เทคนิคการประชาสัมพันธ์เชิงรุก และการประชาสัมพันธ์ในภาวะวิกฤตเทคนิคการป การแปล - เทคนิคการประชาสัมพันธ์เชิงรุก และการประชาสัมพันธ์ในภาวะวิกฤตเทคนิคการป ไทย วิธีการพูด

เทคนิคการประชาสัมพันธ์เชิงรุก และกา

เทคนิคการประชาสัมพันธ์เชิงรุก และการประชาสัมพันธ์ในภาวะวิกฤต
เทคนิคการประชาสัมพันธ์เชิงรุก และการประชาสัมพันธ์ในภาวะวิกฤต


อ.นพดล วศินสุนทร (PhD Candidate)

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่




บทนำ


การประชาสัมพันธ์ ภาษาอังกฤษคือ Public Relation พบว่า ในก่อนศตวรรษที่ 21 สังคมโลกเป็นสังคมที่การควบคุมขึ้นตรงกับอำนาจทางกายภาพ เช่น การใช้กำลัง หรืออาวุธ แต่ในศตวรรษที่ 21 หรือยุคปัจจุบัน พบว่าอำนาจการควบคุมสังคมต้องอาศัยการสื่อสาร(เรืองศักดิ์ 2006) หรือปัจจุบันเรียกว่ายุคของข้อมูลข่าวสาร (Information)ซึ่งการสื่อสารดังกล่าวมีความสำคัญต่อประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะการสื่อสารในรูปแบบการประชาสัมพันธ์กลายเป็นสิ่งที่มีบทบาทและความสำคัญอย่างมากในองค์กรต่างๆในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน แต่ทว่าการสื่อสารในยุคข้อมูลข่าวสารมีการแข่งขันกันสูง และแนวคิดการสื่อสารมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ นั้นจึงเป็นข้อถกเถียงอย่างมากเกี่ยวกับหลักการประชาสัมพันธ์ที่ได้ผล หรือการประชาสัมพันธ์อย่างทันท่วงทีต่อกระแสของข้อมูลข่าวสารที่นับวันจะมีความหลากหลายมากขึ้น และที่สำคัญประชาชนก็มีความรู้มากขึ้น ดังนั้นการเสนอข้อมูลข่าวสารเพื่อสร้างสัมพันธ์และความเข้าใจต่อผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์กรจึงเป็นเรื่องที่นักประชาสัมพันธ์จะต้องตื่นตัว และแสวงหานวัตกรรมการสื่อสารสมัยใหม่ เพื่อสร้างความเข้าใจ เข้าถึงและมีส่วนร่วมได้อย่างมีประสิทธิภาพ


นักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของคำว่า การประชาสัมพันธ์ (Public Relations)

ซึ่งพอจะสรุปได้ว่า การประชาสัมพันธ์เป็นการสื่อสารเพื่อจัดการขององค์กรให้เกิดสัมพันธภาพอันดีกับผู้รับข่าวสารกลุ่มต่างๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับความคิดเห็น (Opinion) ทัศนคติ (Attitude) และค่านิยม (Value) หรือเป็นการติดต่อสื่อสารกับชุมชนทั้งภายในภายนอกเพื่อสร้างภาพพจน์ขององค์กรกับสาธารณะชน อีกทั้งยังมีความพยายามที่ได้วางแผนอย่างต่อเนื่องที่จะสร้างและรักษาไว้ซึ่งความปรารถนาดีและความเข้าใจกันระหว่างองค์การและสาธารณชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การ อันจะทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ดังนั้นหัวใจสำคัญของการประชาสัมพันธ์จึงหนีไม่พ้นการสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องระหว่างองค์กรกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ซึ่งในที่นี้หมายรวมถึงลูกค้า ประชาชน ชุมชน สมาคม หน่วยราชการ และเจ้าหน้าที่ พนักงานทุกระดับในองค์กร




ดังนั้นการประชาสัมพันธ์ ที่ดีและแข็งแกร่งนั้น ไม่ว่าจะเป็นทีมภายในองค์กร หรือ

ที่ปรึกษาภายนอก มีบทบาทสำคัญในการเป็นทั้งตัวเชื่อมและกันชนระหว่างองค์กรกับสาธารณชน ทั้งนี้การประชาสัมพันธ์ที่ดียังขึ้นอยู่กับสถานการณ์ คุณสมบัติของนักประชาสัมพันธ์ ลักษณะของนักประชาสัมพันธ์ที่ดีต้องมีใจรักงานประชาสัมพันธ์ และนักประชาสัมพันธ์ยังจะต้อง รู้รอบ รอบรู้ รวดเร็ว เร่งรัด รอบคอบ รักเรียน เรียนลัด และปรับตัว


เทคนิคการประชาสัมพันธ์เชิงรุก


หากพิจารณาวาทกรรมของคำว่า “การประชาสัมพันธ์เชิงรุก” แล้วนั้นอาจมีข้อสงสัยว่าทำไมต้องเป็นเชิงรุก การประชาสัมพันธ์โดยปกติไม่เพียงพอหรือว่าอย่างไร นั้นเป็นเพราะว่าปัจจุบันข้อมูลข่าวสารในสังคมมีมากมาย การจะทำให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรู้สึกดีกับองค์กรจำเป็นจะต้องมีการวางแผนการสื่อสารที่มองไปข้างหน้า กล่าวคือไม่รอให้สงสัย ไม่รอให้หวาดระแวง

ไม่รอให้คนวิ่งมาถาม หรือแม้แต่ไม่รอให้เข้าใจไปเอง แต่การประชาสัมพันธ์เชิงรุกจะเป็นการสร้างความสมบูรณ์(complete)ในความสัมพันธ์อันดีให้เกิดขึ้นก่อนใคร สาเหตุที่ต้องเป็นแบบนี้ก็เพราะว่าความต้องการหรือความคาดหวังที่ไม่สิ้นสุดของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและของทุกคนในองค์กร


เทคนิคในการประชาสัมพันธ์ที่จะนำไปสู่ความสำเร็จได้ต้องเข้าใจก่อนว่า

การประชาสัมพันธ์ คือการนำข้อมูลข่าวสารจากองค์กรไปสู่บุคคล จากบุคคลออกไปสู่สังคมภายนอก จนกระทั่งออกไปสู่ภายนอกประเทศ หรือระดับโลก นักประชาสัมพันธ์จึงต้องให้ความใส่กับสิ่งต่างๆได้แก่ ตัวบุคคลคือตัวเราสำคัญที่สุด ทุกแห่ง ทุกที่ ทุกสถานการณ์ โดยแต่ละคนต้องมีความเข้าใจพื้นฐานของข่าวสารและการพัฒนาข่าวสารและต้องมีความตั้งใจจริงที่จะเปิดรับฟังข้อมูล ต้องเปิดใจแบบ 360 องศา คือเปิดรอบด้านและต้องเป็นคนใจกว้างสามารถรับข้อมูลได้ทั้งหมดทุกรูปแบบ และต้องรู้จักไตร่ตรอง วินิจฉัย รู้จักคิด และมองในหลายๆมิติ ทั้งนี้ยังต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อส่วนตัว ส่วนรวมและประชาชนทั่วไป


ต่อมาคือ สภาพการณ์ของสังคม ซึ่งต่อเนื่องจากข้อแรก ต้องเข้าใจในทุกส่วน ทุกระยะ

ต้องย้อนรอยความเป็นมา เข้าใจถึงประวัติศาสตร์ ปัจจุบัน ทันเหตุการณ์ และสามารถคิดถึงแนวโน้ม ทิศทาง วิสัยทัศน์ ซึ่งต้องสามารถคาดคะเนได้ด้วยกระแสสังคม คือความต้องการของประชาชน ต้องเข้าใจกระแสสังคมให้ได้ หากเรารู้กระแสสังคมที่แท้จริงได้แล้ว จะเป็นอาวุธ สามารถทะลุทะลวงและจะเป็นเกราะป้องกันตัวเราได้เป็นอย่างดี กระแสสังคมในที่นี้หมายถึง สังคมวิทยา จิตวิทยา เพื่อช่วยให้งานมีความราบรื่น


ดังนั้นการประชาสัมพันธ์จะต้องมีการพัฒนาเทคนิคการสื่อสารในรูปแบบต่างๆ

เพื่อตอบสนองความพึงพอใจ ซึ่งเป็นหัวใจหลักของการสร้างสัมพันธ์ภาพที่ดีให้เกิดขึ้นมากที่สุด อาทิเช่น ความต้องการที่จะเห็นองค์กรดังกล่าวมีภาพลักษณ์ หรือภาพพจน์ในทางบวกและทำให้องค์กรมีความเจริญงอกงาม หรือการคาดหวังต่อสินค้าและการบริการหลังการขายที่จะได้รับ

ความต้องการผู้ช่วยแก้ปัญหา ความต้องการแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วม ความต้องการเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร เป็นต้นดังนั้นการประชาสัมพันธ์ที่ดีจึงควรเริ่มจาก


(1) องค์กรต้องมีการวางแผนการสื่อสาร เพื่อสร้างให้บุคคลภายนอกได้รู้จักองค์กรมากขึ้น พร้อมทั้งมีการประชาสัมพันธ์ให้คนในองค์กรมีจิตสำนึกเดียวกัน เพื่อสะท้อนให้เห็นภาพลักษณ์ในภาพรวมขององค์กรร่วมกัน ดังนั้นการวางแผนการสื่อสารจึงเป็นกระบวนการที่มีความสำคัญ

ที่ต้องการวิเคราะห์และการตัดสินใจ เพื่อกำหนดวิธีการและแนวทางปฏิบัติงาน โดยใช้ทรัพยากรต่างๆ ที่มีอยู่เพื่อให้การสื่อสารดำเนินไปตามวัตถุประสงค์และบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ ซึ่งจะช่วยให้แนวทางการปฏิบัติงานแก่บุคคลทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความเข้าใจที่ชัดเจนตรงกัน อันเป็นผลดีต่อส่วนรวม อีกทั้งยังช
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เทคนิคการประชาสัมพันธ์เชิงรุกและการประชาสัมพันธ์ในภาวะวิกฤตเทคนิคการประชาสัมพันธ์เชิงรุกและการประชาสัมพันธ์ในภาวะวิกฤตอ.นพดลวศินสุนทร (ผู้สมัครระดับปริญญาเอก)มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่บทนำ การประชาสัมพันธ์ภาษาอังกฤษคือประชาสัมพันธ์พบว่าในก่อนศตวรรษที่ 21 สังคมโลกเป็นสังคมที่การควบคุมขึ้นตรงกับอำนาจทางกายภาพเช่นการใช้กำลังหรืออาวุธแต่ในศตวรรษที่ 21 หรือยุคปัจจุบันพบว่าอำนาจการควบคุมสังคมต้องอาศัยการสื่อสาร (เรืองศักดิ์ 2006) (ข้อมูล) หรือปัจจุบันเรียกว่ายุคของข้อมูลข่าวสารซึ่งการสื่อสารดังกล่าวมีความสำคัญต่อประชาชนทั่วไปโดยเฉพาะการสื่อสารในรูปแบบการประชาสัมพันธ์กลายเป็นสิ่งที่มีบทบาทและความสำคัญอย่างมากในองค์กรต่างๆในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนแต่ทว่าการสื่อสารในยุคข้อมูลข่าวสารมีการแข่งขันกันสูงและแนวคิดการสื่อสารมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอนั้นจึงเป็นข้อถกเถียงอย่างมากเกี่ยวกับหลักการประชาสัมพันธ์ที่ได้ผลหรือการประชาสัมพันธ์อย่างทันท่วงทีต่อกระแสของข้อมูลข่าวสารที่นับวันจะมีความหลากหลายมากขึ้นและที่สำคัญประชาชนก็มีความรู้มากขึ้นดังนั้นการเสนอข้อมูลข่าวสารเพื่อสร้างสัมพันธ์และความเข้าใจต่อผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์กรจึงเป็นเรื่องที่นักประชาสัมพันธ์จะต้องตื่นตัวและแสวงหานวัตกรรมการสื่อสารสมัยใหม่เพื่อสร้างความเข้าใจเข้าถึงและมีส่วนร่วมได้อย่างมีประสิทธิภาพนักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของคำว่าการประชาสัมพันธ์ (ประชาสัมพันธ์)ซึ่งพอจะสรุปได้ว่าการประชาสัมพันธ์เป็นการสื่อสารเพื่อจัดการขององค์กรให้เกิดสัมพันธภาพอันดีกับผู้รับข่าวสารกลุ่มต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับความคิดเห็น (Opinion) ทัศนคติ (ทัศนคติ) และค่านิยม (ค่า) หรือเป็นการติดต่อสื่อสารกับชุมชนทั้งภายในภายนอกเพื่อสร้างภาพพจน์ขององค์กรกับสาธารณะชนอีกทั้งยังมีความพยายามที่ได้วางแผนอย่างต่อเนื่องที่จะสร้างและรักษาไว้ซึ่งความปรารถนาดีและความเข้าใจกันระหว่างองค์การและสาธารณชนที่เกี่ยวข้องเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การอันจะทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงดังนั้นหัวใจสำคัญของการประชาสัมพันธ์จึงหนีไม่พ้นการสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องระหว่างองค์กรกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียซึ่งในที่นี้หมายรวมถึงลูกค้า ประชาชน ชุมชน สมาคม หน่วยราชการ และเจ้าหน้าที่ พนักงานทุกระดับในองค์กร ดังนั้นการประชาสัมพันธ์ ที่ดีและแข็งแกร่งนั้น ไม่ว่าจะเป็นทีมภายในองค์กร หรือที่ปรึกษาภายนอก มีบทบาทสำคัญในการเป็นทั้งตัวเชื่อมและกันชนระหว่างองค์กรกับสาธารณชน ทั้งนี้การประชาสัมพันธ์ที่ดียังขึ้นอยู่กับสถานการณ์ คุณสมบัติของนักประชาสัมพันธ์ ลักษณะของนักประชาสัมพันธ์ที่ดีต้องมีใจรักงานประชาสัมพันธ์ และนักประชาสัมพันธ์ยังจะต้อง รู้รอบ รอบรู้ รวดเร็ว เร่งรัด รอบคอบ รักเรียน เรียนลัด และปรับตัวเทคนิคการประชาสัมพันธ์เชิงรุกหากพิจารณาวาทกรรมของคำว่า "การประชาสัมพันธ์เชิงรุก" แล้วนั้นอาจมีข้อสงสัยว่าทำไมต้องเป็นเชิงรุกการประชาสัมพันธ์โดยปกติไม่เพียงพอหรือว่าอย่างไรนั้นเป็นเพราะว่าปัจจุบันข้อมูลข่าวสารในสังคมมีมากมายการจะทำให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรู้สึกดีกับองค์กรจำเป็นจะต้องมีการวางแผนการสื่อสารที่มองไปข้างหน้ากล่าวคือไม่รอให้สงสัยไม่รอให้หวาดระแวงสาเหตุที่ต้องเป็นแบบนี้ก็เพราะว่าความต้องการหรือความคาดหวังที่ไม่สิ้นสุดของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและของทุกคนในองค์กรไม่รอให้คนวิ่งมาถามหรือแม้แต่ไม่รอให้เข้าใจไปเองแต่การประชาสัมพันธ์เชิงรุกจะเป็นการสร้างความสมบูรณ์ (สมบูรณ์) ในความสัมพันธ์อันดีให้เกิดขึ้นก่อนใครเทคนิคในการประชาสัมพันธ์ที่จะนำไปสู่ความสำเร็จได้ต้องเข้าใจก่อนว่าการประชาสัมพันธ์ คือการนำข้อมูลข่าวสารจากองค์กรไปสู่บุคคล จากบุคคลออกไปสู่สังคมภายนอก จนกระทั่งออกไปสู่ภายนอกประเทศ หรือระดับโลก นักประชาสัมพันธ์จึงต้องให้ความใส่กับสิ่งต่างๆได้แก่ ตัวบุคคลคือตัวเราสำคัญที่สุด ทุกแห่ง ทุกที่ ทุกสถานการณ์ โดยแต่ละคนต้องมีความเข้าใจพื้นฐานของข่าวสารและการพัฒนาข่าวสารและต้องมีความตั้งใจจริงที่จะเปิดรับฟังข้อมูล ต้องเปิดใจแบบ 360 องศา คือเปิดรอบด้านและต้องเป็นคนใจกว้างสามารถรับข้อมูลได้ทั้งหมดทุกรูปแบบ และต้องรู้จักไตร่ตรอง วินิจฉัย รู้จักคิด และมองในหลายๆมิติ ทั้งนี้ยังต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อส่วนตัว ส่วนรวมและประชาชนทั่วไป ต่อมาคือสภาพการณ์ของสังคมซึ่งต่อเนื่องจากข้อแรกต้องเข้าใจในทุกส่วนทุกระยะต้องย้อนรอยความเป็นมาเข้าใจถึงประวัติศาสตร์ปัจจุบันทันเหตุการณ์และสามารถคิดถึงแนวโน้มทิศทางวิสัยทัศน์ซึ่งต้องสามารถคาดคะเนได้ด้วยกระแสสังคมคือความต้องการของประชาชนต้องเข้าใจกระแสสังคมให้ได้หากเรารู้กระแสสังคมที่แท้จริงได้แล้วจะเป็นอาวุธสามารถทะลุทะลวงและจะเป็นเกราะป้องกันตัวเราได้เป็นอย่างดีกระแสสังคมในที่นี้หมายถึงสังคมวิทยาจิตวิทยาเพื่อช่วยให้งานมีความราบรื่นดังนั้นการประชาสัมพันธ์จะต้องมีการพัฒนาเทคนิคการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆเพื่อตอบสนองความพึงพอใจซึ่งเป็นหัวใจหลักของการสร้างสัมพันธ์ภาพที่ดีให้เกิดขึ้นมากที่สุดอาทิเช่นความต้องการที่จะเห็นองค์กรดังกล่าวมีภาพลักษณ์หรือภาพพจน์ในทางบวกและทำให้องค์กรมีความเจริญงอกงามหรือการคาดหวังต่อสินค้าและการบริการหลังการขายที่จะได้รับ ความต้องการผู้ช่วยแก้ปัญหาความต้องการแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมความต้องการเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรเป็นต้นดังนั้นการประชาสัมพันธ์ที่ดีจึงควรเริ่มจาก(1) องค์กรต้องมีการวางแผนการสื่อสารเพื่อสร้างให้บุคคลภายนอกได้รู้จักองค์กรมากขึ้นพร้อมทั้งมีการประชาสัมพันธ์ให้คนในองค์กรมีจิตสำนึกเดียวกันเพื่อสะท้อนให้เห็นภาพลักษณ์ในภาพรวมขององค์กรร่วมกันดังนั้นการวางแผนการสื่อสารจึงเป็นกระบวนการที่มีความสำคัญที่ต้องการวิเคราะห์และการตัดสินใจเพื่อกำหนดวิธีการและแนวทางปฏิบัติงานโดยใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยู่เพื่อให้การสื่อสารดำเนินไปตามวัตถุประสงค์และบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ซึ่งจะช่วยให้แนวทางการปฏิบัติงานแก่บุคคลทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความเข้าใจที่ชัดเจนตรงกันอันเป็นผลดีต่อส่วนรวมอีกทั้งยังช
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
เทคนิคการประชาสัมพันธ์เชิงรุก วศินสุนทร (ปริญญาเอก ภาษาอังกฤษคือประชาสัมพันธ์พบว่าในก่อนศตวรรษที่ 21 เช่นการใช้กำลังหรืออาวุธ แต่ในศตวรรษที่ 21 หรือยุคปัจจุบัน 2006) เพื่อสร้างความเข้าใจ การประชาสัมพันธ์ (Public Relations) ซึ่งพอจะสรุปได้ว่า (ความเห็น) ทัศนคติ (Attitude) และค่านิยม (Value) เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การอันจะทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ประชาชนชุมชนสมาคมหน่วยราชการและเจ้าหน้าที่ ที่ดีและแข็งแกร่งนั้นไม่ว่าได้จะเป็นทีมภายในองค์กรหรือที่ปรึกษาภายนอก คุณสมบัติของนักประชาสัมพันธ์ และนักประชาสัมพันธ์ยังจะต้องรู้รอบรอบรู้รวดเร็วเร่งรัดรอบคอบรักเรียนเรียนลัด "การประชาสัมพันธ์เชิงรุก" กล่าวคือไม่รอให้สงสัย หรือแม้แต่ไม่รอให้เข้าใจไปเอง จากบุคคลออกไปสู่สังคมภายนอกจนกระทั่งออกไปสู่ภายนอกประเทศหรือระดับโลก ตัวบุคคลคือตัวเราสำคัญที่สุดทุกแห่งทุกที่ทุกสถานการณ์ ต้องเปิดใจแบบ 360 องศา และต้องรู้จักไตร่ตรองวินิจฉัยรู้จักคิดและมองในหลาย ๆ มิติ ส่วนรวมและประชาชนทั่วไปต่อมาคือสภาพการณ์ของสังคมซึ่งต่อเนื่องจากข้อแรกของคุณต้องเข้าใจในทุกส่วนทุกระยะของคุณต้องย้อนรอยความเป็นมาเข้าใจถึงประวัติศาสตร์ปัจจุบันทันเหตุการณ์และสามารถคิดถึงแนวโน้มทิศทางวิสัยทัศน์ คือความต้องการของประชาชนต้องเข้าใจกระแสสังคมให้ได้ จะเป็นอาวุธ กระแสสังคมในที่นี้หมายถึงสังคมวิทยาจิตวิทยา อาทิเช่น ความต้องการเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร องค์กรต้องมีการวางแผนการสื่อสาร โดยใช้ทรัพยากรต่างๆ อันเป็นผลดีต่อส่วนรวมอีกทั้งยังช

























































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
เทคนิคการประชาสัมพันธ์เชิงรุกและการประชาสัมพันธ์ในภาวะวิกฤต



เทคนิคการประชาสัมพันธ์เชิงรุกและการประชาสัมพันธ์ในภาวะวิกฤต Admiral นพดลวศินสุนทร ( ปริญญาเอกผู้สมัคร )




มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่




บทนำการประชาสัมพันธ์ภาษาอังกฤษคือประชาสัมพันธ์พบว่าในก่อนศตวรรษที่ 21 สังคมโลกเป็นสังคมที่การควบคุมขึ้นตรงกับอำนาจทางกายภาพเช่นการใช้กำลังหรืออาวุธแต่ในศตวรรษที่ 21 หรือยุคปัจจุบัน2006 ) หรือปัจจุบันเรียกว่ายุคของข้อมูลข่าวสาร ( ข้อมูล ) ซึ่งการสื่อสารดังกล่าวมีความสำคัญต่อประชาชนทั่วไปแต่ทว่าการสื่อสารในยุคข้อมูลข่าวสารมีการแข่งขันกันสูงและแนวคิดการสื่อสารมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอนั้นจึงเป็นข้อถกเถียงอย่างมากเกี่ยวกับหลักการประชาสัมพันธ์ที่ได้ผลและที่สำคัญประชาชนก็มีความรู้มากขึ้นดังนั้นการเสนอข้อมูลข่าวสารเพื่อสร้างสัมพันธ์และความเข้าใจต่อผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์กรจึงเป็นเรื่องที่นักประชาสัมพันธ์จะต้องตื่นตัวเพื่อสร้างความเข้าใจเข้าถึงและมีส่วนร่วมได้อย่างมีประสิทธิภาพ


นักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของคำว่าการประชาสัมพันธ์ ( ประชาสัมพันธ์ )

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: