ประวัติหลวงพ่อแช่มวัดฉลอง

ประวัติหลวงพ่อแช่มวัดฉลอง"หลวงพ่อแช

ประวัติหลวงพ่อแช่มวัดฉลอง
"หลวงพ่อแช่ม" วัดฉลอง ท่านเกิดที่ตำบลบ่อแสน อำเภอทับปุด จังหวัดพังงา เมื่อปีกุน พุทธศักราช 2370 ในรัชสมัยของ"พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว"(รัชกาลที่ 3) (นามโยมบิดา-มารดา) ไม่ปรากฏในประวัติแม้ แต่ "หลวงพ่อช่วง" วัดท่าฉลอง ศิษย์เอกของท่านก็ไม่สามารถให้รายละเอียดได้) พ่อแม่ส่งให้อยู่ ณ วัดฉลอง เป็นศิษย์ ของ พ่อท่านเฒ่าตั้งแต่เล็ก เมื่อมีอายุพอจะบวชได้ก็บวชเป็นสามเณร และ ต่อมาเมื่ออายุถึงที่จะ บวช เป็นพระภิกษุก็บวชเป็นพระภิกษุจำพรรษาอยู่ ณ วัดฉลองนี้หลวงพ่อแช่มได้ศึกษาวิปัสนาธุระ จากพ่อท่านเฒ่าจน เป็นผู้ที่เชี่ยวชาญทางวิปัสนาธุระเป็นอย่างสูง ความมีชื่อเสียงของหลวงพ่อแช่มปรากฏชัด ในคราวที่หลวงพ่อแช่ม เป็นหัวหน้าปราบอั้งยี่ ซึ่งท่านจะได้ทราบต่อไปนี้
ปราบอั้งยี่
ในปีพุทธศักราช 2419 กรรมกรเหมืองแร่เป็นจำนวนหมื่น ในจังหวัดภูเก็ต และจังหวัดใกล้เคียงได้ซ่องสุม ผู้คน ก่อตั้งเป็นคณะขึ้นเรียกว่า อั้งยี่ โดยเฉพาะพวกอั้งยี่ในจังหวัดภูเก็ตก่อเหตุวุ่นวายถึงขนาดจะเข้า ยึดการ ปกครอง ของจังหวัดเป็นของพวกตน ทางราชการในสมัยนั้นไม่อาจปราบให้สงบราบคาบได้ พวกอั้งยี่ถืออาวุธ รุกไล่ ยิง ฟันชาวบ้านล้มตายลงเป็นจำนวนมากชาวบ้านไม่อาจต่อสู้ป้องกันตนเองและทรัพย์สิน ที่รอดชีวิตก็หนี เข้าป่าไป เฉพาะในตำบลฉลองชาวบ้านได้หลบหนีเข้าป่า เข้าวัด ทิ้งบ้านเรือนปล่อยให้พวกอั้งยี่เผาบ้านเรือน หมู่บ้านซึ่งพวกอั้งยี่เผา ได้ชื่อว่า บ้านไฟไหม้ จนกระทั่งบัดนี้
ชาวบ้านที่หลบหนีเข้ามาในวัดฉลอง เมื่อพวกอั้งยี่รุกไล่ใกล้วัดเข้ามา ต่างก็เข้าไปแจ้งให้หลวงพ่อแช่ม ทราบ และนิมนต์ให้หลวงพ่อแช่ม หลบหนีออกจากวัดฉลองไปด้วย หลวงพ่อแช่มไม่ยอมหนี ท่านว่า ท่านอยู่ที่ วัดนี้ตั้งแต่เด็กจนบวชเป็นพระ และเป็นเจ้าวัดอยู่ขณะนี้ จะให้หนีทิ้งวัดไปได้อย่างไร
เมื่อหลวงพ่อแช่มไม่ยอมหนีทิ้งวัด ชาวบ้านต่างก็แจ้งหลวงพ่อแช่มว่า เมื่อท่านไม่หนีพวกเขาก็ไม่หนี จะขอสู้มันละ พ่อท่านมีอะไรเป็นเครื่องคุ้มกันตัวขอให้ทำให้ด้วย หลวงพ่อแช่มจึงทำผ้าประเจียดแจกโพกศีรษะ คนละผืนเมื่อได้ของคุ้มกันคนไทยชาวบ้านฉลองก็ออกไปชักชวนคนอื่นๆ ที่หลบหนีไปอยู่ตามป่า กลับมารวม พวกกัน อยู่ในวัด หาอาวุธ ปืน มีด เตรียมต่อสู้กับพวกอั้งยี่
พวกอั้งยี่ เที่ยวรุกไล่ฆ่าฟันชาวบ้าน ไม่มีใครต่อสู้ก็จะชะล่าใจ ประมาทรุกไล่ฆ่าชาวบ้านมาถึงวัดฉลอง ชาวบ้านซึ่งได้รับผ้าประเจียดจากหลวงพ่อแช่มโพกศีรษะไว้ก็ออกต่อต้านพวกอั้งยี่ พวกอั้งยี่ไม่สามารถทำร้าย ชาวบ้านก็ถูกชาวบ้านไล่ฆ่าฟันแตกหนีไป ครั้งนี้เป็นชัยชนะครั้งแรกของไทยชาวบ้านฉลอง ข่าวชนะศึกครั้งแรก ของชาวบ้านฉลอง รู้ถึงชาวบ้านที่หลบหนีไปอยู่ที่อื่น ต่างพากลับมายังวัดฉลอง รับอาสาว่า ถ้าพวกอั้งยี่มารบอีก ก็จะต่อสู้ ขอให้หลวงพ่อแช่มจัดเครื่องคุ้มครองตัวให้ หลวงพ่อแช่มก็ทำผ้าประเจียดแจกจ่ายให้คนละผืน พร้อม กับแจ้งแก่ชาวบ้านว่า "ข้าเป็นพระสงฆ์จะรบราฆ่าฟันกับใครไม่ได้ พวกสูจะรบก็คิดอ่านกันเอาเอง ข้าจะทำเครื่อง คุณพระให้ไว้สำหรับป้องกันตัวเท่านั้น" ชาวบ้านเอาผ้าประเจียดซึ่งหลวงพ่อแช่มทำให้โพก ศีรษะเป็นเครื่องหมาย บอกต่อต้านพวกอั้งยี่
พวกอั้งยี่ให้ฉายาคนไทยชาวบ้านฉลองว่า พวกหัวขาว ยกพวกมาโจมตีคนไทยชาวบ้านฉลองหลายครั้ง ชาวบ้านถือเอากำแพงพระอุโบสถเป็นแนวป้องกัน อั้งยี่ไม่สามารถตีฝ่าเข้ามาได้ ภายหลังจัดเป็นกองทัพเป็น จำนวนพัน ตั้งแม่ทัพ นายกอง มีธงรบ ม้าล่อ เป็นเครื่องประโคมขณะรบกัน ยกทัพเข้าล้อมรอบกำแพงพระอุโบสถ ยิงปืน พุ่งแหลน พุ่งอีโต้ เข้ามาที่กำแพง เป็นที่น่าอัศจรรย์ที่บรรดาชาวบ้านซึ่งได้เครื่องคุ้มกันตัวจากหลวงพ่อ แช่มต่างก็แคล้วคลาดไม่ถูกอาวุธของพวกอั้งยี่เลย
คณะกรรมการเมืองภูเก็ต ได้ทำรายงานกราบทูลไปยังพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้คณะกรรมการเมืองนิมนต์หลวงพ่อแช่ม ให้เดินทางไปยังกรุงเทพมหานคร มีพระประสงค์ทรงปฏิสันฐานกับหลวงพ่อแช่มด้วยพระองค์เอง หลวงพ่อแช่มและคณะเดินทาง ถึงกรุงเทพ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานสมฌศักดิ์หลวงพ่อแช่ม เป็นพระครูวิสุทธิวงศาจารย์ญานมุนี ให้มีตำแหน่งเป็นสังฆปาโมกข์เมืองภูเก็ต อันเป็นตำแหน่งสุงสุดซึ่งบรรพชิตจักพึงมีในสมัยนั้นในโอกาสเดียวกัน ทรงพระราชทานนามวัดฉลองเป็นวัดไชยาธาราราม
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติหลวงพ่อแช่มวัดฉลอง"หลวงพ่อแช่ม" วัดฉลองท่านเกิดที่ตำบลบ่อแสนอำเภอทับปุดจังหวัดพังงาเมื่อปีกุนพุทธศักราช 2370 ในรัชสมัยของ "พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว"(รัชกาลที่ 3) ศิษย์เอกของท่านก็ไม่สามารถให้รายละเอียดได้วัดท่าฉลอง "หลวงพ่อช่วง" (นามโยมบิดา-มารดา) ไม่ปรากฏในประวัติแม้แต่) พ่อแม่ส่งให้อยู่ณวัดฉลองเป็นศิษย์นั้น ๆ พ่อท่านเฒ่าตั้งแต่เล็กเมื่อมีอายุพอจะบวชได้ก็บวชเป็นสามเณรและต่อมาเมื่ออายุถึงที่จะบวชเป็นพระภิกษุก็บวชเป็นพระภิกษุจำพรรษาอยู่ณวัดฉลองนี้หลวงพ่อแช่มได้ศึกษาวิปัสนาธุระจากพ่อท่านเฒ่าจนเป็นผู้ที่เชี่ยวชาญทางวิปัสนาธุระเป็นอย่างสูงความมีชื่อเสียงของหลวงพ่อแช่มปรากฏชัดในคราวที่หลวงพ่อแช่มเป็นหัวหน้าปราบอั้งยี่ซึ่งท่านจะได้ทราบต่อไปนี้ปราบอั้งยี่ ในปีพุทธศักราช 2419 กรรมกรเหมืองแร่เป็นจำนวนหมื่น ในจังหวัดภูเก็ต และจังหวัดใกล้เคียงได้ซ่องสุม ผู้คน ก่อตั้งเป็นคณะขึ้นเรียกว่า อั้งยี่ โดยเฉพาะพวกอั้งยี่ในจังหวัดภูเก็ตก่อเหตุวุ่นวายถึงขนาดจะเข้า ยึดการ ปกครอง ของจังหวัดเป็นของพวกตน ทางราชการในสมัยนั้นไม่อาจปราบให้สงบราบคาบได้ พวกอั้งยี่ถืออาวุธ รุกไล่ ยิง ฟันชาวบ้านล้มตายลงเป็นจำนวนมากชาวบ้านไม่อาจต่อสู้ป้องกันตนเองและทรัพย์สิน ที่รอดชีวิตก็หนี เข้าป่าไป เฉพาะในตำบลฉลองชาวบ้านได้หลบหนีเข้าป่า เข้าวัด ทิ้งบ้านเรือนปล่อยให้พวกอั้งยี่เผาบ้านเรือน หมู่บ้านซึ่งพวกอั้งยี่เผา ได้ชื่อว่า บ้านไฟไหม้ จนกระทั่งบัดนี้ ชาวบ้านที่หลบหนีเข้ามาในวัดฉลองเมื่อพวกอั้งยี่รุกไล่ใกล้วัดเข้ามาต่างก็เข้าไปแจ้งให้หลวงพ่อแช่มทราบและนิมนต์ให้หลวงพ่อแช่มหลบหนีออกจากวัดฉลองไปด้วยหลวงพ่อแช่มไม่ยอมหนีท่านว่าท่านอยู่ที่วัดนี้ตั้งแต่เด็กจนบวชเป็นพระและเป็นเจ้าวัดอยู่ขณะนี้จะให้หนีทิ้งวัดไปได้อย่างไร เมื่อหลวงพ่อแช่มไม่ยอมหนีทิ้งวัดชาวบ้านต่างก็แจ้งหลวงพ่อแช่มว่าเมื่อท่านไม่หนีพวกเขาก็ไม่หนีจะขอสู้มันละพ่อท่านมีอะไรเป็นเครื่องคุ้มกันตัวขอให้ทำให้ด้วยหลวงพ่อแช่มจึงทำผ้าประเจียดแจกโพกศีรษะคนละผืนเมื่อได้ของคุ้มกันคนไทยชาวบ้านฉลองก็ออกไปชักชวนคนอื่น ๆ ที่หลบหนีไปอยู่ตามป่ากลับมารวมพวกกันอยู่ในวัดหาอาวุธปืนมีดเตรียมต่อสู้กับพวกอั้งยี่ พวกอั้งยี่ เที่ยวรุกไล่ฆ่าฟันชาวบ้าน ไม่มีใครต่อสู้ก็จะชะล่าใจ ประมาทรุกไล่ฆ่าชาวบ้านมาถึงวัดฉลอง ชาวบ้านซึ่งได้รับผ้าประเจียดจากหลวงพ่อแช่มโพกศีรษะไว้ก็ออกต่อต้านพวกอั้งยี่ พวกอั้งยี่ไม่สามารถทำร้าย ชาวบ้านก็ถูกชาวบ้านไล่ฆ่าฟันแตกหนีไป ครั้งนี้เป็นชัยชนะครั้งแรกของไทยชาวบ้านฉลอง ข่าวชนะศึกครั้งแรก ของชาวบ้านฉลอง รู้ถึงชาวบ้านที่หลบหนีไปอยู่ที่อื่น ต่างพากลับมายังวัดฉลอง รับอาสาว่า ถ้าพวกอั้งยี่มารบอีก ก็จะต่อสู้ ขอให้หลวงพ่อแช่มจัดเครื่องคุ้มครองตัวให้ หลวงพ่อแช่มก็ทำผ้าประเจียดแจกจ่ายให้คนละผืน พร้อม กับแจ้งแก่ชาวบ้านว่า "ข้าเป็นพระสงฆ์จะรบราฆ่าฟันกับใครไม่ได้ พวกสูจะรบก็คิดอ่านกันเอาเอง ข้าจะทำเครื่อง คุณพระให้ไว้สำหรับป้องกันตัวเท่านั้น" ชาวบ้านเอาผ้าประเจียดซึ่งหลวงพ่อแช่มทำให้โพก ศีรษะเป็นเครื่องหมาย บอกต่อต้านพวกอั้งยี่ พวกอั้งยี่ให้ฉายาคนไทยชาวบ้านฉลองว่า พวกหัวขาว ยกพวกมาโจมตีคนไทยชาวบ้านฉลองหลายครั้ง ชาวบ้านถือเอากำแพงพระอุโบสถเป็นแนวป้องกัน อั้งยี่ไม่สามารถตีฝ่าเข้ามาได้ ภายหลังจัดเป็นกองทัพเป็น จำนวนพัน ตั้งแม่ทัพ นายกอง มีธงรบ ม้าล่อ เป็นเครื่องประโคมขณะรบกัน ยกทัพเข้าล้อมรอบกำแพงพระอุโบสถ ยิงปืน พุ่งแหลน พุ่งอีโต้ เข้ามาที่กำแพง เป็นที่น่าอัศจรรย์ที่บรรดาชาวบ้านซึ่งได้เครื่องคุ้มกันตัวจากหลวงพ่อ แช่มต่างก็แคล้วคลาดไม่ถูกอาวุธของพวกอั้งยี่เลย คณะกรรมการเมืองภูเก็ต ได้ทำรายงานกราบทูลไปยังพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้คณะกรรมการเมืองนิมนต์หลวงพ่อแช่ม ให้เดินทางไปยังกรุงเทพมหานคร มีพระประสงค์ทรงปฏิสันฐานกับหลวงพ่อแช่มด้วยพระองค์เอง หลวงพ่อแช่มและคณะเดินทาง ถึงกรุงเทพ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานสมฌศักดิ์หลวงพ่อแช่ม เป็นพระครูวิสุทธิวงศาจารย์ญานมุนี ให้มีตำแหน่งเป็นสังฆปาโมกข์เมืองภูเก็ต อันเป็นตำแหน่งสุงสุดซึ่งบรรพชิตจักพึงมีในสมัยนั้นในโอกาสเดียวกัน ทรงพระราชทานนามวัดฉลองเป็นวัดไชยาธาราราม
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

วัดฉลองท่านเกิดที่ตำบลบ่อแสน อำเภอทับปุดจังหวัดพังงาเมื่อปีกุนพุทธศักราช 2370 3) (นามโยมบิดา - มารดา) ไม่ปรากฏในประวัติแม้ แต่ "หลวงพ่อช่วง" วัดท่าฉลอง พ่อแม่ส่งให้อยู่ ณ วัดฉลอง เป็นศิษย์ของพ่อท่านเฒ่าตั้งแต่เล็ก และต่อมาเมื่ออายุถึงที่จะ บวช ณ จากพ่อท่านเฒ่าจน ในคราวที่หลวงพ่อแช่มเป็นหัวหน้า ปราบอั้งยี่ 2419 กรรมกรเหมืองแร่เป็นจำนวนหมื่นในจังหวัด ภูเก็ตและจังหวัดใกล้เคียงได้ซ่องสุมผู้คนก่อตั้งเป็นคณะขึ้นเรียกว่าอั้งยี่ ยึดการปกครองของจังหวัดเป็นของพวก ตน พวกอั้งยี่ถืออาวุธรุกไล่ยิง ที่รอดชีวิตก็หนีเข้าป่าไป เข้าวัด หมู่บ้านซึ่งพวกอั้งยี่เผาได้ชื่อว่าบ้าน ไฟไหม้ ต่างก็เข้าไปแจ้งให้หลวงพ่อแช่ม ทราบและนิมนต์ให้หลวงพ่อแช่มหลบหนีออกจากวัดฉลองไปด้วยหลวงพ่อแช่มไม่ยอมหนีท่านว่าท่านอยู่ที่วัดนี้ตั้งแต่เด็กจนบวชเป็นพระและเป็นเจ้าวัดอยู่ขณะนี้ ชาวบ้านต่างก็แจ้งหลวงพ่อแช่ม ว่าเมื่อท่านไม่หนีพวกเขาก็ไม่หนีจะขอสู้มันละ ที่หลบหนีไปอยู่ตามป่ากลับ มารวมพวกกันอยู่ในวัดหาอาวุธปืนมีด เที่ยวรุกไล่ฆ่าฟันชาวบ้านไม่มี ใครต่อสู้ก็จะชะล่าใจ พวกอั้งยี่ไม่สามารถทำร้าย ข่าวชนะศึกครั้งแรกของชาวบ้าน ฉลอง ต่างพากลับมายังวัดฉลองรับอาสา ว่าถ้าพวกอั้งยี่มารบอีกก็จะต่อสู้ พร้อมกับแจ้งแก่ชาวบ้านว่า พวกสูจะรบก็คิดอ่านกัน เอาเองข้าจะทำเครื่อง ศีรษะเป็นเครื่องหมาย พวกหัวขาว อั้งยี่ไม่สามารถตีฝ่าเข้ามาได้ ภายหลังจัดเป็นกองทัพเป็นจำนวนพันตั้งแม่ทัพนายกองมีธงรบม้าล่อเป็นเครื่องประโคมขณะรบกันยกทัพเข้าล้อมรอบกำแพงพระอุโบสถยิงปืนพุ่งแหลนพุ่งอีโต้เข้ามาที่กำแพง ทรงพระ ให้เดินทางไปยังกรุงเทพมหานคร หลวงพ่อแช่มและคณะเดินทางถึงกรุงเทพ เป็นพระครูวิสุทธิวงศาจารย์ญา นมุนี







การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติหลวงพ่อแช่มวัดฉลอง" หลวงพ่อแช่ม " วัดฉลองท่านเกิดที่ตำบลบ่อแสนอำเภอทับปุดจังหวัดพังงาเมื่อปีกุนพุทธศักราชของในรัชสมัยของ " พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว " ( รัชกาลที่ 3 ) ( นามโยมบิดา - มารดา ) ไม่ปรากฏในประวัติแม้ A " หลวงพ่อช่วง " วัดท่าฉลองศิษย์เอกของท่านก็ไม่สามารถให้รายละเอียดได้ ) พ่อแม่ส่งให้อยู่ณวัดฉลองเป็นศิษย์ของพ่อท่านเฒ่าตั้งแต่เล็กเมื่อมีอายุพอจะบวชได้ก็บวชเป็นสามเณรและต่อมาเมื่ออายุถึงที่จะบวชเป็นพระภิกษุก็บวชเป็นพระภิกษุจำพรรษาอยู่ณวัดฉลองนี้หลวงพ่อแช่มได้ศึกษาวิปัสนาธุระจากพ่อท่านเฒ่าจนเป็นผู้ที่เชี่ยวชาญทางวิป ัสนาธุระเป็นอย่างสูงความมีชื่อเสียงของหลวงพ่อแช่มปรากฏชัดในคราวที่หลวงพ่อแช่มเป็นหัวหน้าปราบอั้งยี่ซึ่งท่านจะได้ทราบต่อไปนี้ปราบอั้งยี่ในปีพุทธศักราชศาสนาพราหมณ์ กรรมกรเหมืองแร่เป็นจำนวนหมื่นในจังหวัดภูเก็ตและจังหวัดใกล้เคียงได้ซ่องสุมผู้คนก่อตั้งเป็นคณะขึ้นเรียกว่าอั้งยี่โดยเฉพาะพวกอั้งยี่ในจังหวัดภูเก็ตก่อเหตุวุ่นวายถึงขนาดจะเข้ายึดการปกครองของจังหวัดเป็นของพวกตนทางราชการในสมัยนั้นไม่อาจ ปราบให้สงบราบคาบได้พวกอั้งยี่ถืออาวุธรุกไล่ยิงฟันชาวบ้านล้มตายลงเป็นจำนวนมากชาวบ้านไม่อาจต่อสู้ป้องกันตนเองและทรัพย์สินที่รอดชีวิตก็หนีเข้าป่าไปเฉพาะในตำบลฉลองชาวบ้านได้หลบหนีเข้าป่าเข้าวัดทิ้งบ้านเรือนปล่อยให้พวกอั้งยี่เผาบ้านเรือนหมู่บ้านซึ่งพว กอั้งยี่เผาได้ชื่อว่าบ้านไฟไหม้จนกระทั่งบัดนี้ชาวบ้านที่หลบหนีเข้ามาในวัดฉลองเมื่อพวกอั้งยี่รุกไล่ใกล้วัดเข้ามาต่างก็เข้าไปแจ้งให้หลวงพ่อแช่มทราบและนิมนต์ให้หลวงพ่อแช่มหลบหนีออกจากวัดฉลองไปด้วยหลวงพ่อแช่มไม่ยอมหนีท่านว่าท่านอยู่ที่วัดนี้ตั้งแต่เด็กจนบวชเป็นพระและเป็นเจ้าวัดอยู่ขณะนี้จะให้หนี ทิ้งวัดไปได้อย่างไรเมื่อหลวงพ่อแช่มไม่ยอมหนีทิ้งวัดชาวบ้านต่างก็แจ้งหลวงพ่อแช่มว่าเมื่อท่านไม่หนีพวกเขาก็ไม่หนีจะขอสู้มันละพ่อท่านมีอะไรเป็นเครื่องคุ้มกันตัวขอให้ทำให้ด้วยหลวงพ่อแช่มจึงทำผ้าประเจียดแจกโพกศี
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: