บทคัดย่อหัวข้อการค้นคว้าอิสระ พฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมื การแปล - บทคัดย่อหัวข้อการค้นคว้าอิสระ พฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมื ไทย วิธีการพูด

บทคัดย่อหัวข้อการค้นคว้าอิสระ พฤติก

บทคัดย่อ
หัวข้อการค้นคว้าอิสระ พฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ผู้ศึกษาค้นคว้า นางสาวเบญจมาศ อินทร์นอก
นางสาวปิยดา ศรีเมืองเบ้า
นางสาวภัสชาธร โยธาระ
นายวรวุฒิ อินลุเพท
นายธนากร ชละธาร
ระดับการศึกษา รัฐศาสตรบัณฑิต สาขาการเมืองการปกครอง, สาขารัฐประศาสนศาสตร์
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์จิตรลดา ไชยะ
สถานศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่พิมพ์ 2556
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และเพื่อนำผลงานการวิจัยนี้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งหมด 382 คน ได้จากการคำนวณโดยใช้สูตร ของทาโร่ยามาเน่ จำนวน 372 คน และกลุ่มตัวอย่างจากการสัมภาษณ์ จำนวน 10 คน และเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้คือ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า
1.พฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (¯x = 3.69) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านครอบครัวส่งผลมากที่สุดต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (¯x = 4.27) รองลงมาคือ ด้านอิทธิพลของชุมชนและสังคม (¯x = 3.72) ด้านอิทธิพลของวัฒนธรรม/ค่านิยมการแต่งกาย (¯x = 3.70) ด้านอิทธิพลของสื่อ/การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร (¯x = 3.47) และด้านที่ส่งผลน้อยที่สุดต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คือ การที่ผู้ปกครองให้อิสระในการไปเที่ยวนอกบ้าน (¯x = 3.29)
2.ข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหาเกี่ยวกับพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีดังนี้
2.1ผู้ปกครองควรหมั่นอบรมบุตรให้เห็นถึงข้อดีข้อเสียของการแต่งตัวที่เหมาะสมและไม่เหมาะสม และควรปลูกฝังให้กับบุตรอย่างต่อเนื่อง
2.2ครอบครัวและสังคมต้องหมั่นสอนบุตรให้มีวิจารณญาณในการเลือกรับข้อมูลจากสื่อต่างๆโดยช่วยกันสอดส่องดูแลพฤติกรรมการแต่งกาย หมั่นจัดกิจกรรมส่งเสริมการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยอย่างต่อเนื่อง และให้ภาครัฐออกมาตรการควบคุมการนำเสนอของสื่อให้เด็ดขาด มีบทลงโทษที่ชัดเจน และบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทคัดย่อหัวข้อการค้นคว้าอิสระพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครองมหาวิทยาลัยมหาสารคามผู้ศึกษาค้นคว้านางสาวเบญจมาศอินทร์นอก นางสาวปิยดาศรีเมืองเบ้า นางสาวภัสชาธรโยธาระ นายวรวุฒิอินลุเพท นายธนากรชละธาร ระดับการศึกษารัฐศาสตรบัณฑิตสาขาการเมืองการปกครอง สาขารัฐประศาสนศาสตร์อาจารย์ที่ปรึกษาอาจารย์จิตรลดาไชยะสถานศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคามปีที่พิมพ์ 2556การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครองมหาวิทยาลัยมหาสารคามเพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครองมหาวิทยาลัยมหาสารคามและเพื่อนำผลงานการวิจัยนี้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครองมหาวิทยาลัยมหาสารคามโดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งหมด 382 คนได้จากการคำนวณโดยใช้สูตรของทาโร่ยามาเน่จำนวน 372 คนและกลุ่มตัวอย่างจากการสัมภาษณ์จำนวน 10 คนและเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์สถิติที่ใช้คือการแจกแจงความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาผลการวิจัยพบว่า 1.พฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคามโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (¯x = 3.69) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านครอบครัวส่งผลมากที่สุดต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครองมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (¯x = 4.27) รองลงมาคือด้านอิทธิพลของชุมชนและสังคม (¯x = 3.72) ด้านอิทธิพลของวัฒนธรรม/ค่านิยมการแต่งกาย (¯x = 3.70) ด้านอิทธิพลของสื่อ/การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร (¯x = 3.47) และด้านที่ส่งผลน้อยที่สุดต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครองมหาวิทยาลัยมหาสารคามคือการที่ผู้ปกครองให้อิสระในการไปเที่ยวนอกบ้าน (¯x = 3.29)2.ข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหาเกี่ยวกับพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีดังนี้2.1ผู้ปกครองควรหมั่นอบรมบุตรให้เห็นถึงข้อดีข้อเสียของการแต่งตัวที่เหมาะสมและไม่เหมาะสม และควรปลูกฝังให้กับบุตรอย่างต่อเนื่อง2.2ครอบครัวและสังคมต้องหมั่นสอนบุตรให้มีวิจารณญาณในการเลือกรับข้อมูลจากสื่อต่างๆโดยช่วยกันสอดส่องดูแลพฤติกรรมการแต่งกาย หมั่นจัดกิจกรรมส่งเสริมการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยอย่างต่อเนื่องและให้ภาครัฐออกมาตรการควบคุมการนำเสนอของสื่อให้เด็ดขาดมีบทลงโทษที่ชัดเจนและบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
บทคัดย่อ
หัวข้อการค้นคว้าอิสระ
นางสาวเบญจมาศอินทร์นอก
นางสาวปิยดาศรีเมืองเบ้า
นางสาวภัสชาธรโยธาระ
นายวรวุฒิอินลุเพท
นายธนากรชละธาร
ระดับการศึกษารัฐศาสตรบัณฑิตสาขาการเมืองการปกครอง,
อาจารย์จิตรลดาไชยะ
สถานศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคามปีที่พิมพ์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคามโดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งหมด 382 คนได้จากการคำนวณโดยใช้สูตรของทาโร่ยามาเน่จำนวน 372 คนและกลุ่มตัวอย่างจากการสัมภาษณ์จำนวน 10 คน และแบบสัมภาษณ์สถิติที่ใช้คือการแจกแจงความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มหาวิทยาลัยมหาสารคามโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x = 3.69) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (x = 4.27) รองลงมาคือด้านอิทธิพลของชุมชนและสังคม (x = 3.72) (x = 3.70) (x = 3.47) มหาวิทยาลัยมหาสารคามคือ (x = มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีบทลงโทษที่ชัดเจนและบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด





การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
บทคัดย่อ
หัวข้อการค้นคว้าอิสระพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครองมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ผู้ศึกษาค้นคว้านางสาวเบญจมาศอินทร์นอกศรีเมืองเบ้านางสาวภัสชาธรโยธาระ


นางสาวปิยดานายวรวุฒิอินลุเพท

นายธนากรชละธารระดับการศึกษารัฐศาสตรบัณฑิตสาขาการเมืองการปกครองสาขารัฐประศาสนศาสตร์
, อาจารย์ที่ปรึกษาอาจารย์จิตรลดาไชยะมหาวิทยาลัยมหาสารคามปีที่พิมพ์ 2556

สถานศึกษาการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครองมหาวิทยาลัยมหาสารคามเพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครองและเพื่อนำผลงานการวิจัยนี้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครองมหาวิทยาลัยมหาสารคามโดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งหมด 382 คนได้จากการคำนวณโดยใช้สูตรของทาโร่ยามาเน่372 คนและกลุ่มตัวอย่างจากการสัมภาษณ์จำนวน 10 คนและเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์สถิติที่ใช้คือการแจกแจงความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า
1 พฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครองมหาวิทยาลัยมหาสารคามโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( ¯ x = 369 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านครอบครัวส่งผลมากที่สุดต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครองมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ( ¯ X = 4.27 ) รองลงมาคือด้านอิทธิพลของชุมชนและสังคม ( ¯ x = 372 ) ด้านอิทธิพลของวัฒนธรรม / ค่านิยมการแต่งกาย ( ¯ x = 3.70 ) ด้านอิทธิพลของสื่อ / การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ( ¯ x = 347 ) และด้านที่ส่งผลน้อยที่สุดต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครองมหาวิทยาลัยมหาสารคามความการที่ผู้ปกครองให้อิสระในการไปเที่ยวนอกบ้าน ( ¯ X = 3.29 )
2ข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหาเกี่ยวกับพฤติกรรมการแต่งกายของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครองมหาวิทยาลัยมหาสารคามมีดังนี้
21 ผู้ปกครองควรหมั่นอบรมบุตรให้เห็นถึงข้อดีข้อเสียของการแต่งตัวที่เหมาะสมและไม่เหมาะสมและควรปลูกฝังให้กับบุตรอย่างต่อเนื่อง
22 ครอบครัวและสังคมต้องหมั่นสอนบุตรให้มีวิจารณญาณในการเลือกรับข้อมูลจากสื่อต่างๆโดยช่วยกันสอดส่องดูแลพฤติกรรมการแต่งกายหมั่นจัดกิจกรรมส่งเสริมการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยอย่างต่อเนื่องมีบทลงโทษที่ชัดเจนและบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: