ปัญหาของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม
ร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม (ร้านโชห่วย) (Traditional Trade) มีบทบาทสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจของ ประเทศไทยมาเป็นเวลานาน มูลค่าทางเศรษฐกิจของธุรกิจค้าปลีกสูงเป็นอันดับ 2 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (Gross Domestic Product) โดยมีมูลค่าสูงถึง 1.2 ล้านล้านบาท หรือคิดเป็น 14 เปอร์เซ็นต์ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (Gross Domestic Product) ในปี พ.ศ. 2550 ซึ่งสูงเป็นอันดับที่ 2 รองจากภาคอุตสาหกรรม ความสัมพันธ์ระหว่างร้านค้าปลีกและผู้บริโภคของสังคมไทยในอดีตมีความลึกซึ้ง ด้วยรูปแบบของธุรกิจที่มีลักษณะเป็นร้านค้าขนาดเล็กขายสินค้าอุปโภคบริโภคที่จำเป็นในการดำเนินชีวิต ตั้งอยู่ในแหล่งชุมชนโดยใช้เงินลงทุนในการทำธุรกิจไม่สูงมากนัก มีการบริหารงานกันเองภายในครอบครัวด้วยการซื้อมาและขายสินค้าไป ไม่มีการใช้เทคโนโลยีการจัดการสมัยใหม่เข้ามาใช้ในการบริหารมาก ธุรกิจค้าปลีกเป็นที่นิยมในการประกอบอาชีพมีโดยอัตราการดำเนินธุรกิจสูงขึ้นจาก 2,997 ราย ในปี พ.ศ. 2542 เป็น 3,481 รายในปีพ.ศ. 2548 (กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์, 2552) แต่ในปัจจุบันร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมต้องประสบปัญหาเพิ่มขึ้นโดยมีคู่แข่งที่สำคัญคือร้านค้าปลีกสมัยใหม่ที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างมากในปัจจุบัน
ร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมซึ่งเป็นธุรกิจที่ทำกันเองในครอบครัวในปัจจุบัน ได้รับผลกระทบจากการขยายตัวของร้านค้าปลีกสมัยใหม่มาก เนื่องจากราคาสินค้าที่ถูกกว่าร้านค้าปลีกดั้งเดิม (นภาภรณ์ อ่อนนาค, 2545) และผู้บริโภคได้เปลี่ยนพฤติกรรมการซื้อสินค้าจากร้านค้าปลีกดั้งเดิมมานิยมซื้อจากร้านค้าปลีกสมัยใหม่มากขึ้น เพราะตั้งอยู่ใกล้บ้านที่พักอาศัยหรือสถานศึกษา สินค้ามีความความหลากหลาย มีการตกแต่งร้านและใช้กลยุทธ์ทางการตลาดที่ดึงดูดลูกค้าให้เข้ามาซื้อสินค้าในร้านมากขึ้น (ดวงพร เศาภายน, 2546) นอกจากนี้ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมในร้านค้าปลีก เช่น ความหลากหลายของสินค้า สินค้ามีความทันสมัยตรงความต้องการ มีคุณภาพที่ดี มีป้ายบอกราคาชัดเจน มีการจัดวางสินค้าไว้เป็นหมวดหมู่หาง่าย มีการทำโปรโมชั่นดึงดูดลูกค้าตลอดเวลา มีการบริการที่ทันสมัยรวดเร็วอันเนื่องมาจากการใช้เทคโนโลยี และพนักงานมีความสุภาพเรียบร้อย ก็ทำให้พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนไป (ถิรวัสส์ ประเทืองไพศรี, 2549) การขยายตัวของร้านค้าปลีกสมัยใหม่ส่งผลให้ร้านค้าปลีกดั้งเดิมมีจำนวนลดลง เช่น ในเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2544-2545 จำนวนร้านค้าปลีกดั้งเดิมลดลง 15% ร้านส่วนใหญ่จากกลุ่มตัวอย่าง 5 จังหวัด ยอดขาย จำนวนลูกค้า และกำไรของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมลดลง 7% ต่อปี โดยเหตุผลสำคัญที่ทำให้ร้านโชห่วยต้องประสบปัญหา คือ ร้านสมัยใหม่ขายสินค้าถูกกว่า รูปแบบของร้านดั้งเดิมไม่ทันสมัย บริการสู้ไม่ได้ ร้านค้าปลีกดั้งเดิมมีจุดอ่อนด้านต้นทุนสินค้า และเทคโนโลยีบริหารจัดการ ส่วน ร้านค้าปลีกดั้งเดิมที่อยู่ห่างร้านค้าปลีกสมัยใหม่มากกว่า 6 กม.ไม่ได้รับผลกระทบทางด้านยอดขายและจำนวนลูกค้า (สุกัญจนา อินทะโชติ, 2545) จะเห็นได้ว่าการขยายตัวของร้านค้าปลีกสมัยใหม่ส่งผลกระทบต่อร้านค้าปลีกดั้งเดิมเป็นอย่างมาก
จากที่กล่าวมาข้างต้น ทำให้ทราบว่า ร้านค้าปลีกดั้งเดิมซึ่งเคยเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศในอดีต มีรูปแบบที่บริหารงานกันเองภายในครอบครัว มีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดระหว่างร้านค้ากับลูกค้า กำลังประสบปัญหาเนื่องจากการขยายตัวของร้านค้าปลีกสมัยใหม่ ซึ่งมีเงินทุนจำนวนมาก มีระบบบริหารจัดการ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทำให้จำนวนร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมลดลงเรื่อย ๆ ซึ่งถ้าไม่มีการช่วยเหลือหรือสนับสนุนจากภาครัฐเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้น อาจทำให้ร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมหมดไปในที่สุด
ปัญหาของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม ร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม (ร้านโชห่วย) (การค้าดั้งเดิม) มีบทบาทสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยมาเป็นเวลานานมูลค่าทางเศรษฐกิจของธุรกิจค้าปลีกสูงเป็นอันดับ 2 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ) โดยมีมูลค่าสูงถึง 1.2 ล้านล้านบาทหรือคิดเป็น 14 เปอร์เซ็นต์ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ) ในปีพ.ศ. 2550 ซึ่งสูงเป็นอันดับที่ 2 รองจากภาคอุตสาหกรรมความสัมพันธ์ระหว่างร้านค้าปลีกและผู้บริโภคของสังคมไทยในอดีตมีความลึกซึ้งด้วยรูปแบบของธุรกิจที่มีลักษณะเป็นร้านค้าขนาดเล็กขายสินค้าอุปโภคบริโภคที่จำเป็นในการดำเนินชีวิตตั้งอยู่ในแหล่งชุมชนโดยใช้เงินลงทุนในการทำธุรกิจไม่สูงมากนักมีการบริหารงานกันเองภายในครอบครัวด้วยการซื้อมาและขายสินค้าไปไม่มีการใช้เทคโนโลยีการจัดการสมัยใหม่เข้ามาใช้ในการบริหารมากธุรกิจค้าปลีกเป็นที่นิยมในการประกอบอาชีพมีโดยอัตราการดำเนินธุรกิจสูงขึ้นจาก 2,997 รายในปีพ.ศ. 2542 เป็น 3,481 รายในปีพ.ศ 2548 (กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์ 2552) แต่ในปัจจุบันร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมต้องประสบปัญหาเพิ่มขึ้นโดยมีคู่แข่งที่สำคัญคือร้านค้าปลีกสมัยใหม่ที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างมากในปัจจุบัน ร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมซึ่งเป็นธุรกิจที่ทำกันเองในครอบครัวในปัจจุบัน ได้รับผลกระทบจากการขยายตัวของร้านค้าปลีกสมัยใหม่มาก เนื่องจากราคาสินค้าที่ถูกกว่าร้านค้าปลีกดั้งเดิม (นภาภรณ์ อ่อนนาค, 2545) และผู้บริโภคได้เปลี่ยนพฤติกรรมการซื้อสินค้าจากร้านค้าปลีกดั้งเดิมมานิยมซื้อจากร้านค้าปลีกสมัยใหม่มากขึ้น เพราะตั้งอยู่ใกล้บ้านที่พักอาศัยหรือสถานศึกษา สินค้ามีความความหลากหลาย มีการตกแต่งร้านและใช้กลยุทธ์ทางการตลาดที่ดึงดูดลูกค้าให้เข้ามาซื้อสินค้าในร้านมากขึ้น (ดวงพร เศาภายน, 2546) นอกจากนี้ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมในร้านค้าปลีก เช่น ความหลากหลายของสินค้า สินค้ามีความทันสมัยตรงความต้องการ มีคุณภาพที่ดี มีป้ายบอกราคาชัดเจน มีการจัดวางสินค้าไว้เป็นหมวดหมู่หาง่าย มีการทำโปรโมชั่นดึงดูดลูกค้าตลอดเวลา มีการบริการที่ทันสมัยรวดเร็วอันเนื่องมาจากการใช้เทคโนโลยี และพนักงานมีความสุภาพเรียบร้อย ก็ทำให้พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนไป (ถิรวัสส์ ประเทืองไพศรี, 2549) การขยายตัวของร้านค้าปลีกสมัยใหม่ส่งผลให้ร้านค้าปลีกดั้งเดิมมีจำนวนลดลง เช่น ในเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2544-2545 จำนวนร้านค้าปลีกดั้งเดิมลดลง 15% ร้านส่วนใหญ่จากกลุ่มตัวอย่าง 5 จังหวัด ยอดขาย จำนวนลูกค้า และกำไรของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมลดลง 7% ต่อปี โดยเหตุผลสำคัญที่ทำให้ร้านโชห่วยต้องประสบปัญหา คือ ร้านสมัยใหม่ขายสินค้าถูกกว่า รูปแบบของร้านดั้งเดิมไม่ทันสมัย บริการสู้ไม่ได้ ร้านค้าปลีกดั้งเดิมมีจุดอ่อนด้านต้นทุนสินค้า และเทคโนโลยีบริหารจัดการ ส่วน ร้านค้าปลีกดั้งเดิมที่อยู่ห่างร้านค้าปลีกสมัยใหม่มากกว่า 6 กม.ไม่ได้รับผลกระทบทางด้านยอดขายและจำนวนลูกค้า (สุกัญจนา อินทะโชติ, 2545) จะเห็นได้ว่าการขยายตัวของร้านค้าปลีกสมัยใหม่ส่งผลกระทบต่อร้านค้าปลีกดั้งเดิมเป็นอย่างมาก จากที่กล่าวมาข้างต้นทำให้ทราบว่าร้านค้าปลีกดั้งเดิมซึ่งเคยเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศในอดีตมีรูปแบบที่บริหารงานกันเองภายในครอบครัวมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดระหว่างร้านค้ากับลูกค้ากำลังประสบปัญหาเนื่องจากการขยายตัวของร้านค้าปลีกสมัยใหม่ซึ่งมีเงินทุนจำนวนมากมีระบบบริหารจัดการและเทคโนโลยีที่ทันสมัยทำให้จำนวนร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมลดลงเรื่อยๆ ซึ่งถ้าไม่มีการช่วยเหลือหรือสนับสนุนจากภาครัฐเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้นอาจทำให้ร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมหมดไปในที่สุด
การแปล กรุณารอสักครู่..
(ร้านโชห่วย) (Traditional Trade) มีบทบาทสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยมาเป็นเวลานาน 2 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (ผลิตภัณฑ์มวลรวม) โดยมีมูลค่าสูงถึง 1.2 ล้านล้านบาทหรือคิดเป็น 14 (ผลิตภัณฑ์มวลรวม) ในปี พ.ศ. 2550 ซึ่งสูงเป็นอันดับที่ 2 รองจากภาคอุตสาหกรรม 2,997 รายในปี พ.ศ. 2542 เป็น 3,481 รายในปีพ. ศ 2548 (กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์, 2552) (นภาภรณ์อ่อนนาค, 2545) สินค้ามีความความหลากหลาย (ดวงพรเศาภายน, 2546) เช่นความหลากหลายของสินค้าสินค้ามีความทันสมัยตรงความต้องการมีคุณภาพที่ดีมีป้ายบอกราคาชัดเจน และพนักงานมีความสุภาพเรียบร้อยก็ทำให้พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนไป (ถิรวัสส์ประเทืองไพศรี, 2549) เช่นในเชียงใหม่ปี พ.ศ. 2544-2545 จำนวนร้านค้าปลีกดั้งเดิมลดลง 15% ร้านส่วนใหญ่จากกลุ่มตัวอย่าง 5 จังหวัดยอดขายจำนวนลูกค้า 7% ต่อปี คือร้านสมัยใหม่ขายสินค้าถูกกว่ารูปแบบของร้านดั้งเดิมไม่ทันสมัยบริการสู้ไม่ได้ และเทคโนโลยีบริหารจัดการส่วน 6 (สุกัญจนาอินทะโชติ, 2545) ทำให้ทราบว่า ซึ่งมีเงินทุนจำนวนมากมีระบบบริหารจัดการและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ๆ
การแปล กรุณารอสักครู่..