ้น อาจทำให้ผิวที่มี
ความบอบบางเสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ หรือเกิดบาดแผลได้


– แรงเฉือนหรือแรงตัด จะเกิดขึ้นเมื่อสองพื้นผิวไปในทิศทางตรงข้ามกัน เช่น เมื่อเตียงในโรงพยาบาลมีการยกระดับสูงขึ้นศีรษะ

จะเลื่อนลงไปในเตียง ทำให้กระดูกก้นกบเลื่อนลงมากดทับผิว การเคลื่อนไหวนี้อาจทำร้ายเนื้อเยื่อ และหลอดเลือด ซึ่งเสี่ยงที่จะ

เกิดความเสียหายจากความดันอย่างต่อเนื่อง

กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ

– บุคคลทั่วไปที่มีสภาพร่างกายอ่อนแอ หรือสุขภาพไม่ดี

– ผู้ป่วยอัมพาต

– การได้รับบาดเจ็บหรือผู้ป่วยที่ต้องนอนพักผ่อนหรือการใช้รถเข็นเป็นเวลานาน

– ผู้ป่วยพักฟื้นหลังการผ่าตัด

– ผู้ป่วยที่มีอาการโคม่า

– ผู้สูงอายุ เพราะผิวของผู้สูงอายุโดยทั่วไปจะมีความยืดยุ่นน้อยลง และผิวแห้งกว่าวัยอื่นๆ นอกจากนี้ผู้สูงอายุจะมีการผลิตเซลล์

ใหม่ช้า ทำให้ผิวของผู้สูงอายุมีความเสี่ยงที่จะเกิดแผลกดทับ โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่ลุก ยืน เดินลำบาก

– ผู้ป่วยที่ขาดการรับรู้ทางประสาทสัมผัส

ทีมแพทย์ในการดูแล และรักษาแผลกดทับ จะต้องใช้หลากหลายสาขาวิชาชีพเข้ามาเป็นทีม ซึ่งสมาชิกของทีม

การดูแลและรักษาแผลกดทับ ได้แก่

– แพทย์ดูแลหลักที่ดูแลการวางแผนการการดูแล และรักษาแผลกดทับ

– แพทย์ที่เชี่ยวชาญในการดูแลแผล

– พยาบาลหรือผู้ช่วยแพทย์ที่ให้ทั้งการดูแลและการศึกษาสำหรับการจัดการแผลกดทับ

– นักการภาพบำบัด

– นักโภชนาการที่จะตรวจสอบความต้องการทางโภชนาการ และแนะนำการรับประทานอาหารที่เหมาะสม

– ศัลยแพทย์ผ่าตัดกระดูก หรือศัลยแพทย์ตกแต่ง ขึ้นอยู่กับการผ่าตัดแต่ละชนิด


การดูแล และรักษาแผลกดทับ

การลดการกดทับหรือความดันแผล

1. หากมีแผลกดทับ หรือผิวที่กำลังจะเป็นแผลกดทับที่เป็นแผลเปิด จะต้องมีการปรับเปลี่ยนอิริยาบถอยู่เสมอ และอยู่ในตำแหน่ง

ที่ถูกต้อง

2. หากใช้รถเข็นให้ลองขยับ หรือผลัดเปลี่ยนการลงน้ำหนักตัวทุก 15 นาที หรือมากกว่านั้น และมีการใช้เบาะรอง

3. ขอความช่วยเหลือเกี่ยวกับการจัดตำแหน่ง หรือท่าทางทุกชั่วโมง

4. หากต้องนอนบนเตียงนานๆ ควรเลือกใช้เตียงนอน และหมอนอิงพิเศษในการดูแลรักษาแผลกดทับ เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยอยู่ใน

ตำแหน่งและระดับที่เหมาะสม ลดการกดทับของแผลและช่วยปกป้องผิวที่มีช่องโหว่

5. หากมีความแข็งแรงของร่างกายส่วนบนพอ ให้ลองเปลี่ยนตำแหน่งโดยการใช้อุปกรณ์ที่หลากหลาย เช่น บาร์ห้อยโหน ผู้ที่

ให้การดูแลสามารถใช้ผ้าปูเตียงที่จะช่วยยก และปรับเปลี่ยนตำแหน่งผู้ป่วยได้

ทำความสะอาดบาดแผล เป็นสิ่งจำเป็นในการดูแล และรักษาแผลกดทับ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ หากผิวไม่มีการแตกให้ล้างเบาๆ

ด้วยน้ำ และสบู่อ่อนๆ ซับเบาๆให้แห้ง ทำความสะอาดแผลเปิดด้วยน้ำเกลือ

การกำจัดเนื้อเยื่อที่เสียหาย บาดแผลจะต้องไม่มีเนื้อเยื่อที่ตายหรือติดเชื้อ โดยการตัดเนื้อเยื่อที่ตายแล้ว ขึ้นอยู่กับความรุนแรง

ของแผลและสภาพโดยรวมของแผล
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
แผลกดทับหรือความดันแผลเป็นแผลที่เกิดจากการบาดเจ็บที่ผิวหนังและเนื้อเยื่อที่เกิดจากการที่ผิวอยู่ภายใต้ความกดดันเป็นเวลานานส่วนใหญ่มักจะเกิดบริเวณผิวที่ปกคลุมกระดูกของร่างกายเช่นสะโพกส้นเท้าข้อเท้ากระดูกก้นกบเป็นต้นการดูแลและรักษาแผลกดทับเป็นสิ่งที่สำคัญมากเนื่องจากต้องเฝ้าระวังเรื่องความสะอาดของแผลและการติดเชื้อซึ่งอาจทำให้แผลมีความรุนแรงมากขึ้น บริเวณที่พบบ่อยของแผลกดทับในผู้ป่วยที่ใช้รถเข็น – ก้นกบหรือแก้มก้น– หัวไหล่และกระดูกสันหลัง– ด้านหลังของแขนและขาที่มีการพักบนเก้าอีกบริเวณที่พบบ่อยของแผลกดทับในผู้ป่วยที่ติดเตียง– ด้านหลังหรือด้านข้างของศีรษะ-ขอบหูหรือใบหู– สะโพกแผ่นหลังด้านล่างหรือก้นกบ– ส้นเท้าข้อเท้าผิวบริเวณข้อพับด้านหลังหัวเข่าสาเหตุของการเกิดแผลกดทับ– ผิวมีการกดทับอย่างต่อเนื่องเมื่อผิวที่ห่อหุ้มกระดูกอยู่ติดกับพื้นผิวอื่นเช่นรถเข็นเตียงความดันในการไหลเวียนของเส้นเลือดฝอยที่ทำหน้าที่ส่งอ็อกซิเจนและสารอาหารอื่นๆไปยังเนื้อเยื่อหากเส้นเลือดฝอยไม่สามารถไหลเวียนได้สะดวกจะทำให้เซลล์ผิวและเนื้อเยื่อได้รับความเสียหายหรือเกิดเนื้อตายได้ในที่สุด– แรงเสียดทานคือแรงเสียดทานความต้านทานต่อการเคลื่อนไหวอาจเกิดขึ้นเมื่อผิวลากไปบนพื้นผิวอื่นเช่นเมื่อมีการเปลี่ยนตำแหน่งหรือผู้ดูแลทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยหากผิวมีความชื้นจะทำให้แรงเสียดทานจากการเคลื่อนย้ายมีมากขึ้นอาจทำให้ผิวที่มีความบอบบางเสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บหรือเกิดบาดแผลได้– แรงเฉือนหรือแรงตัดจะเกิดขึ้นเมื่อสองพื้นผิวไปในทิศทางตรงข้ามกันเช่นเมื่อเตียงในโรงพยาบาลมีการยกระดับสูงขึ้นศีรษะจะเลื่อนลงไปในเตียงทำให้กระดูกก้นกบเลื่อนลงมากดทับผิวการเคลื่อนไหวนี้อาจทำร้ายเนื้อเยื่อและหลอดเลือดซึ่งเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายจากความดันอย่างต่อเนื่องกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ– บุคคลทั่วไปที่มีสภาพร่างกายอ่อนแอหรือสุขภาพไม่ดี– ผู้ป่วยอัมพาต– การได้รับบาดเจ็บหรือผู้ป่วยที่ต้องนอนพักผ่อนหรือการใช้รถเข็นเป็นเวลานาน– ผู้ป่วยพักฟื้นหลังการผ่าตัด– ผู้ป่วยที่มีอาการโคม่า– ผู้สูงอายุเพราะผิวของผู้สูงอายุโดยทั่วไปจะมีความยืดยุ่นน้อยลงและผิวแห้งกว่าวัยอื่น ๆ นอกจากนี้ผู้สูงอายุจะมีการผลิตเซลล์ใหม่ช้าทำให้ผิวของผู้สูงอายุมีความเสี่ยงที่จะเกิดแผลกดทับโดยเฉพาะผู้สูงอายุที่ลุกยืนเดินลำบาก– ผู้ป่วยที่ขาดการรับรู้ทางประสาทสัมผัสทีมแพทย์ในการดูแลและรักษาแผลกดทับจะต้องใช้หลากหลายสาขาวิชาชีพเข้ามาเป็นทีมซึ่งสมาชิกของทีมการดูแลและรักษาแผลกดทับได้แก่– แพทย์ดูแลหลักที่ดูแลการวางแผนการการดูแลและรักษาแผลกดทับ– แพทย์ที่เชี่ยวชาญในการดูแลแผล– พยาบาลหรือผู้ช่วยแพทย์ที่ให้ทั้งการดูแลและการศึกษาสำหรับการจัดการแผลกดทับ– นักการภาพบำบัด– นักโภชนาการที่จะตรวจสอบความต้องการทางโภชนาการและแนะนำการรับประทานอาหารที่เหมาะสม– ศัลยแพทย์ผ่าตัดกระดูกหรือศัลยแพทย์ตกแต่งขึ้นอยู่กับการผ่าตัดแต่ละชนิดการดูแลและรักษาแผลกดทับการลดการกดทับหรือความดันแผล 1. หากมีแผลกดทับหรือผิวที่กำลังจะเป็นแผลกดทับที่เป็นแผลเปิดจะต้องมีการปรับเปลี่ยนอิริยาบถอยู่เสมอและอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง 2. หากใช้รถเข็นให้ลองขยับหรือผลัดเปลี่ยนการลงน้ำหนักตัวทุก 15 นาทีหรือมากกว่านั้นและมีการใช้เบาะรอง3. ขอความช่วยเหลือเกี่ยวกับการจัดตำแหน่งหรือท่าทางทุกชั่วโมง 4. หากต้องนอนบนเตียงนาน ๆ ควรเลือกใช้เตียงนอนและหมอนอิงพิเศษในการดูแลรักษาแผลกดทับเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยอยู่ในตำแหน่งและระดับที่เหมาะสมลดการกดทับของแผลและช่วยปกป้องผิวที่มีช่องโหว่ 5. หากมีความแข็งแรงของร่างกายส่วนบนพอให้ลองเปลี่ยนตำแหน่งโดยการใช้อุปกรณ์ที่หลากหลายเช่นบาร์ห้อยโหนผู้ที่ให้การดูแลสามารถใช้ผ้าปูเตียงที่จะช่วยยกและปรับเปลี่ยนตำแหน่งผู้ป่วยได้ทำความสะอาดบาดแผลเป็นสิ่งจำเป็นในการดูแลและรักษาแผลกดทับเพื่อป้องกันการติดเชื้อหากผิวไม่มีการแตกให้ล้างเบา ๆ ด้วยน้ำและสบู่อ่อน ๆ ซับเบาๆให้แห้งทำความสะอาดแผลเปิดด้วยน้ำเกลือ การกำจัดเนื้อเยื่อที่เสียหายบาดแผลจะต้องไม่มีเนื้อเยื่อที่ตายหรือติดเชื้อโดยการตัดเนื้อเยื่อที่ตายแล้วขึ้นอยู่กับความรุนแรงของแผลและสภาพโดยรวมของแผล
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
แผลกดทับหรือความดันแผล เช่นสะโพกส้นเท้าข้อเท้ากระดูกก้นกบ เป็นต้น ก้นกบหรือแก้มก้น- หัวไหล่และกระดูกสันหลัง- ด้านหลังของแขน สะโพกแผ่นหลังด้านล่างหรือก้นกบ- ส้นเท้าข้อเท้า ผิวมีการกดทับอย่างต่อเนื่อง เช่นรถเข็นเตียง และสารอาหารอื่น ๆ ไปยังเนื้อเยื่อ และเนื้อเยื่อได้รับความเสียหายหรือเกิด เนื้อตายได้ในที่สุด - แรงเสียดทาน เมื่อมีเช่นหัวเรื่อง: การเปลี่ยนตำแหน่งสมัคร หรือเกิดบาดแผลได้- แรงเฉือนหรือแรงตัด เช่น และหลอดเลือด บุคคลทั่วไปที่มีสภาพร่างกายอ่อนแอหรือ สุขภาพไม่ดี - ผู้ป่วยอัมพาต- ผู้ป่วยพักฟื้นหลังการผ่าตัด- ผู้ป่วยที่มีอาการโคม่า- ผู้สูงอายุ และผิวแห้งกว่าวัยอื่น ๆ โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่ลุกยืนเดิน ลำบาก - และรักษาแผลกดทับ ได้แก่- และรักษาแผลกดทับ- แพทย์ที่เชี่ยวชาญในการดูแลแผล- นักการภาพบำบัด- ศัลยแพทย์ผ่าตัดกระดูกหรือศัลยแพทย์ตกแต่ง หากมีแผลกดทับ ขณะนี้ในห้างหุ้นส่วนจำกัดและตำแหน่งสมัครที่ถูกคุณต้อง2 หากใช้รถเข็นให้ลองขยับหรือ ผลัดเปลี่ยนการลงน้ำหนักตัวทุก 15 นาทีหรือมากกว่านั้นและมีการใช้ เบาะรอง 3 หรือท่าทางทุกชั่วโมง4 หากต้องนอนบนเตียงนาน ๆ ควร เลือกใช้เตียงนอน เช่นบาร์ห้อยโหน เป็นสิ่งจำเป็นในการดูแลและรักษา แผลกดทับเพื่อป้องกันการติดเชื้อ และสบู่อ่อน ๆ ซับเบา ๆ ให้ แห้ง โดยการตัดเนื้อเยื่อที่ตายแล้ว





































































































การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: