อาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา เป็นโบราณสถานของชาติ มีลักษณะสถาปัตยก การแปล - อาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา เป็นโบราณสถานของชาติ มีลักษณะสถาปัตยก ไทย วิธีการพูด

อาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา เป

อาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา เป็นโบราณสถานของชาติ มีลักษณะสถาปัตยกรรมแบบจีน อายุกว่า 100 ปี ภายในจัดแสดงศิลปวัตถุที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม อันเป็นเอกลักษณ์ของภาคใต้และของประเทศไทย

อาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา เดิมเป็นคฤหาสน์ของผู้ช่วยเจ้าเมืองสงขลา พระยาสุนทรานุรักษ์ (เนตร ณ สงขลา) ผู้ช่วยราชการเมืองสงขลาเมื่อปี พ.ศ. 2421 จนกระทั่งปี พ.ศ. 2437 จึงใช้เป็นที่พำนักและว่าราชการของพระยาวิจิตรวรศาสตร์ ข้าหลวงพิเศษตรวจราชการเมืองสงขลา ซึ่งต่อมาก็คือ เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) หลังจากนั้นได้ใช้เป็นศาลาว่าการมณฑลนครศรีธรรมราช และเป็นศาลากลางจังหวัดตามลำดับจนถึงปี พ.ศ. 2496 ในปี พ.ศ. 2516 กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนอาคารแห่งนี้เป็นโบราณสถาน และปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑสถานของชาติ และเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2525 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ์ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา เพื่อให้เป็นสถานที่จัดแสดงศิลปวัตถุภาคใต้ตอนล่าง และเป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ทางด้านโบราณคดี ประวัติศาสตร์ศิลปะ ชาติพันธุ์วิทยา ศิลปะจีน ศิลปะพื้นบ้านพื้นเมือง นอกจากนี้ ยังจัดแสดงศิลปโบราณวัตถุที่เกี่ยวกับตระกูล ณ สงขลา ซึ่งเป็นตระกูลเจ้าเมืองสงขลาในอดีตด้วย

อาคารจัดแสดงมี 2 ชั้น ชั้นล่างแบ่งการจัดแสดงเป็น 6 ห้อง ได้แก่ อาคารศิลปะพื้นบ้านพื้นเมืองภาคใต้ ห้องศิลปกรรมที่พบทางภาคใต้ ห้องศิลปะทวารวดี ห้องก่อนประวัติศาสตร์ ห้องเครื่องถ้วยไทย-จีน และห้องศิลปวัตถุในคาบสมุทรภาคใต้ ส่วนชั้น 2 มีห้องจัดแสดงอีก 6 ห้อง ได้แก่ ห้องเครื่องเรือนจีน ห้อง ณ สงขลา ห้องไม้จำหลัก ห้องศรีวิชัยหรือศิลปกรรมภาคใต้ ห้องเครื่องเรือนไทย และห้องประวัติศาสตร์ศิลปะไทย

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
อาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสงขลาเป็นโบราณสถานของชาติมีลักษณะสถาปัตยกรรมแบบจีนอายุกว่า 100 ปีภายในจัดแสดงศิลปวัตถุที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของภาคใต้และของประเทศไทย อาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสงขลาเดิมเป็นคฤหาสน์ของผู้ช่วยเจ้าเมืองสงขลาพระยาสุนทรานุรักษ์ (เนตรณสงขลา) ผู้ช่วยราชการเมืองสงขลาเมื่อปีพ.ศ. พ.ศ. 2421 จนกระทั่งปีพ.ศ. 2437 จึงใช้เป็นที่พำนักและว่าราชการของพระยาวิจิตรวรศาสตร์ข้าหลวงพิเศษตรวจราชการเมืองสงขลาซึ่งต่อมาก็คือเจ้าพระยายมราช (ปั้นสุขุม) หลังจากนั้นได้ใช้เป็นศาลาว่าการมณฑลนครศรีธรรมราชและเป็นศาลากลางจังหวัดตามลำดับจนถึงปีพ.ศ. 2496 ในปีพ.ศ. 2516 กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนอาคารแห่งนี้เป็นโบราณสถานและปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑสถานของชาติและเมื่อวันที่ 25 กันยายนพ.ศ. 2525 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ์สยามมกุฎราชกุมารเสด็จเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสงขลาเพื่อให้เป็นสถานที่จัดแสดงศิลปวัตถุภาคใต้ตอนล่างและเป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ทางด้านโบราณคดีประวัติศาสตร์ศิลปะชาติพันธุ์วิทยาศิลปะจีนศิลปะพื้นบ้านพื้นเมืองนอกจากนี้ยังจัดแสดงศิลปโบราณวัตถุที่เกี่ยวกับตระกูลณสงขลาซึ่งเป็นตระกูลเจ้าเมืองสงขลาในอดีตด้วย อาคารจัดแสดงมี 2 ชั้นชั้นล่างแบ่งการจัดแสดงเป็น 6 ห้องได้แก่อาคารศิลปะพื้นบ้านพื้นเมืองภาคใต้ห้องศิลปกรรมที่พบทางภาคใต้ห้องศิลปะทวารวดีห้องก่อนประวัติศาสตร์ห้องเครื่องถ้วยไทยจีนและห้องศิลปวัตถุในคาบสมุทรภาคใต้ส่วนชั้น 2 มีห้องจัดแสดงอีก 6 ห้องได้แก่ห้องเครื่องเรือนจีนห้องณสงขลาห้องไม้จำหลักห้องศรีวิชัยหรือศิลปกรรมภาคใต้ห้องเครื่องเรือนไทยและห้องประวัติศาสตร์ศิลปะไทย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
อาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา เป็นโบราณสถานของชาติ มีลักษณะสถาปัตยกรรมแบบจีน อายุกว่า 100 ปี ภายในจัดแสดงศิลปวัตถุที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม อันเป็นเอกลักษณ์ของภาคใต้และของประเทศไทย

อาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา เดิมเป็นคฤหาสน์ของผู้ช่วยเจ้าเมืองสงขลา พระยาสุนทรานุรักษ์ (เนตร ณ สงขลา) ผู้ช่วยราชการเมืองสงขลาเมื่อปี พ.ศ. 2421 จนกระทั่งปี พ.ศ. 2437 จึงใช้เป็นที่พำนักและว่าราชการของพระยาวิจิตรวรศาสตร์ ข้าหลวงพิเศษตรวจราชการเมืองสงขลา ซึ่งต่อมาก็คือ เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) หลังจากนั้นได้ใช้เป็นศาลาว่าการมณฑลนครศรีธรรมราช และเป็นศาลากลางจังหวัดตามลำดับจนถึงปี พ.ศ. 2496 ในปี พ.ศ. 2516 กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนอาคารแห่งนี้เป็นโบราณสถาน และปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑสถานของชาติ และเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2525 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ์ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา เพื่อให้เป็นสถานที่จัดแสดงศิลปวัตถุภาคใต้ตอนล่าง และเป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ทางด้านโบราณคดี ประวัติศาสตร์ศิลปะ ชาติพันธุ์วิทยา ศิลปะจีน ศิลปะพื้นบ้านพื้นเมือง นอกจากนี้ ยังจัดแสดงศิลปโบราณวัตถุที่เกี่ยวกับตระกูล ณ สงขลา ซึ่งเป็นตระกูลเจ้าเมืองสงขลาในอดีตด้วย

อาคารจัดแสดงมี 2 ชั้น ชั้นล่างแบ่งการจัดแสดงเป็น 6 ห้อง ได้แก่ อาคารศิลปะพื้นบ้านพื้นเมืองภาคใต้ ห้องศิลปกรรมที่พบทางภาคใต้ ห้องศิลปะทวารวดี ห้องก่อนประวัติศาสตร์ ห้องเครื่องถ้วยไทย-จีน และห้องศิลปวัตถุในคาบสมุทรภาคใต้ ส่วนชั้น 2 มีห้องจัดแสดงอีก 6 ห้อง ได้แก่ ห้องเครื่องเรือนจีน ห้อง ณ สงขลา ห้องไม้จำหลัก ห้องศรีวิชัยหรือศิลปกรรมภาคใต้ ห้องเครื่องเรือนไทย และห้องประวัติศาสตร์ศิลปะไทย

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
อาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสงขลาเป็นโบราณสถานของชาติมีลักษณะสถาปัตยกรรมแบบจีนอายุกว่า 100 ภายในจัดแสดงศิลปวัตถุที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของภาคใต้และของประเทศไทย

.อาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสงขลาเดิมเป็นคฤหาสน์ของผู้ช่วยเจ้าเมืองสงขลาพระยาสุนทรานุรักษ์ ( เนตรณสงขลา ) ผู้ช่วยราชการเมืองสงขลาเมื่อปีพ . ศ . ข้อมูลจนกระทั่งปีพ . ศ .1722 จึงใช้เป็นที่พำนักและว่าราชการของพระยาวิจิตรวรศาสตร์ข้าหลวงพิเศษตรวจราชการเมืองสงขลาซึ่งต่อมาก็คือเจ้าพระยายมราช ( ปั้นสุขุม ) หลังจากนั้นได้ใช้เป็นศาลาว่าการมณฑลนครศรีธรรมราชพ .ศ . 1720 สามารถพ . ศ . 2516 กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนอาคารแห่งนี้เป็นโบราณสถานและปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑสถานของชาติและเมื่อวันที่ 25 กันยายนพ . ศ .2525 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ์สยามมกุฎราชกุมารเสด็จเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสงขลาเพื่อให้เป็นสถานที่จัดแสดงศิลปวัตถุภาคใต้ตอนล่างประวัติศาสตร์ศิลปะชาติพันธุ์วิทยาศิลปะจีนศิลปะพื้นบ้านพื้นเมืองนอกจากนี้ยังจัดแสดงศิลปโบราณวัตถุที่เกี่ยวกับตระกูลณสงขลาซึ่งเป็นตระกูลเจ้าเมืองสงขลาในอดีตด้วย

อาคารจัดแสดงมี 2 ชั้นชั้นล่างแบ่งการจัดแสดงเป็น 6 ห้องได้แก่อาคารศิลปะพื้นบ้านพื้นเมืองภาคใต้ห้องศิลปกรรมที่พบทางภาคใต้ห้องศิลปะทวารวดีห้องก่อนประวัติศาสตร์ห้องเครื่องถ้วยไทย - จีนส่วนชั้น 2 มีห้องจัดแสดงอีก 6 ห้องได้แก่ห้องเครื่องเรือนจีนห้องณสงขลาห้องไม้จำหลักห้องศรีวิชัยหรือศิลปกรรมภาคใต้ห้องเครื่องเรือนไทยและห้องประวัติศาสตร์ศิลปะไทย

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: