แผนกบริการอาหารและเครื่องดื่ม ( Food and Beverage Service) พนักงานแผนก การแปล - แผนกบริการอาหารและเครื่องดื่ม ( Food and Beverage Service) พนักงานแผนก ไทย วิธีการพูด

แผนกบริการอาหารและเครื่องดื่ม ( Foo

แผนกบริการอาหารและเครื่องดื่ม ( Food and Beverage Service)

พนักงานแผนกบริการอาหารและเครื่องดื่มจะแตกต่างจากพนักงานแผนกครัวอยู่อย่างหนึ่ง คือ แผนกบริการมีโอกาสติดต่อกับแขกโดยตรงในขณะที่แผนกครัวส่วนใหญ่จะไม่มีโอกาสเลย การบริการหรือวิธีเสิร์ฟมีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ารสชาติหรือคุณภาพของอาหารทีเดียว และมีบางคนถึงกับคิดว่าค่าบริการนั้นสำคัญยิ่งกว่าตัวอาหารเสียอีก แต่ถึงอย่างไร ทั้งสองอย่างก็ต้องดีควบคู่กันไป คืออาหารก็ต้องอร่อย บริการก็ต้องดีด้วย ห้องอาหารนั้นจึงจะเป็นที่พอใจของแขก

พนักงานที่มีความสุภาพ เป็นกันเอง และหน้าตายิ้มแย้มเป็นนิตย์ ถือได้ว่าเป็นทรัพย์สินที่มีค่ามากที่สุดของห้องอาหารทีเดียว



พนักงานเสิร์ฟ (ชาย Waiter/หญิง/Waitress)

พนักงานเสิร์ฟที่ดีจำเป็นต้องมีทักษะจำเพาะหรือความชำนาญในงานที่ทำอยู่บ้าง ตัวอย่าง เช่น การตักอาหารให้แขกโดยตักจากชามใหญ่และหนักโดยใช้ช้อนส้อม และการถือจาน 3-4 ใบที่มีอาหารอยู่ด้วยโดยไม่ให้อาหารหก เป็นต้น

นอกจากนี้ พนักงานเสิร์ฟยังต้องมีทักษะในการติดต่อกับคน เพราะต้องพูดจาติดต่อกับแขกที่มาใช้บริการของห้องอาหาร กล่าวกันว่า พนักงานเสิร์ฟทั้งหลายเปรียบเหมือนเป็น “กองกำลังหรือหน่วยขายอาหาร” ( Salesforce of food) ทีเดียว เนื่องจากมีหน้าที่แนะนำหรือขายสินค้าอันได้แก่อาหารที่แผนกครัวทำขึ้นมาแก่ลูกค้า พนักงานเสิร์ฟจะชนะใจลูกค้าได้ด้วยการรู้จักกาละเทศะ มีเสน่ห์น่าพูดคุยด้วย ทำงานคล่องแคล่ว และรอบรู้ในงานที่ตัวเองทำอยู่ (คือสามารถให้คำแนะนำแก่ลูกค้าว่าควรเลือกสั่งอาหารอะไร และยังสามารถอธิบายให้ลูกค้าฟังว่าอาหารจานนั้นมีวิธีปรุงอย่างไรด้วย) พนักงานเสิร์ฟจะต้องพร้อมที่จะให้บริการเมื่อแขกต้องการ และถอยห่างออกมายืนอยู่เงียบ ๆ ในขณะที่ลูกค้าไม่ต้องการบริการอะไร

การบริหารที่ดียังหมายรวมถึงจังหวะที่เหมาะสมในการให้บริการด้วย เช่น เมื่อแขกต้องการอะไรก็รีบสนองตอบอย่างรวดเร็วทันใจ เป็นต้น พนักงานเสิร์ฟควรจะล่วงรู้ว่าแขกกำลังต้องการอะไรก่อนที่แขกจะเอ่ยปากขอ นอกจากนี้พนักงานเสิร์ฟควรจะเตรียมงานล่วงหน้าไป 1 ขั้นเสมอ เช่นการรีบไปบอกแผนกครัวว่ามีแขกกลุ่มใหญ่เข้ามาแล้ว เพื่อให้ฝ่ายนั้นรู้ตัวและสามารถเตรียมการล่วงหน้าได้ เป็นต้น

ในกรณีของห้องอาหารเล็ก ๆ ที่มีพนักเสิร์ฟเพียง 2-3 คน งานในความรับผิดชอบของพนักงานเสิร์ฟจะมีขอบข่ายกว้างมาก หน้าที่หลัก ๆ จะเป็นดังนี้

·ตกแต่งหรือจัดแจงห้องอาหารให้ดูดี และสะดวกสบาย

·จัดวางโต๊ะเก้าอี้ และอุปกรณ์เครื่องใช้บนโต๊ะ

·รับจองโต๊ะจากลูกค้าที่โทรศัพท์เข้ามาสั่งจอง

·ต้อนรับลูกค้า

·รับออเดอร์หรือคำสั่งเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มจากลูกค้า

·นำอาหารและเครื่องดื่มไปเสิร์ฟ

·เก็บโต๊ะเมื่อลูกค้ารับประทานอาหารเสร็จแล้ว

·กล่าวขอบคุณเมื่อแขกจะกลับ หรือส่งแขก

·ทำความสะอาดห้องอาหาร



สำหรับกรณีของห้องอาหารขนาดใหญ่ จะมีเจ้าหน้าที่มาก ดังนั้น หน้าที่ความรับผิดชอบจึงแบ่งกระจายกันออกไปเป็นดังนี้

1.ผู้จัดการห้องอาหาร (Resturant Manager)

ดูแลรับผิดชอบห้องอาหารในทุกเรื่อง วาง/กำหนดมาตรฐานของการบริการ

วางแผนตารางเวลาและการทำงานของพนักงาน ฝึกสอนงานแก่พนักงาน รับจองโต๊ะ ต้อนรับลูกค้า พาลูกค้าไปที่โต๊ะและจัดการกรณีที่ลูกค้าต่อว่า

2.หัวหน้าพนักงานเสิร์ฟ (ชาย Head Waiter/หญิง Head Waitress หรือ

Maltre d’Hotel หรือที่นิยมเรียกกันว่า Maltre D.)

เป็นตำแหน่งรองจากผู้จัดการห้องอาหาร ถ้าเป็นห้องอาหารขนาดเล็กก็จะเป็นผู้ที่

ดูแลห้องอาหารทั้งหมด ในกรณีที่เป็นห้องอาหาร ถ้าเป็นห้องอาหารขนาดใหญ่ จะมีหัวหน้าหลายคน โดยคนหนึ่งจะดูแล 3-4 Station (เขตบริการ หรือ เขตความรับผิดชอบในห้องอาหารที่พนักงานแต่ละคนจะต้องคอยดูแลให้บริการแก่ลูกค้าที่นั่งโต๊ะ) Station หนึ่งจะมีหลายโต๊ะ Head Waiter มีหน้าที่ดูแลควบคุมการทำงานของพนักงานเสิร์ฟในเขตความรับผิดชอบของตน ช่วยพาลูกค้าไปนั่งโต๊ะและรับคำสั่งจากลูกค้าที่ต้องการสั่งอาหาร

ในเมืองไทย บางโรงแรมอาจแบ่งเป็นซอยตำแหน่งให้มีมากกว่านี้ โดยมี

ตำแหน่ง Chief Station หรือหัวหน้าเขตคอยดูแลบริการเฉพาะในเขตความรับผิดชอบของตน แต่ที่นิยมใช้กันมากคือตำแหน่ง Captain (หรือ กัปตัน ตามที่เรียกกันแบบไทย ๆ แต่ในภาษาอังกฤษจริง ๆ ต้องอ่านว่า “แค็พทิน” หรือ “แค็พเทิน” ) หรือหัวหน้าหนักงานเสิร์ฟระดับต้น ซึ่งโดยแท้จริงก็คือพนักงานเสิร์ฟอาวุโสในตำแหน่งที่ 3 ต่อไปนี้นั่นเอง

- พนักงานเสิร์ฟอาวุโสประจำเขต ( Station Waiter/Station Waitress หรือ

Chef de Rang)

มีหน้าที่เสิร์ฟหรือให้บริการแก่ลูกค้าหลายโต๊ะใน Station หรือ เขตของตน ซึ่งโดยทั่วไปจะมีลูกค้ารวมกันประมาณ 20 ที่นั่งหรือ 20 คน เมื่อลูกค้าสั่งอาหารแล้ว ก็จะคอยปรับเปลี่ยนอุปกรณ์บนโต๊ะ เช่น มีด ช้อนส้อม ให้เหมาะกับอาหารที่ลูกค้าสั่งและจำนวนคนนำอาหารไปเสิร์ฟให้ลูกค้าเมื่ออาหารพร้อม และเคลียร์โต๊ะเมื่อลูกค้ารับประทานอาหารเสร็จแล้ว

- ผู้ช่วยพนักงานเสิร์ฟ (Commis Waiter/Commis Waitress)

มีหน้าที่ช่วยบริการด้านอาหาร จัดโต๊ะ เคลียร์โต๊ะ โดยทั่วไปผู้ช่วยพนักงานเสิร์ฟจะเป็นคนยกอาหารที่ทำเสร็จแล้วจากครัวมาที่ห้องอาหาร และนำพวกถ้วยจานและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ลูกค้าใช้แล้วกลับไปในครัวเพื่อให้แผนกสจ๊วตล้างทำความสะอาด

หน้าที่นี้ในเมืองไทยนิยมเรียกกันว่า Bus Boy/Bus Girl มีหน้าที่ “เคลียโต๊ะและวิ่ง”อาหาร

- พนักงานเสิร์ฟเหล้า( Wine Waiter/Wine Waitress หรือ Sommellierซอมเมอลิเยร์)

ทำหน้าที่รับคำสั่งหรือออเดอร์เกี่ยวกับเหล้าหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ไม่เกี่ยวกับเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ

3. พนักงานเก็บเงิน หรือ แคชเชียร์ (Cashier)

รับผิดชอบในการออกใบเสร็จและเก็บเงิน แต่คนที่นำใบเสร็จไปให้ลูกค้าได้แก่พนักงานเสิร์ฟ

4. พนักงานประจำบาร์ขายเหล้า (Barperson,Barman/Barmaid,Bartender)

คำว่า Bartender ในภาษาอังกฤษนั้นใช้ได้ทั้งพนักงานชายและหญิง ในเมืองไทยถ้าเป็นพนักงานหญิง มีการเรียกเป็น “บาร์เทนตี้” ซึ่งเป็นการเข้าใจผิด เพราะคำว่า Bartendee นี้ไม่มีใช้ในภาษาอังกฤษ

พนักงานประจำบาร์เหล้าต้องมีความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับพวกสุราต่างๆ ซึ่งต้องเรียนรู้ แต่วิธีเรียนรู้ที่ดีที่สุดก็โดยการฝึกปฏิบัติและอาศัยประสบการณ์ เช่น ต้องรู้วิธีรินเบียร์โดยไม่ให้มีฟองมาก วิธีค่อย ๆ รินเหล้าไวน์โดยไม่ให้มีตะกอนไหลลงมาด้วย วิธีผสมเครื่องดื่มประเ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
แผนกบริการอาหารและเครื่องดื่ม (อาหารและเครื่องดื่มบริการ) พนักงานแผนกบริการอาหารและเครื่องดื่มจะแตกต่างจากพนักงานแผนกครัวอยู่อย่างหนึ่งคือแผนกบริการมีโอกาสติดต่อกับแขกโดยตรงในขณะที่แผนกครัวส่วนใหญ่จะไม่มีโอกาสเลยการบริการหรือวิธีเสิร์ฟมีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ารสชาติหรือคุณภาพของอาหารทีเดียวและมีบางคนถึงกับคิดว่าค่าบริการนั้นสำคัญยิ่งกว่าตัวอาหารเสียอีกแต่ถึงอย่างไรทั้งสองอย่างก็ต้องดีควบคู่กันไปคืออาหารก็ต้องอร่อยบริการก็ต้องดีด้วยห้องอาหารนั้นจึงจะเป็นที่พอใจของแขก พนักงานที่มีความสุภาพเป็นกันเองและหน้าตายิ้มแย้มเป็นนิตย์ถือได้ว่าเป็นทรัพย์สินที่มีค่ามากที่สุดของห้องอาหารทีเดียว พนักงานเสิร์ฟ (ชายพนักงานเสิร์ฟ/หญิง/พนักงานเสิร์ฟ) พนักงานเสิร์ฟที่ดีจำเป็นต้องมีทักษะจำเพาะหรือความชำนาญในงานที่ทำอยู่บ้างตัวอย่างเช่นการตักอาหารให้แขกโดยตักจากชามใหญ่และหนักโดยใช้ช้อนส้อมและการถือจาน 3-4 ใบที่มีอาหารอยู่ด้วยโดยไม่ให้อาหารหกเป็นต้น นอกจากนี้พนักงานเสิร์ฟยังต้องมีทักษะในการติดต่อกับคนเพราะต้องพูดจาติดต่อกับแขกที่มาใช้บริการของห้องอาหารกล่าวกันว่าพนักงานเสิร์ฟทั้งหลายเปรียบเหมือนเป็น "กองกำลังหรือหน่วยขายอาหาร" (Salesforce อาหาร) ทีเดียวเนื่องจากมีหน้าที่แนะนำหรือขายสินค้าอันได้แก่อาหารที่แผนกครัวทำขึ้นมาแก่ลูกค้าพนักงานเสิร์ฟจะชนะใจลูกค้าได้ด้วยการรู้จักกาละเทศะมีเสน่ห์น่าพูดคุยด้วยทำงานคล่องแคล่วและรอบรู้ในงานที่ตัวเองทำอยู่ (คือสามารถให้คำแนะนำแก่ลูกค้าว่าควรเลือกสั่งอาหารอะไรและยังสามารถอธิบายใในขณะที่ลูกค้าไม่ต้องการบริการอะไรห้ลูกค้าฟังว่าอาหารจานนั้นมีวิธีปรุงอย่างไรด้วย) พนักงานเสิร์ฟจะต้องพร้อมที่จะให้บริการเมื่อแขกต้องการและถอยห่างออกมายืนอยู่เงียบๆ การบริหารที่ดียังหมายรวมถึงจังหวะที่เหมาะสมในการให้บริการด้วยเช่นเมื่อแขกต้องการอะไรก็รีบสนองตอบอย่างรวดเร็วทันใจเป็นต้นพนักงานเสิร์ฟควรจะล่วงรู้ว่าแขกกำลังต้องการอะไรก่อนที่แขกจะเอ่ยปากขอนอกจากนี้พนักงานเสิร์ฟควรจะเตรียมงานล่วงหน้าไป 1 ขั้นเสมอเช่นการรีบไปบอกแผนกครัวว่ามีแขกกลุ่มใหญ่เข้ามาแล้วเพื่อให้ฝ่ายนั้นรู้ตัวและสามารถเตรียมการล่วงหน้าได้เป็นต้น ในกรณีของห้องอาหารเล็กๆ ที่มีพนักเสิร์ฟเพียง 2-3 คนงานในความรับผิดชอบของพนักงานเสิร์ฟจะมีขอบข่ายกว้างมากหน้าที่หลักๆ จะเป็นดังนี้·ตกแต่งหรือจัดแจงห้องอาหารให้ดูดีและสะดวกสบาย·จัดวางโต๊ะเก้าอี้และอุปกรณ์เครื่องใช้บนโต๊ะ·รับจองโต๊ะจากลูกค้าที่โทรศัพท์เข้ามาสั่งจอง·ต้อนรับลูกค้า·รับออเดอร์หรือคำสั่งเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มจากลูกค้า·นำอาหารและเครื่องดื่มไปเสิร์ฟ·เก็บโต๊ะเมื่อลูกค้ารับประทานอาหารเสร็จแล้ว·กล่าวขอบคุณเมื่อแขกจะกลับหรือส่งแขก·ทำความสะอาดห้องอาหาร สำหรับกรณีของห้องอาหารขนาดใหญ่จะมีเจ้าหน้าที่มากดังนั้นหน้าที่ความรับผิดชอบจึงแบ่งกระจายกันออกไปเป็นดังนี้1.ผู้จัดการห้องอาหาร (ผู้จัดการส้วม)ดูแลรับผิดชอบห้องอาหารในทุกเรื่อง วาง/กำหนดมาตรฐานของการบริการวางแผนตารางเวลาและการทำงานของพนักงาน ฝึกสอนงานแก่พนักงาน รับจองโต๊ะ ต้อนรับลูกค้า พาลูกค้าไปที่โต๊ะและจัดการกรณีที่ลูกค้าต่อว่า2.หัวหน้าพนักงานเสิร์ฟ (ชาย Head Waiter/หญิง Head Waitress หรือMaltre d’Hotel หรือที่นิยมเรียกกันว่า Maltre D.)เป็นตำแหน่งรองจากผู้จัดการห้องอาหาร ถ้าเป็นห้องอาหารขนาดเล็กก็จะเป็นผู้ที่ดูแลห้องอาหารทั้งหมดในกรณีที่เป็นห้องอาหารถ้าเป็นห้องอาหารขนาดใหญ่จะมีหัวหน้าหลายคนโดยคนหนึ่งจะดูแล 3-4 Station (เขตบริการหรือเขตความรับผิดชอบในห้องอาหารที่พนักงานแต่ละคนจะต้องคอยดูแลให้บริการแก่ลูกค้าที่นั่งโต๊ะ) สถานีหนึ่งจะมีหลายโต๊ะหัวหน้าพนักงานเสิร์ฟมีหน้าที่ดูแลควบคุมการทำงานของพนักงานเสิร์ฟในเขตความรับผิดชอบของตนช่วยพาลูกค้าไปนั่งโต๊ะและรับคำสั่งจากลูกค้าที่ต้องการสั่งอาหาร ในเมืองไทยบางโรงแรมอาจแบ่งเป็นซอยตำแหน่งให้มีมากกว่านี้โดยมีตำแหน่ง Chief Station หรือหัวหน้าเขตคอยดูแลบริการเฉพาะในเขตความรับผิดชอบของตน แต่ที่นิยมใช้กันมากคือตำแหน่ง Captain (หรือ กัปตัน ตามที่เรียกกันแบบไทย ๆ แต่ในภาษาอังกฤษจริง ๆ ต้องอ่านว่า “แค็พทิน” หรือ “แค็พเทิน” ) หรือหัวหน้าหนักงานเสิร์ฟระดับต้น ซึ่งโดยแท้จริงก็คือพนักงานเสิร์ฟอาวุโสในตำแหน่งที่ 3 ต่อไปนี้นั่นเอง- พนักงานเสิร์ฟอาวุโสประจำเขต ( Station Waiter/Station Waitress หรือChef de Rang)มีหน้าที่เสิร์ฟหรือให้บริการแก่ลูกค้าหลายโต๊ะใน Station หรือ เขตของตน ซึ่งโดยทั่วไปจะมีลูกค้ารวมกันประมาณ 20 ที่นั่งหรือ 20 คน เมื่อลูกค้าสั่งอาหารแล้ว ก็จะคอยปรับเปลี่ยนอุปกรณ์บนโต๊ะ เช่น มีด ช้อนส้อม ให้เหมาะกับอาหารที่ลูกค้าสั่งและจำนวนคนนำอาหารไปเสิร์ฟให้ลูกค้าเมื่ออาหารพร้อม และเคลียร์โต๊ะเมื่อลูกค้ารับประทานอาหารเสร็จแล้ว- ผู้ช่วยพนักงานเสิร์ฟ (Commis Waiter/Commis Waitress)มีหน้าที่ช่วยบริการด้านอาหาร จัดโต๊ะ เคลียร์โต๊ะ โดยทั่วไปผู้ช่วยพนักงานเสิร์ฟจะเป็นคนยกอาหารที่ทำเสร็จแล้วจากครัวมาที่ห้องอาหาร และนำพวกถ้วยจานและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ลูกค้าใช้แล้วกลับไปในครัวเพื่อให้แผนกสจ๊วตล้างทำความสะอาดหน้าที่นี้ในเมืองไทยนิยมเรียกกันว่า Bus Boy/Bus Girl มีหน้าที่ “เคลียโต๊ะและวิ่ง”อาหาร- พนักงานเสิร์ฟเหล้า( Wine Waiter/Wine Waitress หรือ Sommellierซอมเมอลิเยร์)ทำหน้าที่รับคำสั่งหรือออเดอร์เกี่ยวกับเหล้าหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ไม่เกี่ยวกับเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ3. พนักงานเก็บเงิน หรือ แคชเชียร์ (Cashier)
รับผิดชอบในการออกใบเสร็จและเก็บเงิน แต่คนที่นำใบเสร็จไปให้ลูกค้าได้แก่พนักงานเสิร์ฟ

4. พนักงานประจำบาร์ขายเหล้า (Barperson,Barman/Barmaid,Bartender)

คำว่า Bartender ในภาษาอังกฤษนั้นใช้ได้ทั้งพนักงานชายและหญิง ในเมืองไทยถ้าเป็นพนักงานหญิง มีการเรียกเป็น “บาร์เทนตี้” ซึ่งเป็นการเข้าใจผิด เพราะคำว่า Bartendee นี้ไม่มีใช้ในภาษาอังกฤษ

พนักงานประจำบาร์เหล้าต้องมีความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับพวกสุราต่างๆ ซึ่งต้องเรียนรู้ แต่วิธีเรียนรู้ที่ดีที่สุดก็โดยการฝึกปฏิบัติและอาศัยประสบการณ์ เช่น ต้องรู้วิธีรินเบียร์โดยไม่ให้มีฟองมาก วิธีค่อย ๆ รินเหล้าไวน์โดยไม่ให้มีตะกอนไหลลงมาด้วย วิธีผสมเครื่องดื่มประเ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: