โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา โรงเรียนที่เก่าแก่ที่สุดของจังหวัดยะ การแปล - โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา โรงเรียนที่เก่าแก่ที่สุดของจังหวัดยะ ไทย วิธีการพูด

โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา โ

โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา โรงเรียนที่เก่าแก่ที่สุดของจังหวัดยะลา แรกเริ่มโรงเรียนนี้ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 3 บ้านลิมุดตำบลท่าสาป เมื่อ พ.ศ. 2452 เปิดสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยมีอาคารเรียนเป็นอาคารโรงจาก ฝาไม้ไผ่ และขยายชั้นเรียนในปีต่อๆ มาจนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยมี รองอำมาตย์ตรี สด สุขหุต เป็นครูใหญ่คนแรก ประมาณ พ.ศ. 2455 พระยาณรงค์ฤทธิ์ศรีประเทศเศษวังษา เจ้าเมืองยะลาในสมัยนั้น ได้มอบเงินจำนวนหนึ่งให้สร้างโรงเรียนใหม่ที่ฝั่งขวาของแม่น้ำปัตตานี ซึ่งเป็นฝั่งเดียวกับที่ตั้งศาลากลาง จังหวัดยะลา ในสมัยนั้น คือ หมู่บ้านสะเตง และย้าย โรงเรียนมาจาก บ้านลิมุด ในปี พ.ศ. 2456 และ ขนานนามโรงเรียนว่า "โรงเรียนณรงค์ฤทธิ์ยะลาราษฎร์บำรุง" และขยายชั้นเรียนเพิ่มขึ้นทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2456 ถึง พ.ศ. 2478 จัดสอนเป็น 2 ระดับคือ ระดับประถมศึกษา มีชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษามีชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

ปี พ.ศ. 2479 โรงเรียนมีชั้นเรียน 8 ชั้น เป็นชั้นประถมศึกษา 4 ชั้น คือชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 และชั้น มัธยมศึกษา 4 ชั้น คือ ชั้นมัธยมศึกษาปีที 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวนนักเรียนมีมากจนสถานที่เรียนไม่เพียงพอ และคับแคบ เมื่อได้รับงบประมาณแผ่นดิน จำนวน 6,000 บาท และเงินสบทบของ"สาขาสมาคมคณะราษฎร์จังหวัดยะลา" อีก 2,000 บาท จึงมาสร้างโรงเรียนใหม่ที่หมู่บ้านนิบง ตำบลสะเตง อำเภอเมืองยะลา คือ ที่ตั้งโรงเรียนปัจจุบัน สร้างอาคารเรียนถาวรเป็นอาคารไม้ 2 ชั้น มี 6 ห้องเรียน และห้องมุขขนาดใหญ่ใช้เป็นห้องเรียนได้อีก 2 ห้อง สิ้นเงินงบก่อนสร้าง 8,000 บาท แล้วได้ย้ายโรงเรียนมาใน ปี พ.ศ. 2480 ทำพิธีเปิดป้ายชื่อโรงเรียน เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2480 ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนใหม่ว่า "โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง " เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตั้งแต่ชั้นมัธยมปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2496 กรมวิสามัญศึกษา ได้ประกาศปรับปรุงชื่อโรงเรียนเสียใหม่ทั่วประเทศ เพื่อความเหมาะสม จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา"
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
โรงเรียนคณะราษฎรบำรุงจังหวัดยะลาโรงเรียนที่เก่าแก่ที่สุดของจังหวัดยะลาแรกเริ่มโรงเรียนนี้ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 3 บ้านลิมุดตำบลท่าสาปเมื่อพ.ศ. 2452 เปิดสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยมีอาคารเรียนเป็นอาคารโรงจากฝาไม้ไผ่และขยายชั้นเรียนในปีต่อ ๆ มาจนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยมีรองอำมาตย์ตรีสดสุขหุตเป็นครูใหญ่คนแรกประมาณพ.ศ. 2455 พระยาณรงค์ฤทธิ์ศรีประเทศเศษวังษาเจ้าเมืองยะลาในสมัยนั้นได้มอบเงินจำนวนหนึ่งให้สร้างโรงเรียนใหม่ที่ฝั่งขวาของแม่น้ำปัตตานีซึ่งเป็นฝั่งเดียวกับที่ตั้งศาลากลางจังหวัดยะลา ในสมัยนั้นคือหมู่บ้านสะเตงและย้ายโรงเรียนมาจากบ้านลิมุดในปีพ.ศ. 2456 และขนานนามโรงเรียนว่า "โรงเรียนณรงค์ฤทธิ์ยะลาราษฎร์บำรุง" และขยายชั้นเรียนเพิ่มขึ้นทุกปีตั้งแต่พ.ศ. 2456 ถึงพ.ศ. 2478 จัดสอนเป็น 2 ระดับคือระดับประถมศึกษามีชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษามีชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4ปีพ.ศ. 2479 โรงเรียนมีชั้นเรียน 8 ชั้นเป็นชั้นประถมศึกษา 4 ชั้นคือชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และชั้นมัธยมศึกษา 4 ชั้นคือชั้นมัธยมศึกษาปีที 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวนนักเรียนมีมากจนสถานที่เรียนไม่เพียงพอและคับแคบเมื่อได้รับงบประมาณแผ่นดินจำนวน 6000 บาทและเงินสบทบของ "สาขาสมาคมคณะราษฎร์จังหวัดยะลา" อีก 2000 บาทจึงมาสร้างโรงเรียนใหม่ที่หมู่บ้านนิบงตำบลสะเตงอำเภอเมืองยะลาคือที่ตั้งโรงเรียนปัจจุบันสร้างอาคารเรียนถาวรเป็นอาคารไม้ 2 ชั้นมี 6 ห้องเรียนและห้องมุขขนาดใหญ่ใช้เป็นห้องเรียนได้อีก 2 ห้องสิ้นเงินงบก่อนสร้าง 8000 บาทแล้วได้ย้ายโรงเรียนมาในปีพ.ศ. 2480 ทำพิธีเปิดป้ายชื่อโรงเรียนเมื่อวันที่ 22 มิถุนายนพ.ศ. 2480 ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนใหม่ว่า "โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง" เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตั้งแต่ชั้นมัธยมปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ต่อมาประมาณปีพ.ศ. 2496 กรมวิสามัญศึกษาได้ประกาศปรับปรุงชื่อโรงเรียนเสียใหม่ทั่วประเทศเพื่อความเหมาะสมจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนคณะราษฎรบำรุงจังหวัดยะลา"
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
โรงเรียนคณะราษฎรบำรุงจังหวัดยะลา แรกเริ่มโรงเรียนนี้ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 3 บ้านลิมุดตำบลท่าสาปเมื่อ พ.ศ. 2452 เปิดสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยมีอาคารเรียนเป็นอาคารโรงจากฝาไม้ไผ่และขยายชั้นเรียนในปีต่อ ๆ มาจนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยมีรองอำมาตย์ตรีสดสุขหุตเป็นครูใหญ่คนแรกประมาณพ ศ. 2455 พระยาณรงค์ฤทธิ์ศรีประเทศเศษวังษาเจ้าเมืองยะลาในสมัยนั้น จังหวัดยะลาในสมัยนั้นคือหมู่บ้านสะเตงและย้ายโรงเรียนมาจากบ้านลิมุดในปี พ.ศ. 2456 และขนานนามโรงเรียนว่า และขยายชั้นเรียนเพิ่มขึ้นทุกปีตั้งแต่ พ.ศ. 2456 ถึง พ.ศ. 2478 จัดสอนเป็น 2 ระดับคือระดับประถมศึกษามีชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปี พ.ศ. 2479 โรงเรียนมีชั้นเรียน 8 ชั้นเป็นชั้นประถมศึกษา 4 ชั้นคือชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และชั้นมัธยมศึกษา 4 ชั้นคือชั้นมัธยมศึกษาปีที 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และคับแคบเมื่อได้รับงบประมาณแผ่นดินจำนวน 6,000 บาท อีก 2,000 บาท ตำบลสะเตงอำเภอเมืองยะลาคือที่ตั้งโรงเรียนปัจจุบันสร้างอาคารเรียนถาวรเป็นอาคารไม้ 2 ชั้นมี 6 ห้องเรียน 2 ห้องสิ้นเงินงบก่อนสร้าง 8,000 บาทแล้วได้ย้ายโรงเรียนมาในปี พ.ศ. 2480 ทำพิธีเปิดป้ายชื่อโรงเรียนเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2480 ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนใหม่ว่า "โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง" 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2496 กรมวิสามัญศึกษา เพื่อความเหมาะสมจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนคณะราษฎรบำรุงจังหวัดยะลา"


การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
โรงเรียนคณะราษฎรบำรุงจังหวัดยะลาโรงเรียนที่เก่าแก่ที่สุดของจังหวัดยะลาแรกเริ่มโรงเรียนนี้ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 3 บ้านลิมุดตำบลท่าสาปเมื่อพ . ศ .2354 เปิดสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยมีอาคารเรียนเป็นอาคารโรงจากฝาไม้ไผ่และขยายชั้นเรียนในปีต่อๆมาจนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีบทบาทช่วยรองอำมาตย์ตรีสดสุขหุตเป็นครูใหญ่คนแรกประมาณพ . ศ .2455 พระยาณรงค์ฤทธิ์ศรีประเทศเศษวังษาเจ้าเมืองยะลาในสมัยนั้นได้มอบเงินจำนวนหนึ่งให้สร้างโรงเรียนใหม่ที่ฝั่งขวาของแม่น้ำปัตตานีซึ่งเป็นฝั่งเดียวกับที่ตั้งศาลากลางจังหวัดยะลาในสมัยนั้นความและย้ายโรงเรียนมาจากบ้านลิมุดสามารถพ .ศ . 2456 และขนานนามโรงเรียนว่า " โรงเรียนณรงค์ฤทธิ์ยะลาราษฎร์บำรุง " และขยายชั้นเรียนเพิ่มขึ้นทุกปีตั้งแต่พ . ศ . 2456 ถึงพ . ศ .2478 จัดสอนเป็น 2 ระดับคือระดับประถมศึกษามีชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษามีชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

. พ . ศ .2479 โรงเรียนมีชั้นเรียน 8 ชั้นเป็นชั้นประถมศึกษา 4 ชั้นคือชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และชั้นมัธยมศึกษา 4 ชั้นความชั้นมัธยมศึกษาปีที 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4และคับแคบเมื่อได้รับงบประมาณแผ่นดินจำนวน 6000 บาทและเงินสบทบของ " สาขาสมาคมคณะราษฎร์จังหวัดยะลา " อีก 2000 บาทจึงมาสร้างโรงเรียนใหม่ที่หมู่บ้านนิบงตำบลสะเตงอำเภอเมืองยะลาความที่ตั้งโรงเรียนปัจจุบันสร้างอาคารเรียนถาวรเป็นอาคารไม้ 2 ชั้นคอนโด 6 ห้องเรียนและห้องมุขขนาดใหญ่ใช้เป็นห้องเรียนได้อีก 2 ห้อง8000 บาทแล้วได้ย้ายโรงเรียนมาใน . พ . ศ . 2 ทำพิธีเปิดป้ายชื่อโรงเรียนเมื่อวันที่ 22 มิถุนายนพ . ศ .2 ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนใหม่ว่า " โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง " เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตั้งแต่ชั้นมัธยมปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ต่อมาประมาณปีพ . ศ .1720 กรมวิสามัญศึกษาได้ประกาศปรับปรุงชื่อโรงเรียนเสียใหม่ทั่วประเทศเพื่อความเหมาะสมจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น " โรงเรียนคณะราษฎรบำรุงจังหวัดยะลา "
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: