ขันธ์ 5 ในส่วนที่เป็นจิตและเจตสิก จิต หรือ วิญญาณธาตุ แปลว่า สภาวะที่ร การแปล - ขันธ์ 5 ในส่วนที่เป็นจิตและเจตสิก จิต หรือ วิญญาณธาตุ แปลว่า สภาวะที่ร ไทย วิธีการพูด

ขันธ์ 5 ในส่วนที่เป็นจิตและเจตสิก จ

ขันธ์ 5 ในส่วนที่เป็นจิตและเจตสิก
จิต หรือ วิญญาณธาตุ แปลว่า สภาวะที่รู้ เมื่อมีร่างกายจึงรู้คิด รู้พิจารณา รู้จักไตร่ตรอง ใคร่คราญได้ หมายถึง สภาพที่รู้คิด รู้พิจารณา ไตร่ตรอง โดยต้องมีร่างกายที่มีอาการ 32 ครบ เป็นเครื่องมือ หรือภาวะที่รู้แจ้งอารมณ์
เจตสิก หมายถึง สภาวะที่ประกอบกับจิต คุณสมบัติและอาการของจิต มีจิตฝ่ายกุศล จิตฝ่ายอกุศล และจิตที่เป็นกลางๆ คือไม่ดีไม่ชั่วชีวิตประกอบด้วย ร่างกายและจิต (รูปและนาม)
1. รูป หมายถึง ร่างกาย คือ ส่วนประกอบของชีวิตเป็นสสาร (ธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ)
2. เวทนา หมายถึง อาการที่เป็นความสุข ความทุกข์ และไม่เป็นสุขไม่เป็นทุกข์ ที่เกิดขึ้นกับร่างกายและใจ เรียกว่า กายเป็นทุกข์ ใจเป็นทุกข์
3. สัญญา หมายถึง ความจำได้หมายรู้ในสิ่งต่างๆ ของใจ
4. สังขาร หมายถึง การคิดปรุงแต่งทั้งทางดี ทางชั่ว ไม่ดีไม่ชั่ว ของใจ
5. วิญญาณ หมายถึง ความรู้แจ้งทางอารมณ์ในสิ่งต่างๆ ของใจ มี 6 ทาง คือ ตา (จักขุ) หู (โสต) จมูก (ฆานะ) ลิ้น(ชิวหา) กาย (กายะ) ใจ (มโน) ประกอบด้วย - ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่ตามองเห็นสิ่งต่างๆ เรียก จักขุวิญญาณ
- ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่หูได้ยินเสียงสิ่งต่างๆ เรียก โสตวิญญาณ
- ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่จมูกสูดดมกลิ่นสิ่งต่างๆ เรียก ฆานวิญญาณ
- ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่ลิ้นได้ลิ้มรสสิ่งต่างๆ เรียก ชิวหาวิญญาณ
- ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่กายได้สัมผัสสิ่งต่างๆ เรียก กายวิญญาณ
- ความรู้แจ้งทางอารมณ์เมื่อใจได้สัมผัสอารมณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในใจ เรียก มโนวิญญาณ
กระบวนการของการเกิดความทุกข์ของมนุษย์เราโดยสังเขป จะเกิดขึ้นเมื่อใด
ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่ตามองเห็นสิ่งต่างๆ ที่ไม่ดี ไม่ชอบ ไม่ปรารถนา แล้วเกิดความไม่พอใจ โดยแสดงอาการท่าทางต่างๆ ออกมาทางกาย ทางวาจา ให้เห็น นั่นคือ ความทุกข์
ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่หูได้ยินเสียงสิ่งต่างๆ ที่ไม่ดี ไม่ชอบ ไม่ปรารถนา แล้วเกิดความไม่พอใจ โดยแสดงอาการท่าทางต่างๆ ออกมาทางกาย ทางวาจา ให้เห็น นั่นคือ ความทุกข์
ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่จมูกสูดดมกลิ่นสิ่งต่างๆ ที่ไม่ดี ไม่ชอบ ไม่ปรารถนา แล้วเกิดความไม่พอใจ โดยแสดงอาการท่าทางต่างๆ ออกมาทางกาย ทางวาจา ให้เห็น นั่นคือ ความทุกข์
ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่ลิ้นได้ลิ้มรสสิ่งต่างๆ ที่ไม่ดี ไม่ชอบ ไม่ปรารถนา แล้วเกิดความไม่พอใจ โดยแสดงอาการท่าทางต่างๆ ออกมาทางกาย ทางวาจา ให้เห็น นั่นคือ ความทุกข์
ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่กายได้สัมผัสสิ่งต่างๆ ที่ไม่ดี ไม่ชอบ ไม่ปรารถนา แล้วเกิดความไม่พอใจ โดยแสดงอาการท่าทางต่างๆ ออกมาทางกาย ทางวาจา ให้เห็น นั่นคือ ความทุกข์
ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่ใจได้สัมผัสอารมณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในใจ ที่ไม่ดี ไม่ชอบ ไม่ปรารถนา เพราะจำได้หมายรู้ (สัญญา) แล้วคิดปรุงแต่งไม่ดี (สังขาร) แล้วเกิดความไม่พอใจ อิจฉาริษยา โกรธ พยาบาทปองร้าง ฯลฯ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ขันธ์ 5 ในส่วนที่เป็นจิตและเจตสิก จิตหรือวิญญาณธาตุแปลว่าสภาวะที่รู้เมื่อมีร่างกายจึงรู้คิดรู้พิจารณารู้จักไตร่ตรองใคร่คราญได้หมายถึงสภาพที่รู้คิดรู้พิจารณาไตร่ตรองโดยต้องมีร่างกายที่มีอาการ 32 ครบเป็นเครื่องมือหรือภาวะที่รู้แจ้งอารมณ์ เจตสิกหมายถึงสภาวะที่ประกอบกับจิตคุณสมบัติและอาการของจิตมีจิตฝ่ายกุศลจิตฝ่ายอกุศลและจิตที่เป็นกลาง ๆ คือไม่ดีไม่ชั่วชีวิตประกอบด้วยร่างกายและจิต (รูปและนาม) 1. รูปหมายถึงร่างกายคือส่วนประกอบของชีวิตเป็นสสาร (ธาตุดินน้ำลมไฟ) 2. เวทนาหมายถึงอาการที่เป็นความสุขความทุกข์และไม่เป็นสุขไม่เป็นทุกข์ที่เกิดขึ้นกับร่างกายและใจเรียกว่ากายเป็นทุกข์ใจเป็นทุกข์ 3. สัญญาหมายถึงความจำได้หมายรู้ในสิ่งต่าง ๆ ของใจ 4. สังขารหมายถึงการคิดปรุงแต่งทั้งทางดีทางชั่วไม่ดีไม่ชั่วของใจ 5. วิญญาณหมายถึงความรู้แจ้งทางอารมณ์ในสิ่งต่าง ๆ ของใจมี 6 ชนิดคือตา (จักขุ) หู (โสต) จมูก (ฆานะ) ลิ้น(ชิวหา)กาย (กายะ) ใจ (มโน) ประกอบด้วย - ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่ตามองเห็นสิ่งต่าง ๆ เรียกจักขุวิญญาณ -ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่หูได้ยินเสียงสิ่งต่าง ๆ เรียกโสตวิญญาณ -ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่จมูกสูดดมกลิ่นสิ่งต่าง ๆ เรียกฆานวิญญาณ -ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่ลิ้นได้ลิ้มรสสิ่งต่าง ๆ เรียกชิวหาวิญญาณ -ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่กายได้สัมผัสสิ่งต่าง ๆ เรียกกายวิญญาณ -ความรู้แจ้งทางอารมณ์เมื่อใจได้สัมผัสอารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในใจเรียกมโนวิญญาณ กระบวนการของการเกิดความทุกข์ของมนุษย์เราโดยสังเขปจะเกิดขึ้นเมื่อใด ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่ตามองเห็นสิ่งต่าง ๆ ที่ไม่ดีไม่ชอบไม่ปรารถนาแล้วเกิดความไม่พอใจโดยแสดงอาการท่าทางต่าง ๆ ออกมาทางกายทางวาจาให้เห็นนั่นคือความทุกข์ ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่หูได้ยินเสียงสิ่งต่าง ๆ ที่ไม่ดีไม่ชอบไม่ปรารถนาแล้วเกิดความไม่พอใจโดยแสดงอาการท่าทางต่าง ๆ ออกมาทางกายทางวาจาให้เห็นนั่นคือความทุกข์ ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่จมูกสูดดมกลิ่นสิ่งต่าง ๆ ที่ไม่ดีไม่ชอบไม่ปรารถนาแล้วเกิดความไม่พอใจโดยแสดงอาการท่าทางต่าง ๆ ออกมาทางกายทางวาจาให้เห็นนั่นคือความทุกข์ ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่ลิ้นได้ลิ้มรสสิ่งต่าง ๆ ที่ไม่ดีไม่ชอบไม่ปรารถนาแล้วเกิดความไม่พอใจโดยแสดงอาการท่าทางต่าง ๆ ออกมาทางกายทางวาจาให้เห็นนั่นคือความทุกข์ ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่กายได้สัมผัสสิ่งต่าง ๆ ที่ไม่ดีไม่ชอบไม่ปรารถนาแล้วเกิดความไม่พอใจโดยแสดงอาการท่าทางต่าง ๆ ออกมาทางกายทางวาจาให้เห็นนั่นคือความทุกข์ ความรู้แจ้งทางอารมณ์ที่ใจได้สัมผัสอารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในใจที่ไม่ดีไม่ชอบไม่ปรารถนาเพราะจำได้หมายรู้ (สัญญา) แล้วคิดปรุงแต่งไม่ดี (สังขาร) แล้วเกิดความไม่พอใจอิจฉาริษยาโกรธพยาบาทปองร้างฯลฯ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ขันธ์ 5 ในส่วนที่เป็นจิตเจตสิกและ
จิตวิญญาณธาตุหรือแปลว่าได้สภาวะที่รู้เมื่อมีร่างกายจึงรู้คิดรู้พิจารณารู้จักไตร่ตรองใคร่คราญได้หมายถึงสภาพที่รู้คิดรู้พิจารณาไตร่ตรองโดยของคุณต้องมีร่างกายที่มีอาการครบเป็น 32 เครื่องมือหรือภาวะที่รู้แจ้งอารมณ์
เจตสิกหมายถึงสภาวะที่ประกอบกับจิตคุณสมบัติและอาการของจิตมีจิตฝ่ายกุศลจิตฝ่ายอกุศลและจิตที่เป็นกลางๆคือไม่ดีไม่ชั่วชีวิตประกอบด้วยร่างกายและจิต (รูปและนาม)
1 รูปหมายถึงร่างกายคือส่วนประกอบของชีวิตเป็นสสาร (ธาตุดินน้ำลมไฟ)
2 เวทนาหมายถึงอาการที่เป็นความสุขความทุกข์และไม่เป็นสุขไม่เป็นทุกข์ที่เกิดขึ้นกับร่างกายและใจเรียกว่ากายเป็นทุกข์ใจเป็นทุกข์
3 สัญญาหมายถึงความจำได้หมายรู้ในสิ่งต่างๆของใจ
4 สังขารหมายถึงการคิดปรุงแต่งทั้งทางดีทางชั่วไม่ดีไม่ชั่วของใจ
5 วิญญาณหมายถึงความรู้แจ้งทางอารมณ์ในสิ่งต่างๆของใจมี 6 ทางคือตา (จักขุ) หู (โสต) จมูก (ฆานะ) ลิ้น (ชิวหา) กาย (กายะ) ใจ (มโน) ประกอบด้วย - เรียกจักขุวิญญาณ
- เรียกโสตวิญญาณ
- เรียกฆานวิญญาณ
- เรียกชิวหาวิญญาณ
- เรียกกายวิญญาณ
- ที่เกิดขึ้นในใจเรียก ที่ไม่ดีไม่ชอบไม่ปรารถนาแล้วเกิดความไม่พอใจโดยแสดงอาการท่าทางต่างๆออกมาทางกายทางวาจาให้เห็นนั่นคือ ที่ไม่ดีไม่ชอบไม่ปรารถนาแล้วเกิดความไม่พอใจโดยแสดงอาการท่าทางต่างๆออกมาทางกายทางวาจาให้เห็นนั่นคือ ที่ไม่ดีไม่ชอบไม่ปรารถนาแล้วเกิดความไม่พอใจโดยแสดงอาการท่าทางต่างๆออกมาทางกายทางวาจาให้เห็นนั่นคือ ที่ไม่ดีไม่ชอบไม่ปรารถนาแล้วเกิดความไม่พอใจโดยแสดงอาการท่าทางต่างๆออกมาทางกายทางวาจาให้เห็นนั่นคือ ที่ไม่ดีไม่ชอบไม่ปรารถนาแล้วเกิดความไม่พอใจโดยแสดงอาการท่าทางต่างๆออกมาทางกายทางวาจาให้เห็นนั่นคือ ที่เกิดขึ้นในใจที่ไม่ดีไม่ชอบไม่ปรารถนาเพราะจำได้หมายรู้ (สัญญา) แล้วคิดปรุงแต่งไม่ดี (สังขาร) แล้วเกิดความไม่พอใจอิจฉาริษยาโกรธพยาบาทปองร้าง ฯลฯ







การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Don't worry.Don't worry.Don't worry.Don't worry.Don't worry.Don't worry.Don't worry.Don't worry.Don't worry.Don't worry.Don't worry.Don't worry.Don't worry.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: