เกมและการละเล่นพื้นเมืองคองกักคองกักเป็นเกมคิดเลขที่เล่นโดยผู้หญิงในยุ การแปล - เกมและการละเล่นพื้นเมืองคองกักคองกักเป็นเกมคิดเลขที่เล่นโดยผู้หญิงในยุ ไทย วิธีการพูด

เกมและการละเล่นพื้นเมืองคองกักคองกั

เกมและการละเล่นพื้นเมือง
คองกัก
คองกักเป็นเกมคิดเลขที่เล่นโดยผู้หญิงในยุคโบราณ ในอดีต อุปกรณ์ในการเล่นมีเพียงหลุมบนพื้นดินและเม็ดมะขามเท่านั้น ปัจจุบัน อุปกรณ์ในการเล่นถูกดัดแปลงให้อยู่ในรูปของบล็อกไม้แข็งทรงรี เจาะหลุมเป็นสองแถว แต่ละแถวอาจมีห้า เจ็ด หรือเก้าหลุมก็ได้ ที่ปลายบล็อกไม้ทั้งสองด้าน จะมีหลุมหนึ่งหลุมเรียกว่า "บ้าน" ผู้เล่นจะต้องใช้เปลือกหอย ก้อนหิน ก้อนกรวด หรือเม็ดมะขามในการเล่น และต้องมีผู้เล่นสองคน

การละเล่นพื้นเมือง คองกัก ประเทศมาเลเซีย

กาซิง
กาซิงคือลูกข่างขนาดยักษ์ที่มีน้ำหนักประมาณ 5 กก. หรือ 10 ปอนด์ และอาจมีขนาดเท่ากับจานข้าว แต่เติม จะมีการเล่นลูกข่างหลังสิ้นสุดฤดูการเก็บเกี่ยว การเล่นลูกข่างชนิดนี้ต้องอาศัยกำลัง การประสานงานกัน และทักษะการเล่น ลูกข่างจะหมุนเมื่อผู้เล่นดึงเชือกที่พันรอบตัวลูกข่างออก ลูกข่างจะถูกปล่อยลงบนพื้นขณะกำลังหมุนโดยใช้แผ่นไม้ที่กรีดตรงกลางเป็นทางยาว จากนั้น ก้มตัวลงต่ำและปล่อยลูกข่างลงบนพื้น โดยให้ลูกข่างหมุนอยู่บนแกนโลหะ หากเล่นโดยผู้ชำนาญ ลูกข่างจะหมุนได้นานถึง 2 ชั่วโมง








การละเล่นพื้นเมือง แกซิง ประเทศมาเลเซีย
เวา หรือ วาอู
วาอูคือการเล่นว่าวแบบดั้งเดิมที่ได้รับความนิยมอย่างมากโดยเฉพาะในรัฐกลันตัน ชายฝั่งด้านตะวันออกของมาเลเซีย แต่เดิมชาวมาเลเซียจะเล่นว่าวชนิดนี้หลังฤดูเก็บเกี่ยว ตัวว่าวจะมีขนาดใหญ่ บ่อยครั้งที่เราจะเห็นว่าวมีขนาดเท่าคน หรือประมาณ 3.5 เมตร เมื่อวัดจากหัวว่าวถึงหางว่าว ชาวมาเลย์เรียกการละเล่นชนิดนี้ว่าวาอู เนื่องจากรูปร่างของมันคล้ายกับตัวอักษรอารบิกที่อ่านว่า 'วาว' เนื่องจากพวกมันมีรูปร่างและสีสันสะดุดตาเหมือนดอกไม้หรือพืชพรรณในท้องถิ่น ว่าวเหล่านี้จึงสวยงามอย่างน่าทึ่งเมื่ออยู่
บนท้องฟ้า


การละเล่นพื้นเมือง เวา ประเทศมาเลเซีย

สีลัต หรือ ซิลาด
ซิลาดคือศิลปะการต่อสู้ที่น่าทึ่งของชาวมาเลย์ นอกจากนี้ยังเป็นกีฬาสากลและการเต้นรำแบบดั้งเดิมของมาเลเซียอีกด้วย ซิลาดเป็นศิลปะป้องกันตัวที่อยู่คู่หมู่เกาะมลายูมาหลายศตวรรษ ท่วงท่าการต่อสู้จะลื่นไหลเหมือนสายน้ำเพื่อหลอกล่อให้คู่ต่อสู้งุนงง ตามหลักศาสนาอิสลามเชื่อกันว่า การฝึกฝนซิลาดเป็นการเพิ่มพลังจิตวิญญาณ และเมื่อนำมาผสมผสานกับเสียงกลองและฆ้อง ศิลปะการต่อสู้โบราณชนิดนี้จึงนิยมนำมาแสดงในงานแต่งงานหรืองานเทศกาลทางวัฒนธรรมต่างๆ
silat ศิลปะการป้องกันตัวของชนชาวมลายูคือ Silat โดยศิลปะการป้องกันตัวชนิดนี้มีมาเป็นเวลานานแล้ว Silat ได้กำเนินขึ้นมาเป็นเวลานับร้อยพันปีมาแล้ว ลักษณะของศิลปะการป้องกันตัวที่เรียกว่า Silat นั้นมีอยู่ 3 ลักษณะ คือ
1. Silat คือการเคลื่อนไหวของร่างกายในการป้องกันตัวจากการโจมตีของศัตรูหรือคู่ต่อสู้
2. Silap คือช่วงจังหวะลีลาที่จะใช้ในศิลปะการป้องกันตัว
3. Silau คือการตอบโต้ที่ใช้จากการป้องกันตัวที่ศัตรูหรือคู่ต่อสู้โจมตีตัวเรา
ดังนั้น ศิลปะการป้องกันตัว Silat สามารถที่จะกล่าวได้ว่าเป็นการเคลื่อนไหว, ช่วงจังหวะและลีลา,
การตอบโต้ที่ถูกมนุษย์สร้างขึ้นโดยเป็นระบบ เป็นระเบียบและละเอียดอ่อนในการป้องกันตัวจากการโจมตีของศัตรูและคู่ต่อสู้
ในการเรียนเกี่ยวกับศิลปะการป้องกันตัว Silat นั้น คนหนึ่งๆ มีการเรียนรู้ที่อยู่ในระดับที่แตกต่างกันตามความสามารถและประสิทธิภาพของแต่ละคน โดยปกติแล้วระดับความสามารถของศิลปะการป้องกันตัว Silat มีอยู่ 5 ระดับ คือ
1.ระดับ Mengetahvi Seni เป็นระดับที่รู้เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว ช่วงลีลา ศิลปะการตอบโต้
2.ระดับBudaya Seni เป็นระดับการเรียนรู้วิถีชีวิตและคำสั่งการ พร้อมการเผยแพร่ ศิลปะการป้องกันตัว Silat
3.ระดับ Bangsa Seni เป็นระดับการศึกษาเชิงลึกของศิลปะการป้องกันตัว และภูมิหลังของศิลปะการป้องกันตัว Silat
4.ระดับ Budi Pekerti Seni เป็นระดับการเรียนรู้ เข้าใจกฏระเบียบ และหลักเกณฑ์ของศิลปะการป้องกันตัว Silat
5.ระดับ Jiwa Seni เป็นระดับสร้างจิตสำนึกในศิลปะการป้องกันตัว Silat และศึกษาความเร้นลับของศิลปะการป้องกันตัว Silat
6.ระดับ Alam Seni เป็นระดับการเผยแพร่ศิลปะการป้องกันตัว Silat และสร้างหรือรักษากฏเกณฑ์ของศิลปะการป้องกันตัว Silat ให้อยู่ในจิตวิญญาณของนักศิลปะการป้องกันตัว Silat ทุกคน
ศิลปะการป้องกันตัว Silat มีการเคลื่อนไหว ช่วงลีลาการก้าว ลูกไม้ การหลีก การตอบโต้ การต่อย การถีบ การโจมตี ที่แตกต่างกันตามที่ครูศิลปะการป้องกันตัวต่างๆเป็นผู้คิดลูกไม้ของศิลปะการป้องกันตัว ดังนั้น ศิลปะการป้องกันตัว Silat จึงมีหลากหลายชื่อเช่น
1. Seni Silat Gayong
2. Silat Lincah เป็น 1 ใน 4 ของSilat ที่ใหญ่ที่สุดในมาเลเซีย
3. Silat Cekak เป็น 1 ใน 4 ของ Silat ที่ใหญ่ที่สุดในมาเลเซีย
4. Silat Lintau
5. Silat Kalimah
6. Silat kuntau Melayu
7. Silat Minangkabau
8. Silat Gayung Patani เกิดใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ แต่เติบโตในมาเลเซีย เป็น 1 ใน 4 ของ Silat ที่ใหญ่ที่สุดในมาเลเซีย
9. Silat Sendeng
10. Silat Sunting
11. Silat Abjad
12. Silat Gayang Malaysia เป็น 1 ใน 4 ของ Silat ที่ใหญ่ที่สุดในมาเลเซีย
ปันจักสีลัต (Pencak Silat)



ปันจักสีลัต (Pencak Silat) เป็นคำที่มาจากภาษาอินโดนีเซียมาจากคำว่า "ปันจัก" (Pencak)หมายถึงการป้องกันตนเอง และคำว่า "สีลัต" (Silat) หมายถึงศิลปะรวมความแล้วหมายถึงศิลปะการป้องกันตนเอง กีฬาประเภทนี้เดิมเป็นศิลปะการต่อสู้ของคนเชื้อสายมาลายู ในภาคพื้นเอเชียอาคเนย์ ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ บรูไน และพื้นที่ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย คือ ปัตตานี ยะลา สตูล นราธิวาส และสงขลา เรียกว่า “สิละ” “ดีกา” หรือ “บือดีกา” เป็นศิลปะการต่อสู้ด้วยมือเปล่าเท้าเปล่า เน้นให้เห็นลีลาการเคลื่อนไหวที่สวยงาม มีบางท่านกล่าวว่า สิละมีรากคำว่า ศิละ ภาษาสันสกฤต
ทั้งนี้เพราะดินแดนของมลายูในอดีตเคยเป็นดินแดนอาณาจักรศรีวิชัย ที่มีวัฒนธรรมอินเดียเข้ามามีบทบาทที่สำคัญ จึงมีคำสันสกฤตปรากฏอยู่มาก ประวัติความเป็นมาของปันจักสีลัตนั้น มีตำนานเล่าต่อกันมาหลายตำนาน ซึ่งมีส่วนตรงกันและแตกต่างกันบ้างโดยเฉพาะต้นกำเนิดของกีฬาประเภทนี้ซึ่ง เขียนขึ้นอยู่กับแต่ละประเทศที่ได้เขียนมา อินโดนีเซียเล่าไปอย่างหนึ่ง มาเลเซียก็เล่าไปอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งผู้เขียนจะได้นำเสนอในโอกาสต่อไป แต่สำหรับครั้งนี้จะขอนำบทความส่วนหนึ่งที่เขียนโดย อาจารย์ประพนธ์ เรืองณรงค์ อดีตอาจารย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เรื่องสิละมวยไทยมุสลิม เพ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เกมและการละเล่นพื้นเมืองคองกักคองกักเป็นเกมคิดเลขที่เล่นโดยผู้หญิงในยุคโบราณในอดีตอุปกรณ์ในการเล่นมีเพียงหลุมบนพื้นดินและเม็ดมะขามเท่านั้นปัจจุบันอุปกรณ์ในการเล่นถูกดัดแปลงให้อยู่ในรูปของบล็อกไม้แข็งทรงรีเจาะหลุมเป็นสองแถวแต่ละแถวอาจมีห้าเจ็ดหรือเก้าหลุมก็ได้ที่ปลายบล็อกไม้ทั้งสองด้านจะมีหลุมหนึ่งหลุมเรียกว่า "บ้าน" ผู้เล่นจะต้องใช้เปลือกหอยก้อนหินก้อนกรวดหรือเม็ดมะขามในการเล่นและต้องมีผู้เล่นสองคน การละเล่นพื้นเมืองคองกักประเทศมาเลเซีย กาซิงกกกาซิงคือลูกข่างขนาดยักษ์ที่มีน้ำหนักประมาณ 5 หรือ 10 ปอนด์และอาจมีขนาดเท่ากับจานข้าวแต่เติมจะมีการเล่นลูกข่างหลังสิ้นสุดฤดูการเก็บเกี่ยวการเล่นลูกข่างชนิดนี้ต้องอาศัยกำลังการประสานงานกันและทักษะการเล่นลูกข่างจะหมุนเมื่อผู้เล่นดึงเชือกที่พันรอบตัวลูกข่างออกลูกข่างจะถูกปล่อยลงบนพื้นขณะกำลังหมุนโดยใช้แผ่นไม้ที่กรีดตรงกลางเป็นทางยาวจากนั้นก้มตัวลงต่ำและปล่อยลูกข่างลงบนพื้นโดยให้ลูกข่างหมุนอยู่บนแกนโลหะหากเล่นโดยผู้ชำนาญลูกข่างจะหมุนได้นานถึง 2 ชั่วโมง การละเล่นพื้นเมืองแกซิงประเทศมาเลเซียเวาหรือวาอูวาอูคือการเล่นว่าวแบบดั้งเดิมที่ได้รับความนิยมอย่างมากโดยเฉพาะในรัฐกลันตันชายฝั่งด้านตะวันออกของมาเลเซียแต่เดิมชาวมาเลเซียจะเล่นว่าวชนิดนี้หลังฤดูเก็บเกี่ยวตัวว่าวจะมีขนาดใหญ่บ่อยครั้งที่เราจะเห็นว่าวมีขนาดเท่าคนหรือประมาณ 3.5 เมตรเมื่อวัดจากหัวว่าวถึงหางว่าวชาวมาเลย์เรียกการละเล่นชนิดนี้ว่าวาอูเนื่องจากรูปร่างของมันคล้ายกับตัวอักษรอารบิกที่อ่านว่า 'วาว' เนื่องจากพวกมันมีรูปร่างและสีสันสะดุดตาเหมือนดอกไม้หรือพืชพรรณในท้องถิ่นว่าวเหล่านี้จึงสวยงามอย่างน่าทึ่งเมื่ออยู่บนท้องฟ้า การละเล่นพื้นเมืองเวาประเทศมาเลเซียสีลัตหรือซิลาดซิลาดคือศิลปะการต่อสู้ที่น่าทึ่งของชาวมาเลย์นอกจากนี้ยังเป็นกีฬาสากลและการเต้นรำแบบดั้งเดิมของมาเลเซียอีกด้วยซิลาดเป็นศิลปะป้องกันตัวที่อยู่คู่หมู่เกาะมลายูมาหลายศตวรรษท่วงท่าการต่อสู้จะลื่นไหลเหมือนสายน้ำเพื่อหลอกล่อให้คู่ต่อสู้งุนงงตามหลักศาสนาอิสลามเชื่อกันว่าการฝึกฝนซิลาดเป็นการเพิ่มพลังจิตวิญญาณและเมื่อนำมาผสมผสานกับเสียงกลองและฆ้องศิลปะการต่อสู้โบราณชนิดนี้จึงนิยมนำมาแสดงในงานแต่งงานหรืองานเทศกาลทางวัฒนธรรมต่าง ๆ silat ศิลปะการป้องกันตัวของชนชาวมลายูคือ Silat โดยศิลปะการป้องกันตัวชนิดนี้มีมาเป็นเวลานานแล้ว Silat ได้กำเนินขึ้นมาเป็นเวลานับร้อยพันปีมาแล้วลักษณะของศิลปะการป้องกันตัวที่เรียกว่า Silat นั้นมีอยู่ 3 ลักษณะคือ1. Silat คือการเคลื่อนไหวของร่างกายในการป้องกันตัวจากการโจมตีของศัตรูหรือคู่ต่อสู้2. Silap คือช่วงจังหวะลีลาที่จะใช้ในศิลปะการป้องกันตัว3. Silau คือการตอบโต้ที่ใช้จากการป้องกันตัวที่ศัตรูหรือคู่ต่อสู้โจมตีตัวเราดังนั้นศิลปะการป้องกันตัว Silat สามารถที่จะกล่าวได้ว่าเป็นการเคลื่อนไหว ช่วงจังหวะและลีลาการตอบโต้ที่ถูกมนุษย์สร้างขึ้นโดยเป็นระบบเป็นระเบียบและละเอียดอ่อนในการป้องกันตัวจากการโจมตีของศัตรูและคู่ต่อสู้ในการเรียนเกี่ยวกับศิลปะการป้องกันตัว Silat นั้นคนหนึ่ง ๆ มีการเรียนรู้ที่อยู่ในระดับที่แตกต่างกันตามความสามารถและประสิทธิภาพของแต่ละคนโดยปกติแล้วระดับความสามารถของศิลปะการป้องกันตัว Silat มีอยู่ 5 ระดับคือ 1.ระดับ ศิลปะการตอบโต้ช่วงลีลาเป็นระดับที่รู้เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว Mengetahvi เสนี 2.ระดับBudaya เสนีเป็นระดับการเรียนรู้วิถีชีวิตและคำสั่งการพร้อมการเผยแพร่ศิลปะการป้องกันตัว Silat 3.ระดับ จองเสนีเป็นระดับการศึกษาเชิงลึกของศิลปะการป้องกันตัวและภูมิหลังของศิลปะการป้องกันตัว Silat 4.ระดับ Budi เสนี Pekerti เป็นระดับการเรียนรู้เข้าใจกฏระเบียบและหลักเกณฑ์ของศิลปะการป้องกันตัว Silat 5.ระดับ Jiwa เสนีเป็นระดับสร้างจิตสำนึกในศิลปะการป้องกันตัว Silat และศึกษาความเร้นลับของศิลปะการป้องกันตัว Silat 6.ระดับ อาลัมเสนีเป็นระดับการเผยแพร่ศิลปะการป้องกันตัว Silat และสร้างหรือรักษากฏเกณฑ์ของศิลปะการป้องกันตัว Silat ให้อยู่ในจิตวิญญาณของนักศิลปะการป้องกันตัว Silat ทุกคน ศิลปะการป้องกันตัว Silat มีการเคลื่อนไหวช่วงลีลาการก้าวลูกไม้การหลีกการตอบโต้การต่อยการถีบการโจมตีที่แตกต่างกันตามที่ครูศิลปะการป้องกันตัวต่างๆเป็นผู้คิดลูกไม้ของศิลปะการป้องกันตัวดังนั้นศิลปะการป้องกันตัว Silat จึงมีหลากหลายชื่อเช่น1. เสนี Silat Gayong2. Silat Lincah เป็น 1 ใน 4 ของSilat ที่ใหญ่ที่สุดในมาเลเซีย3. Silat Cekak เป็น 1 ใน 4 นั้น ๆ Silat ที่ใหญ่ที่สุดในมาเลเซีย4. Silat Lintau5. Silat Kalimah6. Silat kuntau มลายู7. Silat มินังกาบัว8. Silat Gayung ปัตตานีเกิดใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้แต่เติบโตในมาเลเซียเป็น 1 ใน 4 นั้น ๆ Silat ที่ใหญ่ที่สุดในมาเลเซีย9. Silat Sendeng10. Silat Sunting11. Silat Abjad12. Silat กายังมาเลเซียเป็น 1 ใน 4 นั้น ๆ Silat ที่ใหญ่ที่สุดในมาเลเซียปันจักสีลัต (ออก Silat) และคำว่าหมายถึงการป้องกันตนเองเป็นคำที่มาจากภาษาอินโดนีเซียมาจากคำว่าปันจักสีลัต (ออก Silat) "ปันจัก" (ออก) "สีลัต" (Silat) หมายถึงศิลปะรวมความแล้วหมายถึงศิลปะการป้องกันตนเองกีฬาประเภทนี้เดิมเป็นศิลปะการต่อสู้ของคนเชื้อสายมาลายูในภาคพื้นเอเชียอาคเนย์ได้แก่มาเลเซียอินโดนีเซียฟิลิปปินส์สิงคโปร์บรูไนและพื้นที่ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยคือปัตตานียะลาสตูลนราธิวาสและสงขลาเรียกว่า "สิละ" "ดีกา" หรือ "บือดีกา" เป็นศิลปะการต่อสู้ด้วยมือเปล่าเท้าเปล่าเน้นให้เห็นลีลาการเคลื่อนไหวที่สวยงามมีบางท่านกล่าวว่าสิละมีรากคำว่าศิละภาษาสันสกฤต ทั้งนี้เพราะดินแดนของมลายูในอดีตเคยเป็นดินแดนอาณาจักรศรีวิชัยที่มีวัฒนธรรมอินเดียเข้ามามีบทบาทที่สำคัญจึงมีคำสันสกฤตปรากฏอยู่มากประวัติความเป็นมาของปันจักสีลัตนั้นมีตำนานเล่าต่อกันมาหลายตำนานซึ่งมีส่วนตรงกันและแตกต่างกันบ้างโดยเฉพาะต้นกำเนิดของกีฬาประเภทนี้ซึ่งเขียนขึ้นอยู่กับแต่ละประเทศที่ได้เขียนมาอินโดนีเซียเล่าไปอย่างหนึ่งมาเลเซียก็เล่าไปอีกอย่างหนึ่งซึ่งผู้เขียนจะได้นำเสนอในโอกาสต่อไปแต่สำหรับครั้งนี้จะขอนำบทความส่วนหนึ่งที่เขียนโดยอาจารย์ประพนธ์เรืองณรงค์อดีตอาจารย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เรื่องสิละมวยไทยมุสลิมเพ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ในอดีต ปัจจุบัน เจาะหลุมเป็นสองแถวแต่ละแถวอาจ มีห้าเจ็ดหรือเก้าหลุมก็ได้ที่ปลายบล็อกไม้ทั้งสองด้านจะมีหลุมหนึ่งหลุมเรียกว่า "บ้าน" ผู้เล่นจะต้องใช้เปลือกหอยก้อน หินก้อนกรวดหรือเม็ดมะขามในการเล่น คองกัก 5 กก หรือ 10 ปอนด์และอาจมีขนาดเท่ากับจานข้าว แต่เติม การประสานงานกันและทักษะการเล่น จากนั้น โดยให้ลูกข่างหมุนอยู่บนแกนโลหะ หากเล่นโดยผู้ชำนาญลูกข่างจะหมุนได้นานถึง 2 ชั่วโมงการละเล่นพื้นเมืองแกซิงออกประเทศมาเลเซียเวาหรือ ชายฝั่งด้านตะวันออกของมาเลเซีย ตัวว่าวจะมีขนาดใหญ่ หรือประมาณ 3.5 เมตรเมื่อวัดจากหัวว่าวถึงหางว่าว 'วาว' ออกประเทศมาเลเซียเวาสีคลัชตหรือ ตามหลักศาสนาอิสลามเชื่อกันว่า Silat Silat Silat นั้นมีอยู่ 3 ลักษณะคือ1 Silat Silap Silau ศิลปะการป้องกันตัว Silat Silat นั้นคนหนึ่ง ๆ Silat มีอยู่ 5 ระดับคือ1. ระดับ Mengetahvi เสนีย์ ช่วงลีลาศิลปะการตอบโต้2. ระดับ Budaya เสนีย์ พร้อมการเผยแพร่ศิลปะการป้องกันตัว Silat 3. ระดับ Bangsa เสนีย์ และภูมิหลังของศิลปะการป้องกันตัว Silat 4. ระดับ Budi Pekerti Seni เป็นระดับการเรียนรู้เข้าใจกฏ ระเบียบและหลักเกณฑ์ของศิลปะการป้องกันตัว Silat 5. ระดับ Jiwa เสนีย์ Silat Silat 6. ระดับ Alam เสนีย์ Silat Silat Silat ของคุณคนทุกศิลปะหัวเรื่อง: การป้องกันคุณตัว Silat มีการเคลื่อนไหวช่วงลีลาการก้าวลูกไม้ การหลีกการตอบโต้การต่อยการถีบการโจมตี ดังนั้นศิลปะการป้องกันตัว Silat จึงมีหลากหลายชื่อเช่น1 เสนีย์ Silat Gayong 2 Silat Lincah เป็น 1 ใน 4 ของ Silat ที่ใหญ่ที่สุดในมาเลเซีย3 Silat Cekak เป็น 1 ใน 4 ของ Silat ที่ใหญ่ที่สุดในมาเลเซีย4 Silat Lintau 5 Silat Kalimah 6 kuntau Silat มลายู7 Silat นังกาเบา8 Silat Gayung ปัตตานีเกิดใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ แต่เติบโตในมาเลเซีย เป็น 1 ใน 4 ของ Silat ที่ใหญ่ที่สุดในมาเลเซีย9 Silat Sendeng 10 Silat Sunting 11 Silat Abjad 12 Silat Gayang มาเลเซียเป็น 1 ใน 4 ของ Silat (Pencak Silat) ปันจักสีลัต (Pencak Silat) "ปันจัก" (Pencak) หมายถึงการป้องกันตนเองและคำว่า "สีลัต" (Silat) ในภาคพื้นเอเชียอาคเนย์ ได้แก่ มาเลเซียอินโดนีเซียฟิลิปปินส์ สิงคโปร์บรูไน คือปัตตานียะลาสตูลนราธิวาสและสงขลาเรียก ว่า "สิละ" "ดีกา" หรือ "บือดีกา" มีบางท่านกล่าวว่าสิละมี รากคำว่าศิละ จึงมีคำสันสกฤตปรากฏอยู่มาก มีตำนานเล่าต่อกันมาหลายตำนาน อินโดนีเซียเล่าไปอย่างหนึ่งมาเลเซียก็เล่า ไปอีกอย่างหนึ่ง อาจารย์ประพนธ์เรืองณรงค์ เรื่องสิละมวยไทยมุสลิมเพ
























































การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: