การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ [ intravenous therapy and transfusion ]  วั การแปล - การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ [ intravenous therapy and transfusion ]  วั ไทย วิธีการพูด

การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ [ intrav

การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
[ intravenous therapy and transfusion ]

วัตถุประสงค์ของการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1.รักษาภาวะสมดุลของน้ำและสารน้ำในร่างกาย
2.ให้สารอาหาร วิตามิน และเป็นแหล่งพลังงานแก่ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้
3.รักษาภาวะสมดุลของความเป็นกรด-ด่างในร่างกาย
4.รักษาภาวะสมดุลและปริมาตรของเลือดและส่วนประกอบของเลือด
5.ให้ยาฉีดบางชนิดเข้าทางหลอดเลือดดำ



ชนิดของการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำแบ่งออกเป็น 3 ชนิด
1. การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย( peripheral intravenous infusion )
2. การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่( central venous therapy )
3.การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
( implanted vascular access device or venousport )
สารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำทุกชนิด ประกอบด้าน ตัวถูกละลาย รวมทั้งอิเล็กโตไรต์ หรือส่วนประกอบที่ไม่ใช่ไอออน เช่น ยูเรีย กลูโคส แบ่งออกตามความเข็มข้นได้ 3 ชนิดดังนี้
1. สารละลายไอโซโทนิก ( isotonic solution )
จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์(extracellular fluid)ซึ่งมีออสโมลาริตี้ระหว่าง 280-310 m0sm/l เมื่อให้ทางหลอดเลือดดำจะไม่มีการเคลื่อนที่ของน้ำ เข้าหรือออกจากเซลล์ ฉะนั้นการให้สารน้ำชนิด isotonic จึงช่วยเพิ่มปริมาตรของน้ำที่อยู่นอกเซลล์
2. สารละลายไฮโปโทนิก( hypotonic solution )
ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า 280 m0sm/l ซึ่งค่า osmolarityน้อยกว่าน้ำนอกเซลล์ เป็นสารน้ำที่มีโมเลกุลอิสระของน้ำมากกว่าในเซลล์ จึงทำให้เกิดการเคลื่อนของน้ำเข้าสู่เซลล์ ฉะนั้นการให้สารน้ำชนิดนี้ต้องให้อย่างช้าๆ เพื่อป้องการลบกวนของเซลล์
3. สารละลายไฮเปอร์โทนิก( hypertonic solution )
เป็นสารน้ำที่มีค่าออสโมลาริตี้ มากกว่า 310 m0sm/l ซึ่งมีมากกว่าออสโมลาริตี้ของน้ำนอกเซลล์ สารน้ำอันนี้มีโมเลกุลอิสระของน้ำน้อยกว่าน้ำในเซลล์ และจะทำให้เกิดการดึงน้ำจากเซลล์สู่ระบบการไหลเวียน

ชนิดของการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ

แบ่งออกเป็น 3 ชนิดใหญ่
1. การให้สารน้ำทางหลออดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral intravenous infusion)
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้นๆของผิวหนังหรือหลอดเลือดดำที่อยู่ในสวนปลายของแขนและขา โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ต้องงดอาหารและน้ำดื่มเพื่อเตรียมผ่าตัด ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้ยาทางหลอดเลือดดำ โดยเฉพาะการให้ยาที่ผสมเจือจางและหยดเข้าทางหลอดเลือดดำช้าๆ รวมทั้งการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
Heparin lock หรือ Saline lock เป็นการแทงเข็มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลายและคาเข็มที่หล่อด้วยสารต้านการแข็งตัวของเลือด(Heparin) เจือจาง (Heparin : 0.9 % NSS=1:100)² ไว้เพื่อวัตถุประสงค์ในการให้สารละลายและยาเข้าทางหลอดเลือดดำเป็นครั้งเป็นคราว
Piggyback IV Administration เป็นการให้สารน้ำขวดที่ 2 ซึ่งมีขนาดบรรจุ 25 – 250 มล.² ต่รอเข้ากับชุดให้สารน้ำขวดแรก วัตถุประสงค์เพื่อให้ยาหยดเข้าทางหลอดเลือดดำช้าๆ ขณะที่สารน้ำใน Piggyback set หยด สารน้ำที่ที่ให้อยู่ก่อนจะหยุดไหลชั่วคราว จนกว่าสารน้ำใน Piggyback หมด สารน้ำในขวดหลักก็จะไหลต่อ
2. การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ (Central venous therapy)
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทาง central line ทางหลอดเลือดดำใหญ่ๆ ได้แก่ Subclavian vien,Internal & External jugular viens , Right &Left Nominate veins ซึ่งจะให้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปาก หรือรับประทานอาหารทางปากได้ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
3. การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง (Implanted vascular
access device หรือ Venous port)
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลวทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนัง โดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่ เช่น Subclavian vien , Right &Left Nominate veins แก่ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้สารละลายทางหลอดเลือดดำเป็นระยะๆ และไม่สามารถให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำส่วนปลายได้ เช่น ในผู้ป่วยโรคเลือดเรื้อรัง จำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด หรือให้เลือดและส่วนประกอบของเลือดเป็นระยะๆ
นิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำทุกชนิดประกอบด้วย ตัวถูกละลาย รวมทั้งอิเล็กโทรไรต์ หรือ ส่วนประกอบที่ไม่ใช่อิออน เช่น ยูเรีย กลูโคส แบ่งตามความเข้มข้น ได้เป็น 3 ชนิด ดังนี้
1. สารละลายไอโซนิค (Isotonic solution)
2. สารละลายไฮโปโทนิค (Hypotonic solution)
3. สารละลายไฮเปอร์โทนิค ( Hypertonic solution)


หลักการเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็มให้สารน้ำ
พยาบาลผู้เตรียมให้สารน้ำจะต้องพิจารณาเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็มให้สารน้ำ โดยมีหลีกการดังต่อไปนี้
1. เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถใช้แขนข้างที่ถนัดทำกิจวัตรต่างๆไดด้วยตนเอง
2. ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน เพื่อให้หลอดเลือดดำส่วนที่ถัดเข้ามาสามารถใช้งานได้อีก
3. หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผ่าตัดโดยเฉพาะบริเวณรักแร้ของแขนข้างนั้น
4. ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
5. หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่างๆ เพราะจะทำให้หลอดเลือดแตกทะลุง่าย หรือถ้าจำเป็นต้องแทงบริเวณข้อพับให้ใช้ไม้ดามป้องกันการงอพับ
ตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็มให้สารน้ำ (Venipuncture Site)
ตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็มให้สารน้ำ ได้แก่ หลอดเลือดดำเส้นใหญ่ๆ ส่วนปลายของมือและเท้า และที่หนังศีรษะ (scalp) ในผู้ป่วยเด็กเล็ก
อุปกรณ์ที่ใช้ในการให้สารน้ำ
o ขวดสารน้ำ
o ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set)
o เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral insertion devices)
o อุปกรณ์อื่นๆ เช่น เสาแขวนขวดให้สารน้ำ ยางรัดแขน (tourniguet) แผ่นโปร่งใสปิดตำแหน่งที่แทงเข็ม (transparent dressing) หรือก๊อซปลอดเชื้อ ไม้รองแขน พลาสเตอร์ สำลีปลอดเชื้อ แอลกอฮอร์ 70% ถุงมือสะอาด อุปกรณ์เสริมกรณีจำเป็น ได้แก่ ที่ต่อ 3 ทาง และสายต่อขยาย (extention tube)
วิธีปฏิบัติในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1. ตรวจสอบคำสั่งการรักษา และเขียนชื่อนามสกุลของผู้ป่วย ชนิดของสารน้ำ วัน เวลาที่เริ่มให้อัตราการหยดของสารน้ำ ลงในแผ่นฉลากปิดข้างขวดเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำในปริมาณที่ถูกต้องสอดคล้องกับแผนการรักษา
2. เตรียมสารน้ำให้ถูกต้อง และปิดแผ่นฉลากท
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ [หลอดเลือดดำและฉีด] วัตถุประสงค์ของการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ 1.รักษาภาวะสมดุลของน้ำและสารน้ำในร่างกาย2.ให้สารอาหาร วิตามินและเป็นแหล่งพลังงานแก่ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้ 3.รักษาภาวะสมดุลของความเป็นกรด-ด่างในร่างกาย4.รักษาภาวะสมดุลและปริมาตรของเลือดและส่วนประกอบของเลือด 5.ให้ยาฉีดบางชนิดเข้าทางหลอดเลือดดำ ชนิดของการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำแบ่งออกเป็น 3 สิ่ง 1. การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย (ต่อพ่วงฉีดคอนกรีต) 2. การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ (กลางดำบำบัด)3.การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง ( implanted vascular access device or venousport ) สารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำทุกชนิด ประกอบด้าน ตัวถูกละลาย รวมทั้งอิเล็กโตไรต์ หรือส่วนประกอบที่ไม่ใช่ไอออน เช่น ยูเรีย กลูโคส แบ่งออกตามความเข็มข้นได้ 3 ชนิดดังนี้ 1. สารละลายไอโซโทนิก ( isotonic solution ) จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์(extracellular fluid)ซึ่งมีออสโมลาริตี้ระหว่าง 280-310 m0sm/l เมื่อให้ทางหลอดเลือดดำจะไม่มีการเคลื่อนที่ของน้ำ เข้าหรือออกจากเซลล์ ฉะนั้นการให้สารน้ำชนิด isotonic จึงช่วยเพิ่มปริมาตรของน้ำที่อยู่นอกเซลล์2. สารละลายไฮโปโทนิก (hypotonic โซลูชัน) ออสโมลาริตี้น้อยกว่า 280 m0sm/l ซึ่งค่า osmolarityน้อยกว่าน้ำนอกเซลล์ เป็นสารน้ำที่มีโมเลกุลอิสระของน้ำมากกว่าในเซลล์จึงทำให้เกิดการเคลื่อนของน้ำเข้าสู่เซลล์ฉะนั้นการให้สารน้ำชนิดนี้ต้องให้อย่างช้า ๆ เพื่อป้องการลบกวนของเซลล์3. สารละลายไฮเปอร์โทนิก (hypertonic โซลูชัน) เป็นสารน้ำที่มีค่าออสโมลาริตี้มากกว่า 310 m0sm/l ซึ่งมีมากกว่าออสโมลาริตี้ของน้ำนอกเซลล์สารน้ำอันนี้มีโมเลกุลอิสระของน้ำน้อยกว่าน้ำในเซลล์และจะทำให้เกิดการดึงน้ำจากเซลล์สู่ระบบการไหลเวียน ชนิดของการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ชนิดใหญ่แบ่งออกเป็น 3 1. การให้สารน้ำทางหลออดเลือดดำส่วนปลาย (ต่อพ่วงฉีดคอนกรีต) เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้นๆของผิวหนังหรือหลอดเลือดดำที่อยู่ในสวนปลายของแขนและขาโดยเฉพาะผู้ป่วยที่ต้องงดอาหารและน้ำดื่มเพื่อเตรียมผ่าตัดผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้ยาทางหลอดเลือดดำโดยเฉพาะการให้ยาที่ผสมเจือจางและหยดเข้าทางหลอดเลือดดำช้า ๆ รวมทั้งการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด Heparin lock หรือ Saline lock เป็นการแทงเข็มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลายและคาเข็มที่หล่อด้วยสารต้านการแข็งตัวของเลือด(Heparin) เจือจาง (Heparin : 0.9 % NSS=1:100)² ไว้เพื่อวัตถุประสงค์ในการให้สารละลายและยาเข้าทางหลอดเลือดดำเป็นครั้งเป็นคราว Piggyback IV Administration เป็นการให้สารน้ำขวดที่ 2 ซึ่งมีขนาดบรรจุ 25 – 250 มล.² ต่รอเข้ากับชุดให้สารน้ำขวดแรก วัตถุประสงค์เพื่อให้ยาหยดเข้าทางหลอดเลือดดำช้าๆ ขณะที่สารน้ำใน Piggyback set หยด สารน้ำที่ที่ให้อยู่ก่อนจะหยุดไหลชั่วคราว จนกว่าสารน้ำใน Piggyback หมด สารน้ำในขวดหลักก็จะไหลต่อ2. การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ (Central venous therapy) เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทางกลางสายลักเวียน Subclavian ได้แก่ทางหลอดเลือดดำใหญ่ ๆ viens jugular ภายในและภายนอก ขวาและซ้ายเสนอหลอดเลือดดำซึ่งจะให้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากหรือรับประทานอาหารทางปากได้ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย3. การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง (Implanted ของหลอดเลือด เข้าถึงอุปกรณ์หรือต่อหลอดเลือดดำพอร์)หลอดเลือดดำเป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลวทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนังโดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่เช่น Subclavian ลักเวียน ขวาและซ้ายเสนอแก่ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้สารละลายทางหลอดเลือดดำเป็นระยะ ๆ และไม่สามารถให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำส่วนปลายได้เช่นในผู้ป่วยโรคเลือดเรื้อรังจำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดหรือให้เลือดและส่วนประกอบของเลือดเป็นระยะ ๆนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ สารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำทุกชนิดประกอบด้วยตัวถูกละลายรวมทั้งอิเล็กโทรไรต์หรือส่วนประกอบที่ไม่ใช่อิออนเช่นยูเรียกลูโคสแบ่งตามความเข้มข้นได้เป็น 3 สิ่งดังนี้1. สารละลายไอโซนิค (Isotonic โซลูชัน)2. สารละลายไฮโปโทนิค (Hypotonic โซลูชัน)3. สารละลายไฮเปอร์โทนิค (Hypertonic โซลูชัน) หลักการเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็มให้สารน้ำ พยาบาลผู้เตรียมให้สารน้ำจะต้องพิจารณาเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็มให้สารน้ำโดยมีหลีกการดังต่อไปนี้1. เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อนเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถใช้แขนข้างที่ถนัดทำกิจวัตรต่างๆไดด้วยตนเอง2. ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน เพื่อให้หลอดเลือดดำส่วนที่ถัดเข้ามาสามารถใช้งานได้อีก3. หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผ่าตัดโดยเฉพาะบริเวณรักแร้ของแขนข้างนั้น4. ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ5. หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่างๆ เพราะจะทำให้หลอดเลือดแตกทะลุง่าย หรือถ้าจำเป็นต้องแทงบริเวณข้อพับให้ใช้ไม้ดามป้องกันการงอพับตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็มให้สารน้ำ (Venipuncture Site) ตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็มให้สารน้ำ ได้แก่ หลอดเลือดดำเส้นใหญ่ๆ ส่วนปลายของมือและเท้า และที่หนังศีรษะ (scalp) ในผู้ป่วยเด็กเล็กอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้สารน้ำo ขวดสารน้ำo ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set)o เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral insertion devices)o อุปกรณ์อื่นๆ เช่น เสาแขวนขวดให้สารน้ำ ยางรัดแขน (tourniguet) แผ่นโปร่งใสปิดตำแหน่งที่แทงเข็ม (transparent dressing) หรือก๊อซปลอดเชื้อ ไม้รองแขน พลาสเตอร์ สำลีปลอดเชื้อ แอลกอฮอร์ 70% ถุงมือสะอาด อุปกรณ์เสริมกรณีจำเป็น ได้แก่ ที่ต่อ 3 ทาง และสายต่อขยาย (extention tube)วิธีปฏิบัติในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ1. ตรวจสอบคำสั่งการรักษา และเขียนชื่อนามสกุลของผู้ป่วย ชนิดของสารน้ำ วัน เวลาที่เริ่มให้อัตราการหยดของสารน้ำ ลงในแผ่นฉลากปิดข้างขวดเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำในปริมาณที่ถูกต้องสอดคล้องกับแผนการรักษา2. เตรียมสารน้ำให้ถูกต้อง และปิดแผ่นฉลากท
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
[ ]

การฉีดเข้าหลอดเลือดดำและให้เลือดวัตถุประสงค์ของการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1 รักษาภาวะสมดุลของน้ำและสารน้ำในร่างกาย
2
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: