ศาสนาและวัฒนธรรม จากหลักฐานประวัติศาสตร์ที่ค้นพบ ได้แก่คำจารึกบนกระดูก การแปล - ศาสนาและวัฒนธรรม จากหลักฐานประวัติศาสตร์ที่ค้นพบ ได้แก่คำจารึกบนกระดูก ไทย วิธีการพูด

ศาสนาและวัฒนธรรม จากหลักฐานประวัติศ

ศาสนาและวัฒนธรรม
จากหลักฐานประวัติศาสตร์ที่ค้นพบ ได้แก่คำจารึกบนกระดูกสัตว์ (ประมาณ 1,600-1,100 ปีก่อนคริสตกาล) และคำจารึกบนโลหะสำริด (ประมาณ 1100-476 ปีก่อนคริสตกาล) ทำให้สันนิษฐานได้ว่าชาวจีนตั้งแต่ช่วงต้นประวัติศาสตร์มีการบูชาธรรมชาติ ต่อมาจึงเริ่มมีการบูชาจักรพรรดิหยก (Jade Emperor) และเทพเจ้าต่าง ๆ ในยุคที่ประเทศจีนยังไม่รวมเป็นปึกแผ่นแยกเป็นรัฐเล็กรัฐน้อย และมีการรบพุ่งกันอยู่เสมอ นักปราชญ์ 2 ท่านได้ออกมาเสนอแนวคิดและแนวปฏิบัติให้ชาวบ้านได้ยึดเป็นหลักการดำรงชีวิตกลายเป็นความเชื่อที่ฝังรากลึกในสังคมจีน คือ ลัทธิเต๋า และลัทธิขงจื้อ ภายหลังเมื่อมีการสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าและการทูตกับชาติต่าง ๆ ชาวจีนได้รับการเผยแพร่ศาสนาพุทธจากอินเดีย อิสลามจากเอเชียกลาง และคริสต์จากชาติตะวันตก
ลัทธิเต๋า ก่อตั้งโดยท่านหลี่ตาน หรือเล่าจื๊อ ที่ชาวไทยเรียก คำสอนเน้นเรื่องความสงบตามวิธีธรรมชาติ ให้ผู้คนกลับสู่ธรรมชาติ มีความอ่อนน้อมไม่ยึดติดกับกรอบของสังคม สรรพสิ่งในโลกมีสองด้านเสมอ มีมืดก็ต้องมีสว่าง มีขาวก็ต้องมีดำ มีดีก็ย่อมมีเลว หลักการเช่นนี้เป็นเริ่มลึกซึ้งที่ต้องอาศัยปัญญาพิจารณาไตร่ตรอง ผู้คนส่วนใหญ่จึงละเลยหันไปหลงกับเรื่องราวปาฏิหาริย์ของเหล่าเซียนและยาอายุวัฒนะแทน ท่านหลี่ตานเผยแพร่ปรัชญาอยู่ทางตอนใต้ของจีนช่วง 551-479 ปีก่อนคริสตกาล
ลัทธิขงจื๊อ หรือขงจื๊อตามการเรียกขานของคนไทย มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า ลัทธิหยู ก่อตั้งโดยท่านขงจื๊อ ชาวหมู่บ้านชวีฝู่ มีชีวิตอยู่ระหว่าง 551-479 ปีก่อนคริสตกาบ ลัทธินี้ให้ความสำคัญกับระเบียบสังคมและหน้าที่ที่บุคคลพึงมีต่อกัน ให้ความสำคัญกับครอบครัว การกตัญญูรู้คุณ มีคุณธรรมและแนวปฏิบัติเรื่องการเซ่นไหว้บรรพบุรุษที่ชาวจีนถือปฏิบัติมาจนถึงปัจจุบัน(คริสต์ศตวรรษที่ 12 จูซี (Zhu Xi) ได้ผนวกแนวคิดเชิงอภิปรัชญาของพุทธศาสนาและลัทธิเต๋าเข้ากับแนวคิดขงจื๊อ เกิดเป็นหลักจริยธรรมจีน สามารถนำมาใช้ปฏิบัติทางการเมืองและชีวิตประจำวัน ชื่อว่า “ลัทธิขงจื๊อใหม่” ซึ่งเป็นที่แพร่หลายมาก)
ศาสนาพุทธ เข้าสู่ประเทศจีนโดยพ่อค้าและพระที่เดินทางตามเส้นทางสายไหม ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนานิกายมหายาน ซึ่งมีความเชื่อว่าสัตว์โลกทั้งหลายจะหลุดพ้นโดยมีพระโพธิสัตว์มาโปรด เรื่องของกฎแห่งกรรมและชีวิตหลังความตาย แนวทางศาสนาพุทธคล้ายคลึงกับเต๋าที่พยายามชี้ให้เห็นความว่างเปล่า การปลดปล่อยตัวเองจากธรรมชาติ เป็นอิสระจากกิเลสทั้งปวงที่ยึดติดอยู่
ศาสนาคริสต์ เผยแพร่เข้าสู่จีนครั้งแรกใน ค.ศ. 635 โดยมิชชันนารีนิกายเนสโตเรียน ซึ่งเป็นนิกายที่แยกตัวออกมาจากอาณาจักรโรมันตะวันออก เพราะเชื่อว่าพระเยซูไม่ใช่พระเจ้า แต่งทางมีส่วนที่เป็นทั้งมนุษย์และพระเจ้าเนื่องจากประสูติจากครรภ์มนุษย์และทรงได้ส่วนที่เป็นพระเจ้ามาจากพระยะโฮวา ชาวจีนเรียกศาสนานี้ว่า จิ่งเจี๊ยว

ศาสนาอิสลาม หลังจากท่านนบีมูฮัมหมัด (ค.ศ. 570-632) ประกาศศาสนาอิสลาม มีผู้ศรัทธานับถือทั่วคาบสมุทรอาระเบียแล้ว ท่านต้องการสร้างสังคมมุสลิมให้เป็นหนึ่งเดียว กองทัพศาสนาอิสลามจึงเริ่มแผ่นเข้ามาทางเอเชียกลางและตะวันออกอย่างต่อเนื่อง พวกอุยกูร์ในดินแดนมองโกเลียสู้ไม่ได้ต้องอพยพหนีไปจีน ไปแว่นแคว้นต่าง ๆ ในแอ่งทาริม ซึ่งกลายมาเป็นที่อยู่ของชนเผ่าอุยกูร์มาจนปัจจุบันในนามของเขตปกครองตนเองซินเกียงอุยกูร์ แต่หลังจากพวกมุสลิมผนวกศาสนามากินีของพวกอุยกูร์เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาอิสลาม พวกอุยกูร์ที่เป็นมากินีก็ค่อย ๆ เปลี่ยนไปนับถืออิสลามด้วยหลังค.ศ. 934 เป็นต้นมา ศาสนาอิสลามก็แพร่หลายเข้าสู่เมืองต่าง ๆ บนเส้นทางสายไหมอย่างรวดเร็ว ถึงแม้ 300 ปีต่อมา พวกมองโกลจะเรืองอำนาจ ศาสนาอิสลามก็ยังอยู่ดี แต่เผ่ามองโกลที่รบชนะมีวัฒนธรรมด้อยกว่ากลับยอมรับศาสนาอิสลาม ชนชั้นผู้นำหลายคนเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลามกันอย่างสมัครใจ


0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ศาสนาและวัฒนธรรม จากหลักฐานประวัติศาสตร์ที่ค้นพบได้แก่คำจารึกบนกระดูกสัตว์ (ประมาณ 1,600 1,100 ปีก่อนคริสตกาล) และคำจารึกบนโลหะสำริด (ประมาณ 1100-476 ปีก่อนคริสตกาล) ทำให้สันนิษฐานได้ว่าชาวจีนตั้งแต่ช่วงต้นประวัติศาสตร์มีการบูชาธรรมชาติต่อมาจึงเริ่มมีการบูชาจักรพรรดิหยก (เง็ก) และเทพเจ้าต่างๆ ในยุคที่ประเทศจีนยังไม่รวมเป็นปึกแผ่นแยกเป็นรัฐเล็กรัฐน้อยและมีการรบพุ่งกันอยู่เสมอนักปราชญ์ 2 ท่านได้ออกมาเสนอแนวคิดและแนวปฏิบัติให้ชาวบ้านได้ยึดเป็นหลักการดำรงชีวิตกลายเป็นความเชื่อที่ฝังรากลึกในสังคมจีนคือลัทธิเต๋าและลัทธิขงจื้อภายหลังเมื่อมีการสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าและการทูตกับชาติต่างๆ ชาวจีนได้รับการเผยแพร่ศาสนาพุทธจากอินเดียอิสลามจากเอเชียกลางและคริสต์จากชาติตะวันตก ลัทธิเต๋าก่อตั้งโดยท่านหลี่ตานหรือเล่าจื๊อที่ชาวไทยเรียกคำสอนเน้นเรื่องความสงบตามวิธีธรรมชาติให้ผู้คนกลับสู่ธรรมชาติมีความอ่อนน้อมไม่ยึดติดกับกรอบของสังคมสรรพสิ่งในโลกมีสองด้านเสมอมีมืดก็ต้องมีสว่างมีขาวก็ต้องมีดำมีดีก็ย่อมมีเลวหลักการเช่นนี้เป็นเริ่มลึกซึ้งที่ต้องอาศัยปัญญาพิจารณาไตร่ตรองผู้คนส่วนใหญ่จึงละเลยหันไปหลงกับเรื่องราวปาฏิหาริย์ของเหล่าเซียนและยาอายุวัฒนะแทนท่านหลี่ตานเผยแพร่ปรัชญาอยู่ทางตอนใต้ของจีนช่วง 551-479 ปีก่อนคริสตกาล ลัทธิขงจื๊อ หรือขงจื๊อตามการเรียกขานของคนไทย มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า ลัทธิหยู ก่อตั้งโดยท่านขงจื๊อ ชาวหมู่บ้านชวีฝู่ มีชีวิตอยู่ระหว่าง 551-479 ปีก่อนคริสตกาบ ลัทธินี้ให้ความสำคัญกับระเบียบสังคมและหน้าที่ที่บุคคลพึงมีต่อกัน ให้ความสำคัญกับครอบครัว การกตัญญูรู้คุณ มีคุณธรรมและแนวปฏิบัติเรื่องการเซ่นไหว้บรรพบุรุษที่ชาวจีนถือปฏิบัติมาจนถึงปัจจุบัน(คริสต์ศตวรรษที่ 12 จูซี (Zhu Xi) ได้ผนวกแนวคิดเชิงอภิปรัชญาของพุทธศาสนาและลัทธิเต๋าเข้ากับแนวคิดขงจื๊อ เกิดเป็นหลักจริยธรรมจีน สามารถนำมาใช้ปฏิบัติทางการเมืองและชีวิตประจำวัน ชื่อว่า “ลัทธิขงจื๊อใหม่” ซึ่งเป็นที่แพร่หลายมาก) ศาสนาพุทธ เข้าสู่ประเทศจีนโดยพ่อค้าและพระที่เดินทางตามเส้นทางสายไหม ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนานิกายมหายาน ซึ่งมีความเชื่อว่าสัตว์โลกทั้งหลายจะหลุดพ้นโดยมีพระโพธิสัตว์มาโปรด เรื่องของกฎแห่งกรรมและชีวิตหลังความตาย แนวทางศาสนาพุทธคล้ายคลึงกับเต๋าที่พยายามชี้ให้เห็นความว่างเปล่า การปลดปล่อยตัวเองจากธรรมชาติ เป็นอิสระจากกิเลสทั้งปวงที่ยึดติดอยู่ ศาสนาคริสต์ เผยแพร่เข้าสู่จีนครั้งแรกใน ค.ศ. 635 โดยมิชชันนารีนิกายเนสโตเรียน ซึ่งเป็นนิกายที่แยกตัวออกมาจากอาณาจักรโรมันตะวันออก เพราะเชื่อว่าพระเยซูไม่ใช่พระเจ้า แต่งทางมีส่วนที่เป็นทั้งมนุษย์และพระเจ้าเนื่องจากประสูติจากครรภ์มนุษย์และทรงได้ส่วนที่เป็นพระเจ้ามาจากพระยะโฮวา ชาวจีนเรียกศาสนานี้ว่า จิ่งเจี๊ยว
ศาสนาอิสลาม หลังจากท่านนบีมูฮัมหมัด (ค.ศ. 570-632) ประกาศศาสนาอิสลาม มีผู้ศรัทธานับถือทั่วคาบสมุทรอาระเบียแล้ว ท่านต้องการสร้างสังคมมุสลิมให้เป็นหนึ่งเดียว กองทัพศาสนาอิสลามจึงเริ่มแผ่นเข้ามาทางเอเชียกลางและตะวันออกอย่างต่อเนื่อง พวกอุยกูร์ในดินแดนมองโกเลียสู้ไม่ได้ต้องอพยพหนีไปจีน ไปแว่นแคว้นต่าง ๆ ในแอ่งทาริม ซึ่งกลายมาเป็นที่อยู่ของชนเผ่าอุยกูร์มาจนปัจจุบันในนามของเขตปกครองตนเองซินเกียงอุยกูร์ แต่หลังจากพวกมุสลิมผนวกศาสนามากินีของพวกอุยกูร์เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาอิสลาม พวกอุยกูร์ที่เป็นมากินีก็ค่อย ๆ เปลี่ยนไปนับถืออิสลามด้วยหลังค.ศ. 934 เป็นต้นมา ศาสนาอิสลามก็แพร่หลายเข้าสู่เมืองต่าง ๆ บนเส้นทางสายไหมอย่างรวดเร็ว ถึงแม้ 300 ปีต่อมา พวกมองโกลจะเรืองอำนาจ ศาสนาอิสลามก็ยังอยู่ดี แต่เผ่ามองโกลที่รบชนะมีวัฒนธรรมด้อยกว่ากลับยอมรับศาสนาอิสลาม ชนชั้นผู้นำหลายคนเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลามกันอย่างสมัครใจ


การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

ได้แก่ คำจารึกบนกระดูกสัตว์ (ประมาณ 1,600-1,100 ปีก่อนคริสตกาล) และคำจารึกบนโลหะสำริด (ประมาณ 1,100-476 ปีก่อนคริสตกาล) (หยกจักรพรรดิ) และเทพเจ้าต่าง ๆ และมีการรบพุ่งกันอยู่เสมอ นักปราชญ์ 2 คือลัทธิเต๋าและลัทธิขงจื้ อ ๆ จากเนชั่เอเชียอิสลามกลางและคริสต์จากเนชั่คุณชาติตะวันตก
ลัทธิเต๋าก่อตั้งโดยท่านหลี่คุณตาหรือหนังสือนเล่าจื๊หนังสืออที่ชาวไทย English เรียก ให้ผู้คนกลับสู่ธรรมชาติ สรรพสิ่งในโลกมีสองด้านเสมอ มีมืดก็ต้องมีสว่างมีขาวก็ต้องมีดำมีดีก็ย่อมมีเลว 551-479 ก่อนคริสตกาลปี
ลัทธิขงจื๊อหรือขงจื๊อตามหัวเรื่อง: การเรียกขานของของคุณคนไทย English มีชื่อเรียกอีกอย่างว่าได้ลัทธิหยูก่อตั้งโดยท่านขงจื๊อชาวหมู่บ้านชวีฝู่มีชีวิตขณะนี้ระหว่าง 551-479 ปีก่อนคริสตกาบ ให้ความสำคัญกับครอบครัวการกตัญญูรู้ คุณ 12 จูซี (จูซี) เกิดเป็นหลักจริยธรรมจีน ชื่อว่า "ลัทธิขงจื๊อใหม่" ซึ่งเป็นที่แพร่หลายมาก)
ศาสนาพุทธ ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนานิกายมหายาน การปลดปล่อยตัวเองจากธรรมชาติ
เผยแพร่เข้าสู่จีนครั้งแรกใน ค.ศ. 635 โดยมิชชันนารีนิกายเนส โตเรียน เพราะเชื่อว่าพระเยซูไม่ใช่พระเจ้า จีนเรียกชาวศาสนานี้ว่าได้จิ่งเจี๊ยวศาสนาอิสลามหลังจากท่านหนังสือนบีมูฮัมหมัด ( ค.ศ. 570-632) ประกาศศาสนาอิสลาม ไปแว่นแคว้นต่าง ๆ ในแอ่งทา ริม พวกอุยกูร์ที่เป็นมากินี ก็ค่อย ๆ เปลี่ยนไปนับถืออิสลามด้วยหลังค . ศ 934 เป็นต้นมา ๆ บนเส้นทางสายไหมอย่างรวดเร็วถึงแม้ 300 ปีต่อมาพวกมองโกลจะเรืองอำนาจศาสนา อิสลามก็ยังอยู่ดี




การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ศาสนาและวัฒนธรรมจากหลักฐานประวัติศาสตร์ที่ค้นพบได้แก่คำจารึกบนกระดูกสัตว์ ( ประมาณ 1600-1100 ปีก่อนคริสตกาล ) และคำจารึกบนโลหะสำริด ( ประมาณ 1100-476 ปีก่อนคริสตกาล ) ทำให้สันนิษฐานได้ว่าชาวจีนตั้งแต่ช่วงต้นประวัติศาสตร์มีการบูชาธรรมชาติต่อมาจึงเริ่มมีการบูชาจักรพรรดิหยก ( เง็กเซียนฮ่องเต้ ) และเทพเจ้าต ่างจะในยุคที่ประเทศจีนยังไม่รวมเป็นปึกแผ่นแยกเป็นรัฐเล็กรัฐน้อยและมีการรบพุ่งกันอยู่เสมอนักปราชญ์ 2 ท่านได้ออกมาเสนอแนวคิดและแนวปฏิบัติให้ชาวบ้านได้ยึดเป็นหลักการดำรงชีวิตกลายเป็นความเชื่อที่ฝังรากลึกในสังคมจีนความลัทธิเต๋าและลัทธิขงจื้อภายหลังเมื่อมี การสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าและการทูตกับชาติต่างจะชาวจีนได้รับการเผยแพร่ศาสนาพุทธจากอินเดียอิสลามจากเอเชียกลางและคริสต์จากชาติตะวันตกลัทธิเต๋าก่อตั้งโดยท่านหลี่ตานหรือเล่าจื๊อที่ชาวไทยเรียกคำสอนเน้นเรื่องความสงบตามวิธีธรรมชาติให้ผู้คนกลับสู่ธรรมชาติมีความอ่อนน้อมไม่ยึดติดกับกรอบของสังคมสรรพสิ่งในโลกมีสองด้านเสมอมีมืดก็ต้องมีสว่างมีขาวก็ต้องมีดำมีดีก็ย่อมมีเลวหลักการเช่นนี้เป็น เริ่มลึกซึ้งที่ต้องอาศัยปัญญาพิจารณาไตร่ตรองผู้คนส่วนใหญ่จึงละเลยหันไปหลงกับเรื่องราวปาฏิหาริย์ของเหล่าเซียนและยาอายุวัฒนะแทนท่านหลี่ตานเผยแพร่ปรัชญาอยู่ทางตอนใต้ของจีนช่วง 551-479 ปีก่อนคริสตกาลลัทธิขงจื๊อหรือขงจื๊อตามการเรียกขานของคนไทยมีชื่อเรียกอีกอย่างว่าลัทธิหยูก่อตั้งโดยท่านขงจื๊อชาวหมู่บ้านชวีฝู่มีชีวิตอยู่ระหว่าง 551-479 ปีก่อนคริสตกาบลัทธินี้ให้ความสำคัญกับระเบียบสังคมและหน้าที่ที่บุคคลพึงมีต่อกันให้ความสำคัญกับครอบครัวการกตัญญูรู้คุ ณมีคุณธรรมและแนวปฏิบัติเรื่องการเซ่นไหว้บรรพบุรุษที่ชาวจีนถือปฏิบัติมาจนถึงปัจจุบัน ( คริสต์ศตวรรษที่ 12 จูซี ( Zhu Xi ) ได้ผนวกแนวคิดเชิงอภิปรัชญาของพุทธศาสนาและลัทธิเต๋าเข้ากับแนวคิดขงจื๊อเกิดเป็นหลักจริยธรรมจีนสามารถนำมาใช้ปฏิบัติทางการเมืองและชีวิตประจำวันชื ่อว่า " ลัทธิขงจื๊อใหม่ " ซึ่งเป็นที่แพร่หลายมาก )ศาสนาพุทธเข้าสู่ประเทศจีนโดยพ่อ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: