ฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ (เกิด 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498) จิตรกรไทยมีผลงานจิ การแปล - ฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ (เกิด 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498) จิตรกรไทยมีผลงานจิ ไทย วิธีการพูด

ฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ (เกิด 15 กุมภา

ฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ (เกิด 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498) จิตรกรไทยมีผลงานจิตรกรรมไทยหลายอย่าง ได้มีผลงานเช่น ภาพจิตรกรรมไทยในอุโบสถวัดพุทธประทีป
กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ, เขียนภาพประกอบบทพระราชนิพนธ์ พระมหาชนก และผลงานศิลปะที่ วัดร่องขุ่น ซึ่งมีทั้งงานสถาปัตถยกรรม, ประติมากรรมปูนปั้น และงานจิตรกรรมไทย


ประวัติ

เป็นจิตรกรที่มีฝีมือเป็นที่ยอมรับท่านหนึ่งของประเทศไทย เป็นชาวหมู่บ้านร่องขุ่น จังหวัดเชียงราย เกิดวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498 เป็นบุตรคนที่ 3 ของนายฮั่วชิว แซ่โค้ว
(ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นนายไพศาล) และนางพรศรี อยู่สุข​ทำคลอดด้วยหมอตำแยชื่อยายตุ่น ชีวิตตอนเด็กๆ เป็นคนเกเร ไม่ตั้งใจเรียน แต่มีความชอบวาดรูป
จึงพยายามเข้าเรียนที่เพาะช่าง และมหาวิทยาลัยศิลปากร เคยได้รับเหรียญทองจากการประกวดผลงานระดับชาติ ในตอนที่เรียนอยู่ตอนปีที่ 4
มีผลงานรูปวาดตามผนังของวัดไทยมากมาย ผลงานปัจจุบัน ท่านตั้งใจที่จะสร้างวัดร่องขุ่น ซึ่งเป็นบ้านเกิดของท่าน ด้วยศิลปะสมัยใหม่

ผลงาน

การแสดงผลงาน เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ จัดแสดงผลงานเดี่ยว และร่วมแสดงผลงานในนิทรรศการสำคัญต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ

ตั้งแต่ พ.ศ. 2520 จนถึงปัจจุบัน

* พ.ศ. 2523 เป็นประธานก่อตั้งกลุ่ม "ศิลปไทย 23" เพื่อต้านอิทธิพลศิลปะจากยุโรป อเมริกา
* พ.ศ. 2527 เริ่มโครงการจิตรกรรมฝาผนังวัดพุทธประทีป กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ และเดินทางไปเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดพุทธปทีป โดยไม่คิดค่าจ้าง
* พ.ศ. 2539 เริ่มดำเนินการออกแบบก่อสร้างอุโบสถ วัดร่องขุ่น จังหวัดเชียงราย บ้านเกิดของตนถวายเป็นพุทธบูชาจนถึงปัจจุบัน

รางวัลและเกียรติยศ

* พ.ศ. 2520 - รางวัลที่ 1 เหรียญทอง จากการประกวดจิตรกรรมบัวหลวง ครั้งที่ 3
* พ.ศ. 2520 - รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 3 จากการประกวดศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 25
* พ.ศ. 2522 - รางวัลที่ 2 เหรียญเงิน จากการประกวดจิตรกรรมบัวหลวง ครั้งที่ 4 ของธนาคารกรุงเทพ
* พ.ศ. 2536 - ได้รับเครื่องหมายเกียรติคุณบุคคลตัวอย่างผู้สร้างเสริมงานวัฒนธรรมด้าน จิตรกรรม จาก สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
* พ.ศ. 2537 - ได้รับโล่เชิดชูเกียรติ "เพชรสยาม" (สาขาจิตรกรรม) จากสถาบันราชภัฎจันทรเกษม
* พ.ศ. 2538 - ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้เขียนภาพประกอบ บทพระราชนิพนธ์ "พระมหาชนก"
และออกแบบเหรียญพระราชทานคณะแพทย์
* พ.ศ. 2543 - ที่ปรึกษากรมศิลปากร งานเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังพระพุทธรัตนสถานในพระบรมมหาราชวัง
o ที่ปรึกษาธนาคารแห่งประเทศไทย ออกแบบธนบัตรราชาภิเษกสมรส ครบ 50 ปี
o ถวายการสอนพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์

ทุนที่ได้รับ

* พ.ศ. 2523 - ทุนจากกลุ่มศิลปินร่วมสมัยของศรีลังกา ร่วมกับสถานทูตไทยในโคลัมโบให้พำนักศึกษา พุทธศิลป์ เป็นเวลา 6 เดือน และทุนในการแสดงผลงาน
* พ.ศ. 2524 - ทุนจากโยฮันเนส ซุลทส์เทสมาร์ ให้พำนักและแสดงผลงานในเยอรมนีเป็นเวลา 6 เดือน - ได้รับเชิญจากบริติชเคาน์ซิล ให้ไปดูงานศิลปะ
และพบศิลปินมีชื่อของอังกฤษ
* พ.ศ. 2526 - ทุนจากทูตวัฒนธรรมเยอรมนี ไปศึกษาดูงานพุทธศิลป์ ในประเทศพม่า
* พ.ศ. 2527 - ทุนจากมูลนิธิวัดพระพุทธศาสนา ณ กรุงลอนดอน และรัฐบาลไทยในการเขียนภาพจิตรกรรม ฝาผนัง วัดพุทธปทีป ณ กรุงลอนดอน
* พ.ศ. 2532 - ทุนจากกงสุลเยอรมนีในซานฟรานซิสโก แสดงผลงานในสหรัฐอเมริกา
* พ.ศ. 2539 - ทุนจากกงสุลไทยในแอลเอ ร่วมกับสภาศิลปกรรมไทยในสหรัฐอเมริกาเพื่อเดินทางไปแสดงผลงาน เนื่องในโอกาสเปิดสถานกงสุลไทย

ที่มา วีกีพีเดีย

หากจะนับชื่อศิลปินไทยที่เรารู้จัก แน่นอนว่า “เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์” เป็นศิลปินในลำดับต้นที่ถูกนึกมาเป็นชื่อแรกๆ เขาเป็น 1 ใน 3 ของศิลปินสายจิตรกรรมในประเทศไทย
ที่นักสะสมต้องการความเห็นของเขา ผลงานของเขาอยู่ในแกลเลอรี่ส่วนตัวของเศรษฐี นักธุรกิจชั้นนำหลายคน
การสร้างงานที่เดินทางมาสู่จุดปลายสุดในสาขาอาชีพของความเป็นศิลปินไทย อันได้แก่ ถวัลย์ ดัชนี, จักรพันธ์ โปษยกฤต ที่อยู่ในฐานะศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์
(จิตรกรรม) ด้วยการยอมรับจากสังคม และผลงานที่ถูกตีราคาสูง

ด้วยผลผลิตจากบรรยากาศชาตินิยมในช่วงปี 2519 การเกิดขึ้นของภาควิชาศิลปไทยในมหาวิทยาลัยศิลปากรภายใต้การกำกับของ ชลูด นิ่มเจริญ ได้สร้างบัณฑิตรุ่นแรกอย่าง
เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ มาผลิตงานศิลปะไทยในช่วงกระแสชาตินิยม

ด้วยเหตุนี้ศิลปะไทยจึงกลายเป็นจุดยืนของเขาที่ชัดเจนจากที่ว่างที่มี อยู่ในสังคมในขณะนั้น ด้วยรูปลักษณ์ “ความเป็นไทยแบบร่วมสมัย”
นอกจากนั้นการร่วมและจัดตั้งกลุ่ม “ศิลปไทย 23” เพื่อต่อต้านกระแสวัฒนธรรมต่างชาติในปี 2523 ก็ทำให้ลักษณะการพูดจาอย่างไม่กลัวเกรงเป็นจุดเริ่มที่ติดตา
และได้กลายเป็นการย้ำจุดยืนของเขาที่ชัดเจนในศิลปะไทยต่อสังคมในขณะนั้น ภายหลังจากนั้นอีก 4 ปีถัดมา การเดินทางไปเขียนจิตรกรรมฝาผนังที่วัดพุทธประทีป
ตำบลวิมเบิลดัน พาร์คไซด์ (Wimbledon Parkside) ประเทศอังกฤษ เป็นการมุ่งสู่ความลึกซึ้งทางธรรม และกลายเป็นอิทธิพลต่องานในแนวทาง
“พุทธศิลป์” (Buddhistic Art) ที่เขาศรัทธา จนนำไปสู่การสร้างงานประติมากรรมและจิตรกรรมที่ยิ่งใหญ่โดยฝากผลงานทั้ง ชีวิตทิ้งไว้ให้เป็นพุทธบูชา

“วัดร่องขุ่น” ที่จังหวัดเชียงราย ปัจจุบันมีนักท่องเที่ยว เมื่อเกือบ 2 ปีก่อนเฉลี่ยต่อเดือนอยู่ที่ 18,000 คน ก่อนที่จะเพิ่มขึ้นอีกเท่าตัวในปีที่แล้ว
โดยคาดว่าปริมาณคนที่แห่เข้ามาชมผลงานจะมากขึ้นและเหยียบหลักแสนได้ภายในไม่ กี่ปี ทำให้จำนวนนักท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงรายเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะชาวไทยที่ตั้งใจ
มาเยี่ยมชมผลงานของเฉลิมชัย ซึ่งสิ่งที่เขากล่าวถึงเสมอก็คือต้องการที่จะสร้างงานตลอดชีวิต เขาบอกว่าเกิดจากความต้องการที่จะสร้างงานระดับโลก
ไม่ได้มีปัญหาเรื่องขาดเงิน

การจัดงานนิทรรศการ “วาดทำบุญ” ที่ผ่านมา 3 ครั้ง เป็นการจากมาและจากไปแต่ละครั้งของชีวิต เมื่อ 7 ปีที่แล้ว การพักงานเขียนเพื่อที่จะลงมือสร้างวัดร่องขุ่น
เริ่มมาตั้งแต่ตอนนั้น แต่ชื่อของเขาก็ยังขายได้มาตลอด ปัจจุบันงานนิทรรศการของเขาที่ผ่านมาจึงไม่ใช่การขายผลงานจริง แต่เป็นเพียงแค่การแสดงผลงานที่ผ่านมา
ตั้งแต่การเป็นชีวิตนักศึกษา เป็นส่วนที่ต่อจาก ภาพพิมพ์ เสื้อ หนังสือ และการ์ด ที่จำหน่ายและตั้งใจนำรายได้สมทบทุนสร้างวัดร่องขุ่นโดยให้ทุกคนร่วมทำบุญ
ในจำนวนจำกัดท
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ฉลิมชัยโฆษิตพิพัฒน์ (เกิด 15 กุมภาพันธ์พ.ศ. 2498) จิตรกรไทยมีผลงานจิตรกรรมไทยหลายอย่างได้มีผลงานเช่นภาพจิตรกรรมไทยในอุโบสถวัดพุทธประทีป
กรุงลอนดอนประเทศอังกฤษ เขียนภาพประกอบบทพระราชนิพนธ์พระมหาชนกและผลงานศิลปะที่วัดร่องขุ่นซึ่งมีทั้งงานสถาปัตถยกรรม ประติมากรรมปูนปั้นและงานจิตรกรรมไทย


ประวัติ

เป็นจิตรกรที่มีฝีมือเป็นที่ยอมรับท่านหนึ่งของประเทศไทยเป็นชาวหมู่บ้านร่องขุ่นจังหวัดเชียงรายเกิดวันที่ 15 กุมภาพันธ์พ.ศ. 2498 เป็นบุตรคนที่ 3 ของนายฮั่วชิวแซ่โค้ว
(ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นนายไพศาล) และนางพรศรีอยู่สุขทำคลอดด้วยหมอตำแยชื่อยายตุ่นชีวิตตอนเด็ก ๆ เป็นคนเกเรไม่ตั้งใจเรียนแต่มีความชอบวาดรูป
จึงพยายามเข้าเรียนที่เพาะช่างและมหาวิทยาลัยศิลปากรเคยได้รับเหรียญทองจากการประกวดผลงานระดับชาติในตอนที่เรียนอยู่ตอนปีที่ 4
มีผลงานรูปวาดตามผนังของวัดไทยมากมายผลงานปัจจุบันท่านตั้งใจที่จะสร้างวัดร่องขุ่นซึ่งเป็นบ้านเกิดของท่านด้วยศิลปะสมัยใหม่

ผลงาน

การแสดงผลงานเฉลิมชัยโฆษิตพิพัฒน์จัดแสดงผลงานเดี่ยวและร่วมแสดงผลงานในนิทรรศการสำคัญต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ

ตั้งแต่พ.ศ. 2520 จนถึงปัจจุบัน

* พ.ศ 2523 เป็นประธานก่อตั้งกลุ่ม "ศิลปไทย 23" เพื่อต้านอิทธิพลศิลปะจากยุโรปอเมริกา
* พ.ศ 2527 เริ่มโครงการจิตรกรรมฝาผนังวัดพุทธประทีปกรุงลอนดอนประเทศอังกฤษและเดินทางไปเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดพุทธปทีปโดยไม่คิดค่าจ้าง
* พ.ศ 2539 เริ่มดำเนินการออกแบบก่อสร้างอุโบสถวัดร่องขุ่นจังหวัดเชียงรายบ้านเกิดของตนถวายเป็นพุทธบูชาจนถึงปัจจุบัน

รางวัลและเกียรติยศ

* พ.ศ. 2520 - รางวัลที่ 1 เหรียญทองจากการประกวดจิตรกรรมบัวหลวงครั้งที่ 3
* พ.ศ 2520 - รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 3 จากการประกวดศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 25
* พ.ศ. 2522 - รางวัลที่ 2 เหรียญเงินจากการประกวดจิตรกรรมบัวหลวงครั้งที่ 4 ของธนาคารกรุงเทพ
* พ.ศ 2536 - ได้รับเครื่องหมายเกียรติคุณบุคคลตัวอย่างผู้สร้างเสริมงานวัฒนธรรมด้านจิตรกรรมจากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
* พ.ศ. ๒๕๓๗ - ได้รับโล่เชิดชูเกียรติ "เพชรสยาม" (สาขาจิตรกรรม) จากสถาบันราชภัฎจันทรเกษม
* พ.ศ. 2538 - ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้เขียนภาพประกอบบทพระราชนิพนธ์ "พระมหาชนก"
และออกแบบเหรียญพระราชทานคณะแพทย์
* พ.ศ 2543 - ที่ปรึกษากรมศิลปากรงานเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังพระพุทธรัตนสถานในพระบรมมหาราชวัง
o ที่ปรึกษาธนาคารแห่งประเทศไทยออกแบบธนบัตรราชาภิเษกสมรสครบ 50 ปี
o ถวายการสอนพระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์

ทุนที่ได้รับ

* พ.ศ. 2523 - ทุนจากกลุ่มศิลปินร่วมสมัยของศรีลังการ่วมกับสถานทูตไทยในโคลัมโบให้พำนักศึกษาพุทธศิลป์เป็นเวลา 6 เดือนและทุนในการแสดงผลงาน
* พ.ศ 2524 -ทุนจากโยฮันเนสซุลทส์เทสมาร์ให้พำนักและแสดงผลงานในเยอรมนีเป็นเวลา 6 เดือน - ได้รับเชิญจากบริติชเคาน์ซิลให้ไปดูงานศิลปะ
และพบศิลปินมีชื่อของอังกฤษ
* พ.ศ ไป - ทุนจากทูตวัฒนธรรมเยอรมนีไปศึกษาดูงานพุทธศิลป์ในประเทศพม่า
* พ.ศ. 2527 - ทุนจากมูลนิธิวัดพระพุทธศาสนาณกรุงลอนดอนและรัฐบาลไทยในการเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดพุทธปทีปณกรุงลอนดอน
* พ.ศ 2532 - ทุนจากกงสุลเยอรมนีในซานฟรานซิสโกแสดงผลงานในสหรัฐอเมริกา
* พ.ศ. 2539 - ทุนจากกงสุลไทยในแอลเอร่วมกับสภาศิลปกรรมไทยในสหรัฐอเมริกาเพื่อเดินทางไปแสดงผลงานเนื่องในโอกาสเปิดสถานกงสุลไทย

ที่มาวีกีพีเดีย

หากจะนับชื่อศิลปินไทยที่เรารู้จักแน่นอนว่า "เฉลิมชัยโฆษิตพิพัฒน์" เป็นศิลปินในลำดับต้นที่ถูกนึกมาเป็นชื่อแรก ๆ เขาเป็น 1 ใน 3 ของศิลปินสายจิตรกรรมในประเทศไทย
ที่นักสะสมต้องการความเห็นของเขาผลงานของเขาอยู่ในแกลเลอรี่ส่วนตัวของเศรษฐีนักธุรกิจชั้นนำหลายคน
การสร้างงานที่เดินทางมาสู่จุดปลายสุดในสาขาอาชีพของความเป็นศิลปินไทยอันได้แก่ถวัลย์ดัชนี จักรพันธ์โปษยกฤตที่อยู่ในฐานะศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์
(จิตรกรรม)ด้วยการยอมรับจากสังคมและผลงานที่ถูกตีราคาสูง

ด้วยผลผลิตจากบรรยากาศชาตินิยมในช่วงปี ๒๕๑๙ การเกิดขึ้นของภาควิชาศิลปไทยในมหาวิทยาลัยศิลปากรภายใต้การกำกับของชลูดนิ่มเจริญได้สร้างบัณฑิตรุ่นแรกอย่าง
เฉลิมชัยโฆษิตพิพัฒน์มาผลิตงานศิลปะไทยในช่วงกระแสชาตินิยม

ด้วยเหตุนี้ศิลปะไทยจึงกลายเป็นจุดยืนของเขาที่ชัดเจนจากที่ว่างที่มีอยู่ในสังคมในขณะนั้นด้วยรูปลักษณ์ "ความเป็นไทยแบบร่วมสมัย"
นอกจากนั้นการร่วมและจัดตั้งกลุ่ม "ศิลปไทย 23" เพื่อต่อต้านกระแสวัฒนธรรมต่างชาติในปี 2523 ก็ทำให้ลักษณะการพูดจาอย่างไม่กลัวเกรงเป็นจุดเริ่มที่ติดตา
และได้กลายเป็นการย้ำจุดยืนของเขาที่ชัดเจนในศิลปะไทยต่อสังคมในขณะนั้นภายหลังจากนั้นอีก 4 ปีถัดมาการเดินทางไปเขียนจิตรกรรมฝาผนังที่วัดพุทธประทีป
ตำบลวิมเบิลดันพาร์คไซด์ (วิมเบิลดันพาร์คไซด์) ประเทศอังกฤษเป็นการมุ่งสู่ความลึกซึ้งทางธรรมและกลายเป็นอิทธิพลต่องานในแนวทาง
ชีวิตทิ้งไว้ให้เป็นพุทธบูชาจนนำไปสู่การสร้างงานประติมากรรมและจิตรกรรมที่ยิ่งใหญ่โดยฝากผลงานทั้งที่เขาศรัทธา "พุทธศิลป์" (สำนักงานพุทธศิลปะ)

"วัดร่องขุ่น" ที่จังหวัดเชียงรายปัจจุบันมีนักท่องเที่ยวเมื่อเกือบ 2 ปีก่อนเฉลี่ยต่อเดือนอยู่ที่ 18000 คนก่อนที่จะเพิ่มขึ้นอีกเท่าตัวในปีที่แล้ว
โดยคาดว่าปริมาณคนที่แห่เข้ามาชมผลงานจะมากขึ้นและเหยียบหลักแสนได้ภายในไม่กี่ปีทำให้จำนวนนักท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงรายเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะชาวไทยที่ตั้งใจ
มาเยี่ยมชมผลงานของเฉลิมชัยซึ่งสิ่งที่เขากล่าวถึงเสมอก็คือต้องการที่จะสร้างงานตลอดชีวิตเขาบอกว่าเกิดจากความต้องการที่จะสร้างงานระดับโลก
ไม่ได้มีปัญหาเรื่องขาดเงิน

การจัดงานนิทรรศการ "วาดทำบุญ" ที่ผ่านมา 3 ครั้งเป็นการจากมาและจากไปแต่ละครั้งของชีวิตเมื่อ 7 ปีที่แล้วการพักงานเขียนเพื่อที่จะลงมือสร้างวัดร่องขุ่น
เริ่มมาตั้งแต่ตอนนั้นแต่ชื่อของเขาก็ยังขายได้มาตลอดปัจจุบันงานนิทรรศการของเขาที่ผ่านมาจึงไม่ใช่การขายผลงานจริงแต่เป็นเพียงแค่การแสดงผลงานที่ผ่านมา
ตั้งแต่การเป็นชีวิตนักศึกษาเป็นส่วนที่ต่อจากภาพพิมพ์เสื้อหนังสือและการ์ดที่จำหน่ายและตั้งใจนำรายได้สมทบทุนสร้างวัดร่องขุ่นโดยให้ทุกคนร่วมทำบุญ
ในจำนวนจำกัดท
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ (เกิด 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498) จิตรกรไทยมีผลงานจิตรกรรมไทยหลายอย่าง ได้มีผลงานเช่น ภาพจิตรกรรมไทยในอุโบสถวัดพุทธประทีป
กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ, เขียนภาพประกอบบทพระราชนิพนธ์ พระมหาชนก และผลงานศิลปะที่ วัดร่องขุ่น ซึ่งมีทั้งงานสถาปัตถยกรรม, ประติมากรรมปูนปั้น และงานจิตรกรรมไทย


ประวัติ

เป็นจิตรกรที่มีฝีมือเป็นที่ยอมรับท่านหนึ่งของประเทศไทย เป็นชาวหมู่บ้านร่องขุ่น จังหวัดเชียงราย เกิดวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498 เป็นบุตรคนที่ 3 ของนายฮั่วชิว แซ่โค้ว
(ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นนายไพศาล) และนางพรศรี อยู่สุข​ทำคลอดด้วยหมอตำแยชื่อยายตุ่น ชีวิตตอนเด็กๆ เป็นคนเกเร ไม่ตั้งใจเรียน แต่มีความชอบวาดรูป
จึงพยายามเข้าเรียนที่เพาะช่าง และมหาวิทยาลัยศิลปากร เคยได้รับเหรียญทองจากการประกวดผลงานระดับชาติ ในตอนที่เรียนอยู่ตอนปีที่ 4
มีผลงานรูปวาดตามผนังของวัดไทยมากมาย ผลงานปัจจุบัน ท่านตั้งใจที่จะสร้างวัดร่องขุ่น ซึ่งเป็นบ้านเกิดของท่าน ด้วยศิลปะสมัยใหม่

ผลงาน

การแสดงผลงาน เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ จัดแสดงผลงานเดี่ยว และร่วมแสดงผลงานในนิทรรศการสำคัญต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ

ตั้งแต่ พ.ศ. 2520 จนถึงปัจจุบัน

* พ.ศ. 2523 เป็นประธานก่อตั้งกลุ่ม "ศิลปไทย 23" เพื่อต้านอิทธิพลศิลปะจากยุโรป อเมริกา
* พ.ศ. 2527 เริ่มโครงการจิตรกรรมฝาผนังวัดพุทธประทีป กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ และเดินทางไปเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดพุทธปทีป โดยไม่คิดค่าจ้าง
* พ.ศ. 2539 เริ่มดำเนินการออกแบบก่อสร้างอุโบสถ วัดร่องขุ่น จังหวัดเชียงราย บ้านเกิดของตนถวายเป็นพุทธบูชาจนถึงปัจจุบัน

รางวัลและเกียรติยศ

* พ.ศ. 2520 - รางวัลที่ 1 เหรียญทอง จากการประกวดจิตรกรรมบัวหลวง ครั้งที่ 3
* พ.ศ. 2520 - รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 3 จากการประกวดศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 25
* พ.ศ. 2522 - รางวัลที่ 2 เหรียญเงิน จากการประกวดจิตรกรรมบัวหลวง ครั้งที่ 4 ของธนาคารกรุงเทพ
* พ.ศ. 2536 - ได้รับเครื่องหมายเกียรติคุณบุคคลตัวอย่างผู้สร้างเสริมงานวัฒนธรรมด้าน จิตรกรรม จาก สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
* พ.ศ. 2537 - ได้รับโล่เชิดชูเกียรติ "เพชรสยาม" (สาขาจิตรกรรม) จากสถาบันราชภัฎจันทรเกษม
* พ.ศ. 2538 - ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้เขียนภาพประกอบ บทพระราชนิพนธ์ "พระมหาชนก"
และออกแบบเหรียญพระราชทานคณะแพทย์
* พ.ศ. 2543 - ที่ปรึกษากรมศิลปากร งานเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังพระพุทธรัตนสถานในพระบรมมหาราชวัง
o ที่ปรึกษาธนาคารแห่งประเทศไทย ออกแบบธนบัตรราชาภิเษกสมรส ครบ 50 ปี
o ถวายการสอนพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์

ทุนที่ได้รับ

* พ.ศ. 2523 - ทุนจากกลุ่มศิลปินร่วมสมัยของศรีลังกา ร่วมกับสถานทูตไทยในโคลัมโบให้พำนักศึกษา พุทธศิลป์ เป็นเวลา 6 เดือน และทุนในการแสดงผลงาน
* พ.ศ. 2524 - ทุนจากโยฮันเนส ซุลทส์เทสมาร์ ให้พำนักและแสดงผลงานในเยอรมนีเป็นเวลา 6 เดือน - ได้รับเชิญจากบริติชเคาน์ซิล ให้ไปดูงานศิลปะ
และพบศิลปินมีชื่อของอังกฤษ
* พ.ศ. 2526 - ทุนจากทูตวัฒนธรรมเยอรมนี ไปศึกษาดูงานพุทธศิลป์ ในประเทศพม่า
* พ.ศ. 2527 - ทุนจากมูลนิธิวัดพระพุทธศาสนา ณ กรุงลอนดอน และรัฐบาลไทยในการเขียนภาพจิตรกรรม ฝาผนัง วัดพุทธปทีป ณ กรุงลอนดอน
* พ.ศ. 2532 - ทุนจากกงสุลเยอรมนีในซานฟรานซิสโก แสดงผลงานในสหรัฐอเมริกา
* พ.ศ. 2539 - ทุนจากกงสุลไทยในแอลเอ ร่วมกับสภาศิลปกรรมไทยในสหรัฐอเมริกาเพื่อเดินทางไปแสดงผลงาน เนื่องในโอกาสเปิดสถานกงสุลไทย

ที่มา วีกีพีเดีย

หากจะนับชื่อศิลปินไทยที่เรารู้จัก แน่นอนว่า “เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์” เป็นศิลปินในลำดับต้นที่ถูกนึกมาเป็นชื่อแรกๆ เขาเป็น 1 ใน 3 ของศิลปินสายจิตรกรรมในประเทศไทย
ที่นักสะสมต้องการความเห็นของเขา ผลงานของเขาอยู่ในแกลเลอรี่ส่วนตัวของเศรษฐี นักธุรกิจชั้นนำหลายคน
การสร้างงานที่เดินทางมาสู่จุดปลายสุดในสาขาอาชีพของความเป็นศิลปินไทย อันได้แก่ ถวัลย์ ดัชนี, จักรพันธ์ โปษยกฤต ที่อยู่ในฐานะศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์
(จิตรกรรม) ด้วยการยอมรับจากสังคม และผลงานที่ถูกตีราคาสูง

ด้วยผลผลิตจากบรรยากาศชาตินิยมในช่วงปี 2519 การเกิดขึ้นของภาควิชาศิลปไทยในมหาวิทยาลัยศิลปากรภายใต้การกำกับของ ชลูด นิ่มเจริญ ได้สร้างบัณฑิตรุ่นแรกอย่าง
เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ มาผลิตงานศิลปะไทยในช่วงกระแสชาตินิยม

ด้วยเหตุนี้ศิลปะไทยจึงกลายเป็นจุดยืนของเขาที่ชัดเจนจากที่ว่างที่มี อยู่ในสังคมในขณะนั้น ด้วยรูปลักษณ์ “ความเป็นไทยแบบร่วมสมัย”
นอกจากนั้นการร่วมและจัดตั้งกลุ่ม “ศิลปไทย 23” เพื่อต่อต้านกระแสวัฒนธรรมต่างชาติในปี 2523 ก็ทำให้ลักษณะการพูดจาอย่างไม่กลัวเกรงเป็นจุดเริ่มที่ติดตา
และได้กลายเป็นการย้ำจุดยืนของเขาที่ชัดเจนในศิลปะไทยต่อสังคมในขณะนั้น ภายหลังจากนั้นอีก 4 ปีถัดมา การเดินทางไปเขียนจิตรกรรมฝาผนังที่วัดพุทธประทีป
ตำบลวิมเบิลดัน พาร์คไซด์ (Wimbledon Parkside) ประเทศอังกฤษ เป็นการมุ่งสู่ความลึกซึ้งทางธรรม และกลายเป็นอิทธิพลต่องานในแนวทาง
“พุทธศิลป์” (Buddhistic Art) ที่เขาศรัทธา จนนำไปสู่การสร้างงานประติมากรรมและจิตรกรรมที่ยิ่งใหญ่โดยฝากผลงานทั้ง ชีวิตทิ้งไว้ให้เป็นพุทธบูชา

“วัดร่องขุ่น” ที่จังหวัดเชียงราย ปัจจุบันมีนักท่องเที่ยว เมื่อเกือบ 2 ปีก่อนเฉลี่ยต่อเดือนอยู่ที่ 18,000 คน ก่อนที่จะเพิ่มขึ้นอีกเท่าตัวในปีที่แล้ว
โดยคาดว่าปริมาณคนที่แห่เข้ามาชมผลงานจะมากขึ้นและเหยียบหลักแสนได้ภายในไม่ กี่ปี ทำให้จำนวนนักท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงรายเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะชาวไทยที่ตั้งใจ
มาเยี่ยมชมผลงานของเฉลิมชัย ซึ่งสิ่งที่เขากล่าวถึงเสมอก็คือต้องการที่จะสร้างงานตลอดชีวิต เขาบอกว่าเกิดจากความต้องการที่จะสร้างงานระดับโลก
ไม่ได้มีปัญหาเรื่องขาดเงิน

การจัดงานนิทรรศการ “วาดทำบุญ” ที่ผ่านมา 3 ครั้ง เป็นการจากมาและจากไปแต่ละครั้งของชีวิต เมื่อ 7 ปีที่แล้ว การพักงานเขียนเพื่อที่จะลงมือสร้างวัดร่องขุ่น
เริ่มมาตั้งแต่ตอนนั้น แต่ชื่อของเขาก็ยังขายได้มาตลอด ปัจจุบันงานนิทรรศการของเขาที่ผ่านมาจึงไม่ใช่การขายผลงานจริง แต่เป็นเพียงแค่การแสดงผลงานที่ผ่านมา
ตั้งแต่การเป็นชีวิตนักศึกษา เป็นส่วนที่ต่อจาก ภาพพิมพ์ เสื้อ หนังสือ และการ์ด ที่จำหน่ายและตั้งใจนำรายได้สมทบทุนสร้างวัดร่องขุ่นโดยให้ทุกคนร่วมทำบุญ
ในจำนวนจำกัดท
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ฉลิมชัยโฆษิตพิพัฒน์ ( เกิด 15 กุมภาพันธ์พ . ศ . 2498 ) จิตรกรไทยมีผลงานจิตรกรรมไทยหลายอย่างได้มีผลงานเช่นภาพจิตรกรรมไทยในอุโบสถวัดพุทธประทีป
ประเทศอังกฤษกรุงลอนดอน ,เขียนภาพประกอบบทพระราชนิพนธ์พระมหาชนกและผลงานศิลปะที่วัดร่องขุ่นซึ่งมีทั้งงานสถาปัตถยกรรมประติมากรรมปูนปั้น , และงานจิตรกรรมไทย




ประวัติเป็นจิตรกรที่มีฝีมือเป็นที่ยอมรับท่านหนึ่งของประเทศไทยเป็นชาวหมู่บ้านร่องขุ่นจังหวัดเชียงราย 15 เกิดวันที่กุมภาพันธ์พ . ศ . 2498 เป็นบุตรคนที่ของนายฮั่วชิวแซ่โค้ว
3( ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นนายไพศาล ) และนางพรศรีอยู่สุข​ทำคลอดด้วยหมอตำแยชื่อยายตุ่นชีวิตตอนเด็กๆเป็นคนเกเรไม่ตั้งใจเรียนแต่มีความชอบวาดรูป
จึงพยายามเข้าเรียนที่เพาะช่างและมหาวิทยาลัยศิลปากรเคยได้รับเหรียญทองจากการประกวดผลงานระดับชาติในตอนที่เรียนอยู่ตอนปีที่
4มีผลงานรูปวาดตามผนังของวัดไทยมากมายผลงานปัจจุบันท่านตั้งใจที่จะสร้างวัดร่องขุ่นซึ่งเป็นบ้านเกิดของท่านด้วยศิลปะสมัยใหม่



ผลงานการแสดงผลงานเฉลิมชัยโฆษิตพิพัฒน์จัดแสดงผลงานเดี่ยวและร่วมแสดงผลงานในนิทรรศการสำคัญต่างๆทั้งในและต่างประเทศ

ตั้งแต่พ . ศ . 2520 จนถึงปัจจุบัน

* พ . ศ .2523 เป็นประธานก่อตั้งกลุ่ม " ศิลปไทย 23 " เพื่อต้านอิทธิพลศิลปะจากยุโรปอเมริกา
* พ . ศ .2527 เริ่มโครงการจิตรกรรมฝาผนังวัดพุทธประทีปกรุงลอนดอนประเทศอังกฤษและเดินทางไปเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดพุทธปทีปโดยไม่คิดค่าจ้าง
* พ . ศ .2539 เริ่มดำเนินการออกแบบก่อสร้างอุโบสถวัดร่องขุ่นจังหวัดเชียงรายบ้านเกิดของตนถวายเป็นพุทธบูชาจนถึงปัจจุบัน

รางวัลและเกียรติยศ

* พ . ศ . พ.ศ. 2520 - รางวัลที่ 1 เหรียญทองจากการประกวดจิตรกรรมบัวหลวงครั้งที่ 3
* พ . ศ .พ.ศ. 2520 - รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 3 จากการประกวดศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 25
* พ . ศ . 2522 - รางวัลที่ 2 เหรียญเงินจากการประกวดจิตรกรรมบัวหลวงครั้งที่ 4 ของธนาคารกรุงเทพ
* พ . ศ .2536 - ได้รับเครื่องหมายเกียรติคุณบุคคลตัวอย่างผู้สร้างเสริมงานวัฒนธรรมด้านจิตรกรรมจากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
* พ . ศ . 2537 - ได้รับโล่เชิดชูเกียรติ " เพชรสยาม " ( สาขาจิตรกรรม ) จากสถาบันราชภัฎจันทรเกษม
* พ . ศ . 2538 - ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้เขียนภาพประกอบบทพระราชนิพนธ์ " พระมหาชนก "

* และออกแบบเหรียญพระราชทานคณะแพทย์พ . ศ .2543 - ที่ปรึกษากรมศิลปากรงานเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังพระพุทธรัตนสถานในพระบรมมหาราชวัง
o ที่ปรึกษาธนาคารแห่งประเทศไทยออกแบบธนบัตรราชาภิเษกสมรสครบ 50 ถวายการสอนพระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์

.
oทุนที่ได้รับ

* พ . ศ . 2523 - ทุนจากกลุ่มศิลปินร่วมสมัยของศรีลังการ่วมกับสถานทูตไทยในโคลัมโบให้พำนักศึกษาพุทธศิลป์เป็นเวลา 6 เดือนและทุนในการแสดงผลงาน
* พ . ศ .2524 - ทุนจากโยฮันเนสซุลทส์เทสมาร์ให้พำนักและแสดงผลงานในเยอรมนีเป็นเวลา 6 เดือน - ได้รับเชิญจากบริติชเคาน์ซิลให้ไปดูงานศิลปะ

* และพบศิลปินมีชื่อของอังกฤษพ . ศ .2526 - ทุนจากทูตวัฒนธรรมเยอรมนีไปศึกษาดูงานพุทธศิลป์ในประเทศพม่า
* พ . ศ . 2527 - ทุนจากมูลนิธิวัดพระพุทธศาสนาณกรุงลอนดอนและรัฐบาลไทยในการเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดพุทธปทีปณกรุงลอนดอน
* พ . ศ .2532 - ทุนจากกงสุลเยอรมนีในซานฟรานซิสโกแสดงผลงานในสหรัฐอเมริกา
* พ . ศ . 2539 - ทุนจากกงสุลไทยในแอลเอร่วมกับสภาศิลปกรรมไทยในสหรัฐอเมริกาเพื่อเดินทางไปแสดงผลงานเนื่องในโอกาสเปิดสถานกงสุลไทย

ที่มาวีกีพีเดีย

หากจะนับชื่อศิลปินไทยที่เรารู้จักแน่นอนว่า " เฉลิมชัยโฆษิตพิพัฒน์ " เป็นศิลปินในลำดับต้นที่ถูกนึกมาเป็นชื่อแรกๆเขาเป็น 1 the ของศิลปินสายจิตรกรรมในประเทศไทย
3ที่นักสะสมต้องการความเห็นของเขาผลงานของเขาอยู่ในแกลเลอรี่ส่วนตัวของเศรษฐีนักธุรกิจชั้นนำหลายคน
การสร้างงานที่เดินทางมาสู่จุดปลายสุดในสาขาอาชีพของความเป็นศิลปินไทยอันได้แก่ดัชนีถวัลย์ ,จักรพันธ์โปษยกฤตที่อยู่ในฐานะศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์
( จิตรกรรม ) ด้วยการยอมรับจากสังคมและผลงานที่ถูกตีราคาสูง

ด้วยผลผลิตจากบรรยากาศชาตินิยมในช่วงปีดวงการเกิดขึ้นของภาควิชาศิลปไทยในมหาวิทยาลัยศิลปากรภายใต้การกำกับของชลูดนิ่มเจริญได้สร้างบัณฑิตรุ่นแรกอย่าง
เฉลิมชัยโฆษิตพิพัฒน์มาผลิตงานศิลปะไทยในช่วงกระแสชาตินิยม

ด้วยเหตุนี้ศิลปะไทยจึงกลายเป็นจุดยืนของเขาที่ชัดเจนจากที่ว่างที่มีอยู่ในสังคมในขณะนั้นด้วยรูปลักษณ์ " ความเป็นไทยแบบร่วมสมัย "
นอกจากนั้นการร่วมและจัดตั้งกลุ่ม " ศิลปไทย 23 " เพื่อต่อต้านกระแสวัฒนธรรมต่างชาติในปี 2523 ก็ทำให้ลักษณะการพูดจาอย่างไม่กลัวเกรงเป็นจุดเริ่มที่ติดตา
และได้กลายเป็นการย้ำจุดยืนของเขาที่ชัดเจนในศิลปะไทยต่อสังคมในขณะนั้นภายหลังจากนั้นอีกปีถัดมาการเดินทางไปเขียนจิตรกรรมฝาผนังที่วัดพุทธประทีป
4ตำบลวิมเบิลดันพาร์คไซด์ ( วิมเบิลดัน พาร์คไซด์ ) ประเทศอังกฤษเป็นการมุ่งสู่ความลึกซึ้งทางธรรมและกลายเป็นอิทธิพลต่องานในแนวทาง
" พุทธศิลป์ " ( พุทธศิลป์ ) ที่เขาศรัทธาจนนำไปสู่การสร้างงานประติมากรรมและจิตรกรรมที่ยิ่งใหญ่โดยฝากผลงานทั้งชีวิตทิ้งไว้ให้เป็นพุทธบูชา

" วัดร่องขุ่น " ที่จังหวัดเชียงรายปัจจุบันมีนักท่องเที่ยวเมื่อเกือบ 2 ปีก่อนเฉลี่ยต่อเดือนอยู่ที่ 18000 คนก่อนที่จะเพิ่มขึ้นอีกเท่าตัวในปีที่แล้ว
โดยคาดว่าปริมาณคนที่แห่เข้ามาชมผลงานจะมากขึ้นและเหยียบหลักแสนได้ภายในไม่กี่ปีทำให้จำนวนนักท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงรายเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะชาวไทยที่ตั้งใจ
มาเยี่ยมชมผลงานของเฉลิมชัยซึ่งสิ่งที่เขากล่าวถึงเสมอก็คือต้องการที่จะสร้างงานตลอดชีวิตเขาบอกว่าเกิดจากความต้องการที่จะสร้างงานระดับโลก

ไม่ได้มีปัญหาเรื่องขาดเงินการจัดงานนิทรรศการ " วาดทำบุญ " ที่ผ่านมา 3 ครั้งเป็นการจากมาและจากไปแต่ละครั้งของชีวิตเมื่อ 7 ปีที่แล้วการพักงานเขียนเพื่อที่จะลงมือสร้างวัดร่องขุ่น
เริ่มมาตั้งแต่ตอนนั้นแต่ชื่อของเขาก็ยังขายได้มาตลอดปัจจุบันงานนิทรรศการของเขาที่ผ่านมาจึงไม่ใช่การขายผลงานจริงแต่เป็นเพียงแค่การแสดงผลงานที่ผ่านมา
ตั้งแต่การเป็นชีวิตนักศึกษาเป็นส่วนที่ต่อจากภาพพิมพ์เสื้อ Back at และการ์ดที่จำหน่ายและตั้งใจนำรายได้สมทบทุนสร้างวัดร่องขุ่นโดยให้ทุกคนร่วมทำบุญ
ในจำนวนจำกัดท
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: