โครงการในพระราชดําริการบำบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวาแนวพระราชดำริของพระบาทส การแปล - โครงการในพระราชดําริการบำบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวาแนวพระราชดำริของพระบาทส ไทย วิธีการพูด

โครงการในพระราชดําริการบำบัดน้ำเสีย

โครงการในพระราชดําริ
การบำบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวาแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



การบำบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนพระราชหฤทัยในการปรับปรุงคุณภาพของแหล่งน้ำที่มีอยู่แล้ว เช่น บึงและหนองต่างๆ เพื่อทำเป็นแหล่งบำบัดน้ำเสีย โดยหนึ่งในจำนวนนั้นได้แก่ โครงการบึงมักกะสันอันเนื่องมาจากพระราชดำริ มีหลักการบำบัดน้ำเสียตามแนวทฤษฎีการพัฒนาโดยการกรองน้ำเสียด้วยผักตบชวา (Filtration)

โครงการบึงมักกะสัน บึงมักกะสัน เป็นบึงขนาดใหญ่ที่อยู่ใจกลางกรุงเทพมหานคร รวมพื้นที่บึงประมาณ 92 ไร่ เป็นแหล่งน้ำอยู่ในเขตโรงงานรถไฟมักกะสันของการรถไฟแห่งประเทศไทย ซึ่งการรถไฟแห่งประเทศไทยได้ขุดขึ้น ในปี พ.ศ. 2474 เพื่อใช้เป็นแหล่งระบายน้ำและรองรับน้ำเสีย รวมทั้งน้ำมันเครื่องจากโรงงานรถไฟมักกะสัน ทำให้บึงมักกะสันตื้นเขิน จากการตกตะกอนของสารแขวนลอย กอปรกับรอบบึงมักกะสันมีชุมชนแออัด 3 ชุมชน รวม 729 ครัวเรือน ซึ่งส่วนใหญ่ต่างก็ถ่ายสิ่งปฏิกูลและขยะมูลฝอยลงสู่บึงมักกะสัน จนเกิดปัญหาภาวะสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมและน้ำเน่าเสียกลายเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงภาวะมลพิษนี้ จึงได้พระราชทานพระราชดำริ เมื่อวันที่ 15 เมษายน และวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2528 ให้หน่วยงานต่าง ๆ ร่วมกันปรับปรุงบึงมักกะสันเพื่อใช้เป็นสถานที่กักเก็บน้ำ ช่วยในการระบายน้ำในหน้าฝนและบรรเทาสภาพน้ำเสียในคลองสามเสน โดยพระราชทานคำแนะนำ ให้ใช้ผักตบชวากรองน้ำเสีย เพราะผักตบชวามีคุณสมบัติทำหน้าที่เป็นตัวกรอง ซึ่งเรียกว่า เครื่องกรองน้ำธรรมชาติ คือใช้ผักตบชวา ซึ่งเป็นวัชพืชที่มีอยู่มาก มาทำหน้าที่ดูดซับความโสโครก และสารพิษจากแหล่งน้ำเน่าเสีย และในเวลาเดียวกัน ก็ต้องหมั่นนำผักตบชวาออกจากบึงทุกๆ 10 สัปดาห์ เพื่อไม่ให้ผักตบชวามีการเจริญพันธุ์จนบดบังแสงแดดที่จะส่องลงไปในบึง

แต่หลังจากที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทย มีการก่อสร้างทางด่วนมหานครขั้น 2 ระยะที่ 1 โดยมีแนวผ่านบึงมักกะสันและมีตอม่อโครงสร้างอยู่กลางบึง ทำให้น้ำในบึงไม่ถูกแสงแดด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้พระราชทานพระราชดำริให้ใช้ เครื่องพ่นอากาศเข้าช่วย เมื่อมูลนิธิชัยพัฒนาและกรุงเทพมหานครรับสนองพระราชดำริ ทำให้บึงมักกะสัน สามารถฟอกน้ำในคลองสามเสนให้สะอาดขึ้น วันละ 260,000 ลูกบาศก์เมตร ด้วยการใช้เครื่องเติมอากาศแบบทุ่นลอยผสมกับการใช้ผักตบชวา สามารถบำบัดน้ำเสียได้เพิ่มจากเดิม 10 เท่า โดยมูลนิธิชัยพัฒนาเป็นผู้จัดหา และติดตั้งเครื่องเติมอากาศ ขนาด 11 KW จำนวน 10 เครื่อง และกรุงเทพมหานครเป็นผู้ดำเนินการขุดลอกบึง พร้อมทั้งติดตั้งเครื่องสูบน้ำและปลูกผักตบชวา สำหรับน้ำที่ใสสะอาดขึ้นนี้ให้ระบายออกสู่คลองธรรมชาติตามเดิม แล้วรับน้ำเสียจำนวนใหม่มาดำเนินการผ่านกรรมวิธีเป็นวงจรเช่นนี้ตลอดไปในอนาคต

เมื่อการกำจัดน้ำเน่าเสียด้วยผักตบชวาในบึงมักกะสันแห่งนี้ได้ผลดี ก็จะได้นำไปใช้เป็นแบบอย่างในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียที่แหล่งน้ำ หรือลำคลองอื่นต่อไป ซึ่งในขณะนี้กรุงเทพมหานครและการรถไฟแห่งประเทศไทย ร่วมเป็นหน่วยงานหลักในการใช้ประโยชน์ และดูแลรักษาบึงแห่งนี้ให้คงมีสภาพที่ดีสืบไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเปรียบเทียบว่า "บึงมักกะสัน" เป็นเสมือนดั่ง "ไตธรรมชาติ" ของกรุงเทพมหานคร ที่เป็นแหล่งเก็บกักและระบายน้ำในฤดูฝน สำหรับผักตบชวาและพืชน้ำอื่นๆ ก็จะกลายเป็นผลพลอยได้ที่นำมาทำเป็นปุ๋ย เชื้อเพลิง และสิ่งของเครื่องใช้ที่สานจากผักตบชวา อีกทั้งยังมีพืชน้ำบางชนิดที่นำมาเป็นอาหารได้ เช่น ผักบุ้ง รวมถึงสามารถเลี้ยงปลาในบึงเพื่อให้เป็นอาหารของประชาชนที่พักอาศัยอยู่โดยรอบได้อีกทางหนึ่งด้วย ผักตบชวาสามารถช่วยในการบำบัดน้ำเสีย โดยการทำหน้าที่กรองน้ำที่ไหลผ่านกอผักตบชวาอย่างช้าๆ ทำให้ของแข็งแขวนลอยต่างๆ ที่ปนอยู่ในน้ำถูกสกัดกั้นกรองออก นอกจากนั้น ระบบรากที่มีจำนวนมากจะช่วยกรองสารอินทรีย์ที่ละเอียด และจุลินทรีย์ที่อาศัยเกาะอยู่ที่ราก จะช่วยดูดสารอินทรีย์ไว้ด้วยอีกทางหนึ่ง รากผักตบชวาจะดูดสารอาหารที่อยู่ในน้ำ ทำให้ไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน้ำเสียจึงถูกกำจัดไป

อย่างไรก็ตามไนโตรเจนในน้ำเสียนั้น ส่วนมากจะอยู่ในรูปสารประกอบทางเคมี เช่น สารอินทรีย์ไนโตรเจน แอมโมเนียไนโตรเจน และไนเตรทไนโตรเจน พบว่า ผักตบชวาสามารถดูดไนโตรเจนได้ทั้ง 3 ชนิด แต่ในปริมาณที่แตกต่างกันคือ ผักตบชวาสามารถดูดอินทรีย์ไนโตรเจนได้สูงกว่าไนโตรเจนในรูปอื่นๆ คือ ประมาณ 95 % ขณะที่ไนเตรทไนโตรเจน และแอมโมเนียไนโตรเจน จะเป็นประมาณ 80 % และ 77 % ตามลำดับ


สถานที่แรกในประเทศไทยที่ใช้การบำบัดด้วยวิธีนี้คือ "บึงมักกะสัน" ซึ่งเป็นโครงการบึงมักกะสันอันเนื่องมาจากพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยใช้หลักการบำบัดน้ำเสียตามแนวทฤษฎีการพัฒนาโดยการกรองน้ำเสียด้วยผักตบชวา

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
โครงการในพระราชดําริการบำบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวาแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวการบำบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัยในการปรับปรุงคุณภาพของแหล่งน้ำที่มีอยู่แล้วเช่นบึงและหนองต่าง ๆ เพื่อทำเป็นแหล่งบำบัดน้ำเสียโดยหนึ่งในจำนวนนั้นได้แก่โครงการบึงมักกะสันอันเนื่องมาจากพระราชดำริมีหลักการบำบัดน้ำเสียตามแนวทฤษฎีการพัฒนาโดยการกรองน้ำเสียด้วยผักตบชวา (กรอง) โครงการบึงมักกะสันบึงมักกะสันเป็นบึงขนาดใหญ่ที่อยู่ใจกลางกรุงเทพมหานครรวมพื้นที่บึงประมาณ 92 ไร่เป็นแหล่งน้ำอยู่ในเขตโรงงานรถไฟมักกะสันของการรถไฟแห่งประเทศไทยซึ่งการรถไฟแห่งประเทศไทยได้ขุดขึ้นในปีพ.ศ. 2474 เพื่อใช้เป็นแหล่งระบายน้ำและรองรับน้ำเสียรวมทั้งน้ำมันเครื่องจากโรงงานรถไฟมักกะสันทำให้บึงมักกะสันตื้นเขินจากการตกตะกอนของสารแขวนลอยกอปรกับรอบบึงมักกะสันมีชุมชนแออัด 3 ชุมชนรวม 729 ครัวเรือนซึ่งส่วนใหญ่ต่างก็ถ่ายสิ่งปฏิกูลและขยะมูลฝอยลงสู่บึงมักกะสันจนเกิดปัญหาภาวะสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมและน้ำเน่าเสียกลายเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงภาวะมลพิษนี้จึงได้พระราชทานพระราชดำริเมื่อวันที่ 15 เมษายนและวันที่ 20 เมษายนพ.ศ. 2528 ให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมกันปรับปรุงบึงมักกะสันเพื่อใช้เป็นสถานที่กักเก็บน้ำช่วยในการระบายน้ำในหน้าฝนและบรรเทาสภาพน้ำเสียในคลองสามเสนโดยพระราชทานคำแนะนำให้ใช้ผักตบชวากรองน้ำเสียเพราะผักตบชวามีคุณสมบัติทำหน้าที่เป็นตัวกรองซึ่งเรียกว่าเครื่องกรองน้ำธรรมชาติคือใช้ผักตบชวาซึ่งเป็นวัชพืชที่มีอยู่มากมาทำหน้าที่ดูดซับความโสโครกและสารพิษจากแหล่งน้ำเน่าเสีย เพื่อไม่ให้ผักตบชวามีการเจริญพันธุ์จนบดบังแสงแดดที่จะส่องลงไปในบึงและในเวลาเดียวกันก็ต้องหมั่นนำผักตบชวาออกจากบึงทุก ๆ 10 สัปดาห์แต่หลังจากที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยมีการก่อสร้างทางด่วนมหานครขั้น 2 ระยะที่ 1 โดยมีแนวผ่านบึงมักกะสันและมีตอม่อโครงสร้างอยู่กลางบึงทำให้น้ำในบึงไม่ถูกแสงแดดพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้พระราชทานพระราชดำริให้ใช้เครื่องพ่นอากาศเข้าช่วยเมื่อมูลนิธิชัยพัฒนาและกรุงเทพมหานครรับสนองพระราชดำริทำให้บึงมักกะสันสามารถฟอกน้ำในคลองสามเสนให้สะอาดขึ้นวันละ 260,000 ลูกบาศก์เมตรด้วยการใช้เครื่องเติมอากาศแบบทุ่นลอยผสมกับการใช้ผักตบชวาสามารถบำบัดน้ำเสียได้เพิ่มจากเดิม 10 เท่าโดยมูลนิธิชัยพัฒนาเป็นผู้จัดหาและติดตั้งเครื่องเติมอากาศขนาด 11 KW จำนวน 10 เครื่องและกรุงเทพมหานครเป็นผู้ดำเนินการขุดลอกบึงพร้อมทั้งติดตั้งเครื่องสูบน้ำและปลูกผักตบชวาสำหรับน้ำที่ใสสะอาดขึ้นนี้ให้ระบายออกสู่คลองธรรมชาติตามเดิมแล้วรับน้ำเสียจำนวนใหม่มาดำเนินการผ่านกรรมวิธีเป็นวงจรเช่นนี้ตลอดไปในอนาคตเมื่อการกำจัดน้ำเน่าเสียด้วยผักตบชวาในบึงมักกะสันแห่งนี้ได้ผลดีก็จะได้นำไปใช้เป็นแบบอย่างในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียที่แหล่งน้ำหรือลำคลองอื่นต่อไปซึ่งในขณะนี้กรุงเทพมหานครและการรถไฟแห่งประเทศไทยร่วมเป็นหน่วยงานหลักในการใช้ประโยชน์และดูแลรักษาบึงแห่งนี้ให้คงมีสภาพที่ดีสืบไปพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเปรียบเทียบว่า "บึงมักกะสัน" เป็นเสมือนดั่ง "ไตธรรมชาติ" ของกรุงเทพมหานครที่เป็นแหล่งเก็บกักและระบายน้ำในฤดูฝนสำหรับผักตบชวาและพืชน้ำอื่น ๆ ก็จะกลายเป็นผลพลอยได้ที่นำมาทำเป็นปุ๋ยเชื้อเพลิงและสิ่งของเครื่องใช้ที่สานจากผักตบชวาอีกทั้งยังมีพืชน้ำบางชนิดที่นำมาเป็นอาหารได้เช่นผักบุ้งรวมถึงสามารถเลี้ยงปลาในบึงเพื่อให้เป็นอาหารของประชาชนที่พักอาศัยอยู่โดยรอบได้อีกทางหนึ่งด้วยผักตบชวาสามารถช่วยในการบำบัดน้ำเสียโดยการทำหน้าที่กรองน้ำที่ไหลผ่านกอผักตบชวาอย่างช้า ๆ ทำให้ของแข็งแขวนลอยต่าง ๆ ที่ปนอยู่ในน้ำถูกสกัดกั้นกรองออกนอกจากนั้นระบบรากที่มีจำนวนมากจะช่วยกรองสารอินทรีย์ที่ละเอียดและจุลินทรีย์ที่อาศัยเกาะอยู่ที่รากจะช่วยดูดสารอินทรีย์ไว้ด้วยอีกทางหนึ่งรากผักตบชวาจะดูดสารอาหารที่อยู่ในน้ำทำให้ไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน้ำเสียจึงถูกกำจัดไปอย่างไรก็ตามไนโตรเจนในน้ำเสียนั้นส่วนมากจะอยู่ในรูปสารประกอบทางเคมีเช่นสารอินทรีย์ไนโตรเจนแอมโมเนียไนโตรเจนและไนเตรทไนโตรเจนพบว่าผักตบชวาสามารถดูดไนโตรเจนได้ทั้ง 3 สิ่งแต่ในปริมาณที่แตกต่างกันคือผักตบชวาสามารถดูดอินทรีย์ไนโตรเจนได้สูงกว่าไนโตรเจนในรูปอื่น ๆ คือประมาณ 95% ขณะที่ไนเตรทไนโตรเจนและแอมโมเนียไนโตรเจนจะเป็นประมาณ 80% และ 77% ตามลำดับสถานที่แรกในประเทศไทยที่ใช้การบำบัดด้วยวิธีนี้คือ "บึงมักกะสัน" ซึ่งเป็นโครงการบึงมักกะสันอันเนื่องมาจากพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโดยใช้หลักการบำบัดน้ำเสียตามแนวทฤษฎีการพัฒนาโดยการกรองน้ำเสียด้วยผักตบชวา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เช่นบึงและหนองต่างๆเพื่อทำเป็นแหล่งบำบัดน้ำเสียโดยหนึ่งในจำนวนนั้น ได้แก่ (กรอง) โครงการบึงมักกะสันบึงมักกะสัน รวมพื้นที่บึงประมาณ 92 ไร่ ในปี พ.ศ. 2474 ทำให้บึงมักกะสันตื้นเขินจากการตกตะกอนของสารแขวนลอยกอปรกับรอบบึงมักกะสันมีชุมชนแออัด 3 ชุมชนรวม 729 ครัวเรือน จึงได้พระราชทานพระราชดำริเมื่อวันที่ 15 เมษายนและวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2528 ให้หน่วยงานต่าง ๆ โดยพระราชทานคำแนะนำให้ใช้ผักตบชวากรองน้ำเสีย ซึ่งเรียกว่าเครื่องกรองน้ำธรรมชาติคือใช้ผักตบชวาซึ่งเป็นวัชพืชที่มีอยู่มากมาทำหน้าที่ดูดซับความโสโครกและสารพิษจากแหล่งน้ำเน่าเสียและในเวลาเดียวกัน 10 สัปดาห์ มีการก่อสร้างทางด่วนมหานครขั้น 2 ระยะที่ 1 ทำให้น้ำในบึงไม่ถูกแสงแดด เครื่องพ่นอากาศเข้าช่วย ทำให้บึงมักกะสัน วันละ 260,000 ลูกบาศก์เมตร สามารถบำบัดน้ำเสียได้เพิ่มจากเดิม 10 เท่าโดยมูลนิธิชัยพัฒนาเป็นผู้จัดหาและติดตั้งเครื่องเติมอากาศขนาด 11 กิโลวัตต์จำนวน 10 เครื่อง หรือลำคลองอื่นต่อไป "บึงมักกะสัน" เป็นเสมือนดั่ง "ไตธรรมชาติ" ของกรุงเทพมหานคร สำหรับผักตบชวาและพืชน้ำอื่น ๆ เชื้อเพลิง เช่นผักบุ้ง ทำให้ของแข็งแขวนลอยต่างๆที่ปนอยู่ในน้ำถูกสกัดกั้นกรองออกนอกจากนั้น เช่นสารอินทรีย์ไนโตรเจนแอมโมเนียไนโตรเจนและไนเตรทไนโตรเจนพบว่าผักตบชวาสามารถดูดไนโตรเจนได้ทั้ง 3 ชนิด แต่ในปริมาณที่แตกต่างกันคือ คือประมาณ 95% ขณะที่ไนเตรทไนโตรเจนและแอมโมเนียไนโตรเจนจะเป็นประมาณ 80% และ 77% "บึงมักกะสัน"



















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
โครงการในพระราชดําริ




การบำบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวาแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวการบำบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัยในการปรับปรุงคุณภาพของแหล่งน้ำที่มีอยู่แล้วเช่นบึงและหนองต่างๆเพื่อทำเป็นแหล่งบำบัดน้ำเสียโดยหนึ่งในจำนวนนั้นได้แก่มีหลักการบำบัดน้ำเสียตามแนวทฤษฎีการพัฒนาโดยการกรองน้ำเสียด้วยผักตบชวา ( การกรอง )

โครงการบึงมักกะสันบึงมักกะสันเป็นบึงขนาดใหญ่ที่อยู่ใจกลางกรุงเทพมหานครรวมพื้นที่บึงประมาณ 92 ไร่เป็นแหล่งน้ำอยู่ในเขตโรงงานรถไฟมักกะสันของการรถไฟแห่งประเทศไทยซึ่งการรถไฟแห่งประเทศไทยได้ขุดขึ้นสามารถพ .ศ .2474 เพื่อใช้เป็นแหล่งระบายน้ำและรองรับน้ำเสียรวมทั้งน้ำมันเครื่องจากโรงงานรถไฟมักกะสันทำให้บึงมักกะสันตื้นเขินจากการตกตะกอนของสารแขวนลอยกอปรกับรอบบึงมักกะสันมีชุมชนแออัด 3 ชุมชนรวม 729 ครัวเรือนจนเกิดปัญหาภาวะสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมและน้ำเน่าเสียกลายเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงภาวะมลพิษนี้จึงได้พระราชทานพระราชดำริเมื่อวันที่ 15 เมษายนและวันที่ 20 เมษายนพ . ศ .2528 ให้หน่วยงานต่างจะร่วมกันปรับปรุงบึงมักกะสันเพื่อใช้เป็นสถานที่กักเก็บน้ำช่วยในการระบายน้ำในหน้าฝนและบรรเทาสภาพน้ำเสียในคลองสามเสนโดยพระราชทานคำแนะนำให้ใช้ผักตบชวากรองน้ำเสียซึ่งเรียกว่าเครื่องกรองน้ำธรรมชาติคือใช้ผักตบชวาซึ่งเป็นวัชพืชที่มีอยู่มากมาทำหน้าที่ดูดซับความโสโครกและสารพิษจากแหล่งน้ำเน่าเสียและในเวลาเดียวกันก็ต้องหมั่นนำผักตบชวาออกจากบึงทุกๆ 10 สัปดาห์

แต่หลังจากที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยมีการก่อสร้างทางด่วนมหานครขั้น 2 ระยะที่ 1 โดยมีแนวผ่านบึงมักกะสันและมีตอม่อโครงสร้างอยู่กลางบึงทำให้น้ำในบึงไม่ถูกแสงแดดเครื่องพ่นอากาศเข้าช่วยเมื่อมูลนิธิชัยพัฒนาและกรุงเทพมหานครรับสนองพระราชดำริทำให้บึงมักกะสันสามารถฟอกน้ำในคลองสามเสนให้สะอาดขึ้นวันละ 260 ,000 ลูกบาศก์เมตรด้วยการใช้เครื่องเติมอากาศแบบทุ่นลอยผสมกับการใช้ผักตบชวาสามารถบำบัดน้ำเสียได้เพิ่มจากเดิม 10 เท่าโดยมูลนิธิชัยพัฒนาเป็นผู้จัดหาและติดตั้งเครื่องเติมอากาศ Friday ' จำนวน 10 เครื่อง 11 กิโลวัตต์พร้อมทั้งติดตั้งเครื่องสูบน้ำและปลูกผักตบชวาสำหรับน้ำที่ใสสะอาดขึ้นนี้ให้ระบายออกสู่คลองธรรมชาติตามเดิมแล้วรับน้ำเสียจำนวนใหม่มาดำเนินการผ่านกรรมวิธีเป็นวงจรเช่นนี้ตลอดไปในอนาคต
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: