วิหารจัตุรมุข วัดภูมินทร์ จังหวัดน่านวิหารจัตุรมุข วัดภูมินทร์ จังหวัด การแปล - วิหารจัตุรมุข วัดภูมินทร์ จังหวัดน่านวิหารจัตุรมุข วัดภูมินทร์ จังหวัด ไทย วิธีการพูด

วิหารจัตุรมุข วัดภูมินทร์ จังหวัดน่


วิหารจัตุรมุข วัดภูมินทร์ จังหวัดน่าน
วิหารจัตุรมุข วัดภูมินทร์ จังหวัดน่าน
จิตรกรรมฝาผนัง วัดภูมินทร์ จังหวัดน่าน
จิตรกรรมฝาผนัง วัดภูมินทร์ จังหวัดน่านจิตรกรรมฝาผนัง วัดภูมินทร์ จังหวัดน่าน
วัดภูมินทร์
วัดภูมินทร์ อยู่ใกล้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่านเป็นวัดที่มีลักษณะแปลกกว่าวัดอื่น ๆ คือ โบสถ์และวิหาร สร้างเป็นอาคารหลังเดียวกัน ประตูไม้ทั่งสี่ทิศ แกะสลักลวดลายงดงามโดยฝีมือช่างเมืองน่าน นอกจากนี้ฝาผนังแสดงถึงชีวิตและวัฒนธรรมของยุดสมัยที่ผ่านมาความสวยแปลกของวัดภูมินทร์ คือ เป็นพระอุโบสถและพระวิหารสร้างเป็นอาคารหลังเดียวกัน เป็นทรงจัตุรมุข (กรมศิลปากร ได้สันนิษฐานว่าเป็นอุโบสถจัตุรมุขหลังแรกของประเทศไทย) นาคสะดุ้งขนาดใหญ่ แห่แหนพระอุโบสถเทินไว้บนกลางลำตัว ตรงใจกลางพระอุโบสถประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัยขนาดใหญ่สี่องค์ ประทับนั่งบนฐานชุกชี หันพระพักตร์ออกด้านประตู ทั้งสี่ทิศ เบื้องพระปฤษฎางค์ชนกัน ภายในพระอุโบสถ มีภาพจิตรกรรมฝาผนังศิลปกรรมไทลื้อ ที่เล่าเรื่องชาดก ตำนานพื้นบ้าน และความเป็นอยู่ของชาวน่านในอดีต

ประวัติของวัด
ตามพงศาวดารเมืองน่าน วัดภูมินทร์สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2139 โดยพระเจ้าเจตบุตรพรหมมินทร์ หลังจากที่พระองค์ทรงครองนครน่านได้ 6 ปี มีปรากฏในคัมภีร์เมืองเหนือว่า เดิมชื่อ “วัดพรหมมินทร์” ซึ่งเป็นชื่อของเจ้าเจตบุตรพรหมมินทร์ ผู้สร้างแต่ตอนหลังชื่อวัดได้เพี้ยนไปจากเดิมเป็นวัดภูมินทร์ วัดแห่งนี้ได้รับการบูรณะครั้งใหญ่เมื่อ พ.ศ. 2410 หลังจากที่สร้างมา 271 ปี โดยเจ้าอนันตวรฤทธิเดช เจ้าผู้ครองนครน่าน โปรดให้ซ่อมแซมครั้งใหญ่แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2418 (ปลายสมัยรัชกาลที่ 4) ใช้เวลาซ่อมนานถึง 7 ปี จิตรกรรมฝาผนังในวิหารหลวงก็เขียนขึ้นในช่วงนี้ ภาพจิตรกรรมหรือ “ฮูบแต้ม” ในวัดภูมินทร์เป็นชาดกในพุทธศาสนาแต่ถ้าพิจารณารายละเอียดของวิถีชีวิตของคนเมืองในสมัยนั้น

สิ่งน่าสนใจ
วิหารจัตุรมุข เป็นงานสถาปัตยกรรมล้านนาแบบพิเศษ ที่มีความงดงามอยู่อย่างลงตัว โดยนำโบสถ์และวิหารมาสร้างรวมเข้าเป็นอาคารเดียวกัน รูปจัตุรมุข มีบันได และประตูออกทั้งสี่ทิศ ที่ราวบันไดเป็นปูนปั้นรูปพญานาค หันเศียรนาคขึ้นสู่เบื้องบน ภายในวิหารมีพระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัยขนาดใหญ่สี่องค์ หันพระปฤษฎางค์ (หลัง) ชนกัน บ่ายพระพักตร์สู่ประตูทางเข้าทั้งสี่ทิศ เบื้องหลังพระปฤษฎางค์เป็นฐานเจดีย์สี่เหลี่ยมย่อมุมสิบสอง

จิตรกรรมฝาผนัง ภาพวาดปรากฏอยู่บนผนังด้านในวิหารจัตุรมุขทั้งสี่ด้าน ผนังด้านทิศเหนือ ตะวันออก และใต้ เป็นภาพพระพุทธเจ้าประทับนั่งปางมารวิชัย มีพระสาวกนั่งข้างละสององค์ สันนิษฐานว่าคงเป็นตอนที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเทศนา และต่ำลงมาได้เขียนเป็นภาพขนาดเล็กเล่าเรื่อง “คันธกุมารชาดก”ต่อเนื่องกันตลอดทั้งสามด้าน ส่วนผนังด้านทิศตะวันตก ตอนบนเป็นภาพพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานในปางไสยาสน์ มีพระสาวกแสดงอาการเศร้าโศกอยู่สี่องค์ ตอนล่างลงมาเป็นภาพเล่าเรื่อง “พระเตมีราชชาดก” นอกจากนี้ยังมีภาพจิตรกรรมซึ่งโดดเด่นเป็นพิเศษคือ ภาพเหมือนบุคคลและภาพวิถีชีวิตชาวน่านในอดีต ที่น่าสนใจ ได้แก่

1. ภาพบริเวณยอดเสาซ้ายมือของประตูด้านทิศตะวันออก นักวิชาการสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นภาพเหมือนของเจ้าอนันตวรฤทธิเดช ผู้ปฏิสังขรณ์วัดนี้

2. ภาพผนังขวามือของประตูทางทิศเหนือ เป็นภาพชายหญิงกลุ่มหนึ่งยืนหยอกเย้า เกี้ยวพาราสีกัน แสดงให้เห็นถึงสภาพชีวิตความเป็นอยู่และการแต่งกายในอดีต สังเกตว่าช่างได้ใส่อารมณ์ความรู้สึกลงบนใบหน้าคนในภาพอยู่างเต็มที่ ซึ่งต่างกับงานจิตรกรรมฝาผนังในภาคกลางอยู่างสิ้นเชิง เป็นภาพที่มีชื่อเสียงและงดงามมาก พลาดชมไม่ได้
3. ภาพที่ยอดเสาขวามือของประตูด้านทิศตะวันตก เป็นภาพชายวัยกลางคนมีเคราดก ใบหน้าคล้ายชาวตะวันตก สวมเสื้อสีแดง สวมหมวก และสะพายย่าม สันนิษฐานว่าเป็นมิชชันนารีที่เข้ามาเผยแผ่ศาสนา
4. ภาพบนผนังซ้ายมือของประตูด้านทิศตะวันตก เป็นรูปชายหนู่มหญิงสาวกำลังเกี้ยวพาราสีกัน ชายเปลือยอก เห็นรอยสักเต็มไปทั้งแขน ไหล่ หน้าอก พุง และหน้าขา เป็นการสักตามสมัยนิยม อันเป็นที่มาของการเรียกคนกลุ่มนี้ว่า “ลาวพุงดำ” ตำแหน่งของภาพจงใจเขียนให้อยู่ข้างหลังประตู และเขียนอยู่างประณีตมาก น่าจะเป็นภาพเหมือนของช่างวาดเอง ภาพนี้จัดเป็นภาพชิ้นเยี่ยม

5. ภาพธรรมเนียมการอยู่ข่วง ของชาวไทลื้อ พ่อแม่ จะอนุญาตให้หนุ่มสาวพบปะกันที่ชานบ้านในเวลาค่ำ ขณะหญิงสาวกำลังปั่นฝ้าย หรือ “อยู่ข่วง” หากสาวเจ้าตกลงปลงใจด้วยก็จะจัดพิธีแต่งงาน หรือที่เรียกว่า “เอาคำ ไปป่องกั๋น” หรือเป็นทองแผ่นเดียวกัน การค้าขายแลกเปลี่ยนในชุมชน

6. ภาพชาวพื้นเมือง ซึ่งอาจเป็นชาวเขา “เป๊อะ” ของป่าบนศรีษะ เพื่อนำมาแลกเปลี่ยนกับคนเมือง

7. ภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนเมืองน่าน หญิงสาวกำลังทอผ้าด้วยกี่พื้นเมือง นอกชานมีเรือนเล็กๆตั้งหม้อน้ำดินเผาที่เรียกว่า “ร้านน้ำ” ส่วนชายหนุ่มไว้ผมทรงหลักแจวหรือทรงมหาดไทย แสดงให้เห็นอิทธิพลตะวันตกที่เข้ามาผสมผสานในวิถีพื้นเมืองน่าน

8. ภาพชาวต่างประเทศ ที่เข้ามาเมืองน่านช่วงรัชกาลที่ 5 ทรงผม และเครื่องแต่งกายของผู้หญิงเป็นรูปแบบเดียวกับที่กำลังเป็นที่นิยมในยุโรปขณะนั้น

ที่ตั้ง ในตัวเมือง ต. ในเวียง อ. เมือง ใกล้ภิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติจังหวัดน่าน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
วิหารจัตุรมุขวัดภูมินทร์จังหวัดน่านวิหารจัตุรมุขวัดภูมินทร์จังหวัดน่านจิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร์จังหวัดน่านจิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร์จังหวัดน่านจิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร์จังหวัดน่าน วัดภูมินทร์วัดภูมินทร์อยู่ใกล้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่านเป็นวัดที่มีลักษณะแปลกกว่าวัดอื่นๆ คือโบสถ์และวิหารสร้างเป็นอาคารหลังเดียวกันประตูไม้ทั่งสี่ทิศแกะสลักลวดลายงดงามโดยฝีมือช่างเมืองน่านนอกจากนี้ฝาผนังแสดงถึงชีวิตและวัฒนธรรมของยุดสมัยที่ผ่านมาความสวยแปลกของวัดภูมินทร์คือเป็นพระอุโบสถและพระวิหารสร้างเป็นอาคารหลังเดียวกันเป็นทรงจัตุรมุข (กรมศิลปากรได้สันนิษฐานว่าเป็นอุโบสถจัตุรมุขหลังแรกของประเทศไทย) นาคสะดุ้งขนาดใหญ่แห่แหนพระอุโบสถเทินไว้บนกลางลำตัวตรงใจกลางพระอุโบสถประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัยขนาดใหญ่สี่องค์ประทับนั่งบนฐานชุกชีหันพระพักตร์ออกด้านประตูทั้งสี่ทิศเบื้องพระปฤษฎางค์ชนกันภายในพระอุโบสถมีภาพจิตรกรรมฝาผนังศิลปกรรมไทลื้อที่เล่าเรื่องชาดกตำนานพื้นบ้านและความเป็นอยู่ของชาวน่านในอดีตประวัติของวัด ตามพงศาวดารเมืองน่าน วัดภูมินทร์สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2139 โดยพระเจ้าเจตบุตรพรหมมินทร์ หลังจากที่พระองค์ทรงครองนครน่านได้ 6 ปี มีปรากฏในคัมภีร์เมืองเหนือว่า เดิมชื่อ “วัดพรหมมินทร์” ซึ่งเป็นชื่อของเจ้าเจตบุตรพรหมมินทร์ ผู้สร้างแต่ตอนหลังชื่อวัดได้เพี้ยนไปจากเดิมเป็นวัดภูมินทร์ วัดแห่งนี้ได้รับการบูรณะครั้งใหญ่เมื่อ พ.ศ. 2410 หลังจากที่สร้างมา 271 ปี โดยเจ้าอนันตวรฤทธิเดช เจ้าผู้ครองนครน่าน โปรดให้ซ่อมแซมครั้งใหญ่แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2418 (ปลายสมัยรัชกาลที่ 4) ใช้เวลาซ่อมนานถึง 7 ปี จิตรกรรมฝาผนังในวิหารหลวงก็เขียนขึ้นในช่วงนี้ ภาพจิตรกรรมหรือ “ฮูบแต้ม” ในวัดภูมินทร์เป็นชาดกในพุทธศาสนาแต่ถ้าพิจารณารายละเอียดของวิถีชีวิตของคนเมืองในสมัยนั้นสิ่งน่าสนใจวิหารจัตุรมุข เป็นงานสถาปัตยกรรมล้านนาแบบพิเศษ ที่มีความงดงามอยู่อย่างลงตัว โดยนำโบสถ์และวิหารมาสร้างรวมเข้าเป็นอาคารเดียวกัน รูปจัตุรมุข มีบันได และประตูออกทั้งสี่ทิศ ที่ราวบันไดเป็นปูนปั้นรูปพญานาค หันเศียรนาคขึ้นสู่เบื้องบน ภายในวิหารมีพระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัยขนาดใหญ่สี่องค์ หันพระปฤษฎางค์ (หลัง) ชนกัน บ่ายพระพักตร์สู่ประตูทางเข้าทั้งสี่ทิศ เบื้องหลังพระปฤษฎางค์เป็นฐานเจดีย์สี่เหลี่ยมย่อมุมสิบสองจิตรกรรมฝาผนัง ภาพวาดปรากฏอยู่บนผนังด้านในวิหารจัตุรมุขทั้งสี่ด้าน ผนังด้านทิศเหนือ ตะวันออก และใต้ เป็นภาพพระพุทธเจ้าประทับนั่งปางมารวิชัย มีพระสาวกนั่งข้างละสององค์ สันนิษฐานว่าคงเป็นตอนที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเทศนา และต่ำลงมาได้เขียนเป็นภาพขนาดเล็กเล่าเรื่อง “คันธกุมารชาดก”ต่อเนื่องกันตลอดทั้งสามด้าน ส่วนผนังด้านทิศตะวันตก ตอนบนเป็นภาพพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานในปางไสยาสน์ มีพระสาวกแสดงอาการเศร้าโศกอยู่สี่องค์ ตอนล่างลงมาเป็นภาพเล่าเรื่อง “พระเตมีราชชาดก” นอกจากนี้ยังมีภาพจิตรกรรมซึ่งโดดเด่นเป็นพิเศษคือ ภาพเหมือนบุคคลและภาพวิถีชีวิตชาวน่านในอดีต ที่น่าสนใจ ได้แก่1. ภาพบริเวณยอดเสาซ้ายมือของประตูด้านทิศตะวันออกนักวิชาการสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นภาพเหมือนของเจ้าอนันตวรฤทธิเดชผู้ปฏิสังขรณ์วัดนี้2. ภาพผนังขวามือของประตูทางทิศเหนือเป็นภาพชายหญิงกลุ่มหนึ่งยืนหยอกเย้าเกี้ยวพาราสีกันแสดงให้เห็นถึงสภาพชีวิตความเป็นอยู่และการแต่งกายในอดีตสังเกตว่าช่างได้ใส่อารมณ์ความรู้สึกลงบนใบหน้าคนในภาพอยู่างเต็มที่ซึ่งต่างกับงานจิตรกรรมฝาผนังในภาคกลางอยู่างสิ้นเชิงเป็นภาพที่มีชื่อเสียงและงดงามมากพลาดชมไม่ได้3. ภาพที่ยอดเสาขวามือของประตูด้านทิศตะวันตกเป็นภาพชายวัยกลางคนมีเคราดกใบหน้าคล้ายชาวตะวันตกสวมเสื้อสีแดงสวมหมวกและสะพายย่ามสันนิษฐานว่าเป็นมิชชันนารีที่เข้ามาเผยแผ่ศาสนา4. ภาพบนผนังซ้ายมือของประตูด้านทิศตะวันตกเป็นรูปชายหนู่มหญิงสาวกำลังเกี้ยวพาราสีกันชายเปลือยอกเห็นรอยสักเต็มไปทั้งแขนไหล่หน้าอกพุงและหน้าขาเป็นการสักตามสมัยนิยมอันเป็นที่มาของการเรียกคนกลุ่มนี้ว่า "ลาวพุงดำ" ตำแหน่งของภาพจงใจเขียนให้อยู่ข้างหลังประตูและเขียนอยู่างประณีตมากน่าจะเป็นภาพเหมือนของช่างวาดเองภาพนี้จัดเป็นภาพชิ้นเยี่ยม5. ภาพธรรมเนียมการอยู่ข่วงของชาวไทลื้อพ่อแม่จะอนุญาตให้หนุ่มสาวพบปะกันที่ชานบ้านในเวลาค่ำขณะหญิงสาวกำลังปั่นฝ้ายหรือ "อยู่ข่วง" หากสาวเจ้าตกลงปลงใจด้วยก็จะจัดพิธีแต่งงานหรือที่เรียกว่า "เอาคำไปป่องกั๋น" หรือเป็นทองแผ่นเดียวกันการค้าขายแลกเปลี่ยนในชุมชน6. ภาพชาวพื้นเมืองซึ่งอาจเป็นชาวเขา "เป๊อะ" ของป่าบนศรีษะเพื่อนำมาแลกเปลี่ยนกับคนเมือง7. ภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนเมืองน่าน หญิงสาวกำลังทอผ้าด้วยกี่พื้นเมือง นอกชานมีเรือนเล็กๆตั้งหม้อน้ำดินเผาที่เรียกว่า “ร้านน้ำ” ส่วนชายหนุ่มไว้ผมทรงหลักแจวหรือทรงมหาดไทย แสดงให้เห็นอิทธิพลตะวันตกที่เข้ามาผสมผสานในวิถีพื้นเมืองน่าน8. ภาพชาวต่างประเทศ ที่เข้ามาเมืองน่านช่วงรัชกาลที่ 5 ทรงผม และเครื่องแต่งกายของผู้หญิงเป็นรูปแบบเดียวกับที่กำลังเป็นที่นิยมในยุโรปขณะนั้นที่ตั้ง ในตัวเมือง ต. ในเวียง อ. เมือง ใกล้ภิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติจังหวัดน่าน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

จัตุรมุขวัดวิหารภูมินทร์จังหวัดน่านวิหารจัตุรมุขวัดภูมินทร์จังหวัดน่านจิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร์จังหวัดน่านจิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร์จังหวัดน่านจิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร์จังหวัดน่านวัดภูมินทร์วัดภูมินทร์ ๆ คือโบสถ์และวิหารสร้างเป็นอาคารหลังเดียวกันประตูไม้ทั่งสี่ทิศ คือ เป็นทรงจัตุรมุข (กรมศิลปากร นาคสะดุ้งขนาดใหญ่แห่แหนพระอุโบสถเทินไว้บนกลางลำตัว ประทับนั่งบนฐานชุกชีหันพระพักตร์ออกด้านประตูทั้งสี่ทิศเบื้องพระปฤษฎางค์ชนกันภายในพระอุโบสถมีภาพจิตรกรรมฝาผนังศิลปกรรมไทลื้อที่เล่าเรื่องชาดกตำนานพื้นบ้าน วัดภูมินทร์สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2139 โดยพระเจ้าเจตบุตรพรหมมินทร์ 6 ปีมีปรากฏในคัมภีร์เมืองเหนือว่าเดิมชื่อ "วัดพรหมมินทร์" พ.ศ. 2410 หลังจากที่สร้างมา 271 ปีโดยเจ้าอนันตวรฤทธิเดชเจ้าผู้ครองนครน่าน พ.ศ. 2418 (ปลายสมัยรัชกาลที่ 4) ใช้เวลาซ่อมนานถึง 7 ปี ภาพจิตรกรรมหรือ "ฮูบแต้ม" เป็นงานสถาปัตยกรรมล้านนาแบบพิเศษที่มีความงดงามอยู่อย่างลงตัว รูปจัตุรมุขมีบันไดและประตูออกทั้งสี่ทิศที่ราวบันไดเป็นปูนปั้นรูปพญานาคหันเศียรนาคขึ้นสู่เบื้องบน หันพระปฤษฎางค์ (หลัง) ชนกัน ผนังด้านทิศเหนือตะวันออกและใต้ มีพระสาวกนั่งข้างละสององค์ ส่วนผนังด้านทิศตะวันตก ตอนล่างลงมาเป็นภาพเล่าเรื่อง "พระเตมีราชชาดก" ที่น่าสนใจ ได้แก่1 ผู้ปฏิสังขรณ์วัดนี้2. ภาพผนังขวามือของประตูทางทิศเหนือ เกี้ยวพาราสีกัน เป็นภาพที่มีชื่อเสียงและงดงามมากพลาดชมไม่ได้3 เป็นภาพชายวัยกลางคนมีเคราดกใบหน้าคล้ายชาวตะวันตกสวมเสื้อสีแดงสวมหมวกและสะพายย่าม ชายเปลือยอกเห็นรอยสักเต็มไปทั้งแขนไหล่หน้าอกพุงและหน้าขาเป็นการสักตามสมัยนิยม "ลาวพุงดำ" และเขียนอยู่างประณีตมากน่าจะเป็นภาพเหมือนของช่างวาดเองภาพนี้จัดเป็นภาพชิ้นเยี่ยม5. ภาพธรรมเนียมการอยู่ข่วงของชาวไทลื้อพ่อแม่ ขณะหญิงสาวกำลังปั่นฝ้ายหรือ "อยู่ข่วง" หรือที่เรียกว่า "เอาคำไปป่องกั๋น" หรือเป็นทองแผ่นเดียวกันการค้าขายแลกเปลี่ยนในชุมชน6. ภาพชาวพื้นเมืองซึ่งอาจเป็นชาวเขา "เป๊อะ" ของป่าบนศรีษะเพื่อนำมาแลกเปลี่ยนกับคนเมือง7 หญิงสาวกำลังทอผ้าด้วยกี่พื้นเมือง "ร้านน้ำ" ภาพชาวต่างประเทศที่เข้ามาเมืองน่านช่วงรัชกาลที่ 5 ทรงผม ในตัวเมืองต. ในเวียงอ. เมือง




























การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!


วิหารจัตุรมุขวัดภูมินทร์จังหวัดน่านวิหารจัตุรมุขวัดภูมินทร์จังหวัดน่าน
จิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร์จังหวัดน่าน
จิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร์จังหวัดน่านจิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร์จังหวัดน่าน

วัดภูมินทร์วัดภูมินทร์อยู่ใกล้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่านเป็นวัดที่มีลักษณะแปลกกว่าวัดอื่นไม่มีความโบสถ์และวิหารสร้างเป็นอาคารหลังเดียวกันประตูไม้ทั่งสี่ทิศแกะสลักลวดลายงดงามโดยฝีมือช่างเมืองน่านความเป็นพระอุโบสถและพระวิหารสร้างเป็นอาคารหลังเดียวกันเป็นทรงจัตุรมุข ( กรมศิลปากรได้สันนิษฐานว่าเป็นอุโบสถจัตุรมุขหลังแรกของประเทศไทย ) นาคสะดุ้งขนาดใหญ่แห่แหนพระอุโบสถเทินไว้บนกลางลำตัวประทับนั่งบนฐานชุกชีหันพระพักตร์ออกด้านประตูทั้งสี่ทิศเบื้องพระปฤษฎางค์ชนกันภายในพระอุโบสถมีภาพจิตรกรรมฝาผนังศิลปกรรมไทลื้อที่เล่าเรื่องชาดกตำนานพื้นบ้านและความเป็นอยู่ของชาวน่านในอดีต


ตามพงศาวดารเมืองน่านประวัติของวัดวัดภูมินทร์สร้างขึ้นเมื่อพ . ศ .2139 โดยพระเจ้าเจตบุตรพรหมมินทร์หลังจากที่พระองค์ทรงครองนครน่านได้ 6 . มีปรากฏในคัมภีร์เมืองเหนือว่าเดิมชื่อ " วัดพรหมมินทร์ " ซึ่งเป็นชื่อของเจ้าเจตบุตรพรหมมินทร์วัดแห่งนี้ได้รับการบูรณะครั้งใหญ่เมื่อพ .ศ . 2410 หลังจากที่สร้างมา 271 . โดยเจ้าอนันตวรฤทธิเดชเจ้าผู้ครองนครน่านโปรดให้ซ่อมแซมครั้งใหญ่แล้วเสร็จเมื่อปีพ . ศ .2418 ( ปลายสมัยรัชกาลที่ 4 ) ใช้เวลาซ่อมนานถึง 7 . จิตรกรรมฝาผนังในวิหารหลวงก็เขียนขึ้นในช่วงนี้ภาพจิตรกรรมหรือ " ฮูบแต้ม "

สิ่งน่าสนใจวิหารจัตุรมุขเป็นงานสถาปัตยกรรมล้านนาแบบพิเศษที่มีความงดงามอยู่อย่างลงตัวโดยนำโบสถ์และวิหารมาสร้างรวมเข้าเป็นอาคารเดียวกันรูปจัตุรมุขมีบันไดและประตูออกทั้งสี่ทิศที่ราวบันไดเป็นปูนปั้นรูปพญานาคภายในวิหารมีพระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัยขนาดใหญ่สี่องค์หันพระปฤษฎางค์ ( หลัง ) ชนกันบ่ายพระพักตร์สู่ประตูทางเข้าทั้งสี่ทิศเบื้องหลังพระปฤษฎางค์เป็นฐานเจดีย์สี่เหลี่ยมย่อมุมสิบสอง
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: