วิปัสสนา แปลว่าตามศัพท์ว่า การเห็นชัดเจน หรือ การเห็นแจ้งวิปัสสนา แปลว การแปล - วิปัสสนา แปลว่าตามศัพท์ว่า การเห็นชัดเจน หรือ การเห็นแจ้งวิปัสสนา แปลว ไทย วิธีการพูด

วิปัสสนา แปลว่าตามศัพท์ว่า การเห็นช

วิปัสสนา แปลว่าตามศัพท์ว่า การเห็นชัดเจน หรือ การเห็นแจ้ง
วิปัสสนา แปลว่าตามใจความว่า การคิดอย่างชาญฉลาด มีปัญญา เกี่ยวกับสังขารธรรมอย่างละเอียดโดยใช้ลักษณะต่าง ๆ นานา เช่น เมื่อคิดทำความเข้าใจเรื่องรูปขันธ์จนแจ่มแจ้งชัดเจนด้วยญาตปริญญาแล้ว ก็คิดถึงรูปขันธ์โดยใช้ลักษณะที่ไม่เที่ยงของรูปขันธ์ว่า "รูปขันธ์ไม่เที่ยง เพราะปกติแล้วรูปขันธ์ ต้องสิ้นไป หมดไป ทำลายไป.
ไตรลักษณ์ แปลว่า ลักษณะ 3 อย่าง คือ ลักษณะที่ไม่เที่ยง ลักษณะที่เป็นทุกข์ และลักษณะที่เป็นอนัตตา. ในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาท่านระบุไว้ว่า "ขึ้นชื่อว่า ลักษณะ มีคติเป็นบัญญัติ เป็นนวัตตัพพธรรม" ในพระไตรปิฎกหลายที่ก็กล่าวไตรลักษณ์ไว้หลายชื่อ เช่น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฉะนั้น วิปัสสนา จึงเป็นการใช้ทั้งปรมัตถ์ (คือสิ่งที่มีอยู่จริง) และ บัญญัติ (คือสิ่งที่ไม่มีอยู่จริงทั้งที่เป็นอาการของปรมัตถ์และชื่อเรียกต่างๆ) มากำหนดขันธ์เป็นต้น.
ปรมัตถ์ที่ใช้กำหนดวิปัสสนานั้นท่านเรียกว่า ปัจจัตตลักษณะหรือเรียกว่า วิเสสลักษณะ, ลักขณาทิจตุกกะก็ได้ เช่น ลักษณะที่มาประจัญหน้ากันของอารมณ์ วัตถุ และวิญญาณ ซึ่งเป็นลักษณะ คือ เป็นเครื่องหมายบ่งให้สังเกตรู้ได้ว่าเป็นปรมัตถ์แต่ละอย่างไม่ปะปนกัน สามารถกำหนดได้ว่า "สิ่งนี้คือผัสสะ" เป็นต้น อย่างนี้คัมภีร์ทางศาสนามักจัดว่า เป็นญาตปริญญา และแม้โดยทั่วไปท่านจะยังไม่จัดว่าเป็นวิปัสสนาโดยตรง แต่หากจะอนุโลมเอาก็ไม่ผิดอะไร เพราะก็เป็นพื้นฐานที่สำคัญมากของการทำวิปัสสนา.
การปฏิบัติทั้งหมดในคัมภีร์ท่านมักเน้นย้ำว่าจะต้องมีพื้นฐานเหล่านี้ คือ
อุคคหะ การเรียนพระธรรม
ปริปุจฉา การสอบสวนทวนถามทำความเข้าใจในอรรถะของพระธรรมให้ชัดเจน
ธาตา การทรงจำพระธรรมได้
วจสาปริจิตา สวดท่องจนมีความคล่องแคล่วชำนาญคล่องปาก
มนสานุเปกขิตา ใคร่ครวญค้นคิดตรวจสอบจนขึ้นใจเข้าใจ
ปฏิบัติ หมั่นเอาพระธรรมมาใช้ในชีวิตจนสามารถจะเห็นอะไรๆ เป็นพระธรรมได้ โดยเฉพาะการปฏิบัติศีลและสมาธิที่ต้องใช้จนระงับกิเลสได้ถึงระดับหนึ่ง จึงจะทำวิปัสสนาได้
พื้นฐานเหล่านี้ ในพระไตรปิฎกบางแห่ง พระพุทธองค์ถึงกับกล่าวให้คนที่ไม่ทำตามลำดับ ตามขั้นตอนพื้นฐานให้เป็น "โมฆบุรุษ" เลยทีเดียว ซึ่งคำนี้ถือว่าเป็นคำตำหนิที่รุนแรงมากในสมัยนั้น.
โบราณาจารย์ท่านมีพิธีปลูกศรัทธาเบื้องต้น ก่อนเรียนเอาพระกัมมัฏฐาน คือ
จัดยกครูด้วยเทียนขี้ผึ้ง ๕ คู่ ดอกไม้ขาว ๕ คู่ เรียกว่า ขันธ์ ๕
เทียนขี้ผึ้ง ๘ คู่ ดอกไม้ขาว ๘ คู่ เรียกว่า ขันธ์ ๘
หรือเทียนขี้ผึ้งคู่หนักเล่มละ ๑ บาท ดอกไม้ขาวเท่ากับเทียน
แล้วอาราธนาเอาพระกัมมัฏฐานทั้ง ๔๐ ให้เข้ามาอยู่ในขันธสันดานของข้าพเจ้าในกาลบัดนี้ แล้วจึงเรียนเอาพระกัมมัฏฐานนั้นต่อไป พิธีแยบยลโบราณกาลท่านดีเหมือนกัน ยังมีพิธีอีมากมายแต่ผู้เขียนยังไม่กล่าวถึง จะกล่าวถึงพิธีง่ายๆพอทำได้ในตอนต่อไป
เมื่อปลูกศรัทธาความเชื่อมั่นให้มีขึ้นในจิตใจของตนดังกล่าวมาแล้ว จึงเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ชำนาญในกำมัฏฐานนั้นๆ ถ้าท่านชำนาญทางฝ่ายบริกรรม สัมมาอะระหัง ท่านก็สอนให้บริกรรมภาวนาว่า สัมมาอะระหังๆๆ ให้กำหนดเป็นดวงแก้วใสๆ อยู่เหนือสะดือขึ้นไป ๒ นิ้ว แล้วเอาจิตไปตั้งไว้ไว้ตรงนั้น ภาวนาไปเรื่อยๆ อย่าให้จิตหนีหายไปจากดวงแก้ว หมายความว่า เอาดวงแก้วเป็นที่ตั้งของดวงจิตก็แล้วกัน
เมื่อเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ชำนาญในด้านภาวนายุบหนอ พองหนอ ท่านก็จะสอนให้ภาวนายุบหนอ พองหนอ ให้กำหนดเอาจิตไปไว้ที่อิริยาบถต่างๆเช่น ยกเท้าขึ้นว่าหยุบหนอ เหยียบเท้าลงก็ว่า พองหนอ หรือพิจารณาให้เห็นความเกิดและความดับทุกอิริยาบถ อย่างนี้เรื่อยไปเป็นอารมณ์
เมื่อท่านเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ชำนาญในด้านอิทธิฤทธิ์ ท่านก็สอนคาถาภาวนาให้ว่า นะมะพะธะ นะมะพะธะ ให้เอาจิตเป็นอารมณ์อันหนึ่ง จิตจะพาไปเห็นเทพ นรก อินทร์ พรหม ต่างๆ นานาหลายอย่าง จนเพลินอยู่กับอารมณ์นั้นๆ
เมื่อเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ท่านชำนาญในด้านอานาปานสติ ท่านก็จะสอนให้กำหนดลมหายใจเข้า-ออก ให้จิตตั้งมั่นกับลมหายใจเข้า-ออก อย่างเดียวเป็นอารมณ์ เมื่อเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ท่านชำนาญในด้านภาวนาพุทโธ ท่านก็จะสอนให้บริกรรมว่า พุทโธ ๆๆ แล้วให้เอาจิตไปตั้งมั่นอยู่ในบริกรรมนั้น จนชำนาญเต็มที่แล้ว ก็จะสอนให้พิจารณาพุทโธ กับ ผู้ว่าพุทโธ เมื่อพิจารณาเห็นเป็นคนละอันกัน แล้วพึงจับเอาผู้ว่าพุทโธ ส่วนพุทโธนั้นจะหายไปเหลือแต่ผู้ว่าพุทโธอย่างเดียว
ให้ยึดเอา “ ผู้ว่าพุทโธ ” นั้นเป็นหลักต่อไป
คนในสมัยนี้หรือในสมัยไหนก็ตาม หรือจะมีความรู้ความสามารถสักปานใดก็ช่าง ไม่ได้โทษว่า คนเหล่านั้นมักตื่นเต้นในสิ่งที่ตนยังไม่เคยทดสอบหาความจริง แล้วหลงเชื่อตาม เพราะเขาเหล่านั้นอยากรู้อยากเห็นของจริง โดยเฉพาะคนถือพระพุทธศาสนามาแล้ว และพุทธศาสนาก็แสดงถึงเหตุผลซึ่งเป็นจริงทั้งนั้น แต่ทำไมต้องไปหลงเชื่อตามคำโฆษณาซึ่งมีอยู่ดาษดื่นทั่วไป นี่จะเป็นเพราะคนสมัยนี้ใจร้อน ยังไม่ทำเหตุให้ถึงพร้อมแต่อยากได้ผลเร็ว อย่างที่เขาพูดกันว่า “คนสมัยปรมาณู” นั้นกระมัง
พุทธศาสนาสอนเข้าถึงจิตใจอันเป็นนามธรรม ส่วนร่างกายมันเป็นรูปธรรม รูปธรรมมันต้องอยู่ในบังคับบัญชาของนามธรรม เมื่อเริ่มหัดสมาธิฝึกหัดจิตใจให้สงบไม่วุ่นวาย ในขณะนั้นไม่เห็นไปทำความเดือดร้อนให้แก่ใครทั้งหมด ฝึกหัดไปจนเป็นชำนาญได้ที่แล้วผู้นั้นก็สงบเยือกเย็น มีคนฝึกหัดอย่างนี้จำนวนมากๆ เข้า โลกอันนี้ก็จะมีแต่ความสงบสุขทั่วกัน ส่วนรูปธรรมนั้นเราจะฝึกให้สงบได้ก็แต่เมื่อจิตบังคับอยู่เท่านั้น เมื่อจิตเผลอกายก็จะเป็นไปตามเรื่องของมัน ฉะนั้น เรามาฝึกหัดจิตบริกรรม พุทโธลองดู
คำว่า “สัมมา อะระหัง” เป็นภาษาบาลี มีศัพท์ควบคู่กันอยู่ 2 ศัพท์ คือ “สัมมา” และ “อะระหัง”
การเจริญภาวนานั้นมีอานิสงส์และมีอานุภาพมาก เพราะเป็นผลที่จะนำไปสู่การชำระจิตใจของเราให้ใสสะอาดโดยตรง เมื่อใจของเราสะอาดก็จะส่งผลให้ทุกอย่างในชีวิตดีตามไปด้วย เพราะทุกสิ่งทุกอย่างล้วนเริ่มต้นที่ใจของเราทั้งสิ้น ดังนั้นการนิยมสวดมนต์ ไหว้พระนั่งสมาธิสม่ำเสมอ จะก่อให้เกิดผลดีต่อจิต และเมื่อจิตผ่องแผ้วก็ถือเป็นโอสถทิพย์ที่ส่งผลให้ร่างกายสร้างและหลั่ง ฮอร์โมนที่เป็นปกติ ทำให้ร่างกายสมดุล เมื่อร่างกายสมดุล บุคคลนั้นจะ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
วิปัสสนาแปลว่าตามศัพท์ว่าการเห็นชัดเจนหรือการเห็นแจ้งวิปัสสนาแปลว่าตามใจความว่าการคิดอย่างชาญฉลาดมีปัญญาเกี่ยวกับสังขารธรรมอย่างละเอียดโดยใช้ลักษณะต่างๆ นานาเช่นเมื่อคิดทำความเข้าใจเรื่องรูปขันธ์จนแจ่มแจ้งชัดเจนด้วยญาตปริญญาแล้วก็คิดถึงรูปขันธ์โดยใช้ลักษณะที่ไม่เที่ยงของรูปขันธ์ว่า "รูปขันธ์ไม่เที่ยงเพราะปกติแล้วรูปขันธ์ต้องสิ้นไปหมดไปทำลายไป ไตรลักษณ์แปลว่าลักษณะ 3 เชิงแบบอย่างทางคือลักษณะที่ไม่เที่ยงลักษณะที่เป็นทุกข์และลักษณะที่เป็นอนัตตา ในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาท่านระบุไว้ว่า "ขึ้นชื่อว่าลักษณะมีคติเป็นบัญญัติเป็นนวัตตัพพธรรม" ในพระไตรปิฎกหลายที่ก็กล่าวไตรลักษณ์ไว้หลายชื่อเช่นไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตาฉะนั้นวิปัสสนาจึงเป็นการใช้ทั้งปรมัตถ์ (คือสิ่งที่มีอยู่จริง) และบัญญัติ (คือสิ่งที่ไม่มีอยู่จริงทั้งที่เป็นอาการของปรมัตถ์และชื่อเรียกต่าง ๆ) มากำหนดขันธ์เป็นต้นปรมัตถ์ที่ใช้กำหนดวิปัสสนานั้นท่านเรียกว่าปัจจัตตลักษณะหรือเรียกว่าวิเสสลักษณะ ลักขณาทิจตุกกะก็ได้เช่นลักษณะที่มาประจัญหน้ากันของอารมณ์วัตถุและวิญญาณซึ่งเป็นลักษณะคือเป็นเครื่องหมายบ่งให้สังเกตรู้ได้ว่าเป็นปรมัตถ์แต่ละอย่างไม่ปะปนกันสามารถกำหนดได้ว่า "สิ่งนี้คือผัสสะ" เป็นต้นอย่างนี้คัมภีร์ทางศาสนามักจัดว่าเป็นญาตปริญญาและแม้โดยทั่วไปท่านจะยังไม่จัดว่าเป็นวิปัสสนาโดยตรงแต่หากจะอนุโลมเอาก็ไม่ผิดอะไรเพราะก็เป็นพื้นฐานที่สำคัญมากของการทำวิปัสสนาการปฏิบัติทั้งหมดในคัมภีร์ท่านมักเน้นย้ำว่าจะต้องมีพื้นฐานเหล่านี้คืออุคคหะการเรียนพระธรรมปริปุจฉาการสอบสวนทวนถามทำความเข้าใจในอรรถะของพระธรรมให้ชัดเจนธาตาการทรงจำพระธรรมได้วจสาปริจิตาสวดท่องจนมีความคล่องแคล่วชำนาญคล่องปากมนสานุเปกขิตาใคร่ครวญค้นคิดตรวจสอบจนขึ้นใจเข้าใจปฏิบัติหมั่นเอาพระธรรมมาใช้ในชีวิตจนสามารถจะเห็นอะไร ๆ เป็นพระธรรมได้โดยเฉพาะการปฏิบัติศีลและสมาธิที่ต้องใช้จนระงับกิเลสได้ถึงระดับหนึ่งจึงจะทำวิปัสสนาได้พื้นฐานเหล่านี้ในพระไตรปิฎกบางแห่งพระพุทธองค์ถึงกับกล่าวให้คนที่ไม่ทำตามลำดับตามขั้นตอนพื้นฐานให้เป็น "โมฆบุรุษ" เลยทีเดียวซึ่งคำนี้ถือว่าเป็นคำตำหนิที่รุนแรงมากในสมัยนั้นโบราณาจารย์ท่านมีพิธีปลูกศรัทธาเบื้องต้นก่อนเรียนเอาพระกัมมัฏฐานคือ จัดยกครูด้วยเทียนขี้ผึ้ง ๕ คู่ดอกไม้ขาว ๕ คู่เรียกว่าขันธ์ ๕เทียนขี้ผึ้ง ๘ คู่ดอกไม้ขาว ๘ คู่เรียกว่าขันธ์ ๘ ดอกไม้ขาวเท่ากับเทียนหรือเทียนขี้ผึ้งคู่หนักเล่มละ ๑ วรรค แล้วอาราธนาเอาพระกัมมัฏฐานทั้ง ๔๐ ให้เข้ามาอยู่ในขันธสันดานของข้าพเจ้าในกาลบัดนี้แล้วจึงเรียนเอาพระกัมมัฏฐานนั้นต่อไปพิธีแยบยลโบราณกาลท่านดีเหมือนกันยังมีพิธีอีมากมายแต่ผู้เขียนยังไม่กล่าวถึงจะกล่าวถึงพิธีง่ายๆพอทำได้ในตอนต่อไป เมื่อปลูกศรัทธาความเชื่อมั่นให้มีขึ้นในจิตใจของตนดังกล่าวมาแล้วจึงเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ชำนาญในกำมัฏฐานนั้น ๆ ถ้าท่านชำนาญทางฝ่ายบริกรรมสัมมาอะระหังท่านก็สอนให้บริกรรมภาวนาว่าสัมมาอะระหังๆ ๆ ให้กำหนดเป็นดวงแก้วใส ๆ อยู่เหนือสะดือขึ้นไป ๒ นิ้วแล้วเอาจิตไปตั้งไว้ไว้ตรงนั้นภาวนาไปเรื่อย ๆ อย่าให้จิตหนีหายไปจากดวงแก้วหมายความว่าเอาดวงแก้วเป็นที่ตั้งของดวงจิตก็แล้วกัน เมื่อเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ชำนาญในด้านภาวนายุบหนอพองหนอท่านก็จะสอนให้ภาวนายุบหนอพองหนอให้กำหนดเอาจิตไปไว้ที่อิริยาบถต่างๆเช่นยกเท้าขึ้นว่าหยุบหนอเหยียบเท้าลงก็ว่าพองหนอหรือพิจารณาให้เห็นความเกิดและความดับทุกอิริยาบถอย่างนี้เรื่อยไปเป็นอารมณ์ เมื่อท่านเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ชำนาญในด้านอิทธิฤทธิ์ท่านก็สอนคาถาภาวนาให้ว่านะมะพะธะนะมะพะธะให้เอาจิตเป็นอารมณ์อันหนึ่งจิตจะพาไปเห็นเทพนรกอินทร์พรหมต่าง ๆ นานาหลายอย่างจนเพลินอยู่กับอารมณ์นั้น ๆ เมื่อเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ท่านชำนาญในด้านอานาปานสติท่านก็จะสอนให้กำหนดลมหายใจเข้าออกให้จิตตั้งมั่นกับลมหายใจเข้าออกอย่างเดียวเป็นอารมณ์เมื่อเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ท่านชำนาญในด้านภาวนาพุทโธท่านก็จะสอนให้บริกรรมว่าพุทโธๆ ๆ แล้วให้เอาจิตไปตั้งมั่นอยู่ในบริกรรมนั้นจนชำนาญเต็มที่แล้วก็จะสอนให้พิจารณาพุทโธดื่มด่ำผู้ว่าพุทโธเมื่อพิจารณาเห็นเป็นคนละอันกันแล้วพึงจับเอาผู้ว่าพุทโธส่วนพุทโธนั้นจะหายไปเหลือแต่ผู้ว่าพุทโธอย่างเดียว นั้นเป็นหลักต่อไปให้ยึดเอา "ผู้ว่าพุทโธ" คนในสมัยนี้หรือในสมัยไหนก็ตามหรือจะมีความรู้ความสามารถสักปานใดก็ช่างไม่ได้โทษว่าคนเหล่านั้นมักตื่นเต้นในสิ่งที่ตนยังไม่เคยทดสอบหาความจริงแล้วหลงเชื่อตามเพราะเขาเหล่านั้นอยากรู้อยากเห็นของจริงโดยเฉพาะคนถือพระพุทธศาสนามาแล้วและพุทธศาสนาก็แสดงถึงเหตุผลซึ่งเป็นจริงทั้งนั้นแต่ทำไมต้องไปหลงเชื่อตามคำโฆษณาซึ่งมีอยู่ดาษดื่นทั่วไปนี่จะเป็นเพราะคนสมัยนี้ใจร้อนยังไม่ทำเหตุให้ถึงพร้อมแต่อยากได้ผลเร็วอย่างที่เขาพูดกันว่า "คนสมัยปรมาณู" นั้นกระมัง พุทธศาสนาสอนเข้าถึงจิตใจอันเป็นนามธรรมส่วนร่างกายมันเป็นรูปธรรมรูปธรรมมันต้องอยู่ในบังคับบัญชาของนามธรรมเมื่อเริ่มหัดสมาธิฝึกหัดจิตใจให้สงบไม่วุ่นวายในขณะนั้นไม่เห็นไปทำความเดือดร้อนให้แก่ใครทั้งหมดฝึกหัดไปจนเป็นชำนาญได้ที่แล้วผู้นั้นก็สงบเยือกเย็นมีคนฝึกหัดอย่างนี้จำนวนมาก ๆ เข้าโลกอันนี้ก็จะมีแต่ความสงบสุขทั่วกันส่วนรูปธรรมนั้นเราจะฝึกให้สงบได้ก็แต่เมื่อจิตบังคับอยู่เท่านั้นเมื่อจิตเผลอกายก็จะเป็นไปตามเรื่องของมันฉะนั้นเรามาฝึกหัดจิตบริกรรมพุทโธลองดูคำว่า "สัมมาอะระหัง" เป็นภาษาบาลีมีศัพท์ควบคู่กันอยู่ 2 ศัพท์คือ "สัมมา" และ "อะระหัง"การเจริญภาวนานั้นมีอานิสงส์และมีอานุภาพมากเพราะเป็นผลที่จะนำไปสู่การชำระจิตใจของเราให้ใสสะอาดโดยตรงเมื่อใจของเราสะอาดก็จะส่งผลให้ทุกอย่างในชีวิตดีตามไปด้วยเพราะทุกสิ่งทุกอย่างล้วนเริ่มต้นที่ใจของเราทั้งสิ้นดังนั้นการนิยมสวดมนต์ไหว้พระนั่งสมาธิสม่ำเสมอจะก่อให้เกิดผลดีต่อจิตและเมื่อจิตผ่องแผ้วก็ถือเป็นโอสถทิพย์ที่ส่งผลให้ร่างกายสร้างและหลั่งฮอร์โมนที่เป็นปกติทำให้ร่างกายสมดุลเมื่อร่างกายสมดุลบุคคลนั้นจะ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
วิปัสสนาแปลว่าตามศัพท์ว่าการเห็นชัดเจนหรือการเห็นแจ้ง
วิปัสสนาแปลว่าตามใจความว่าการคิดอย่างชาญฉลาดมีปัญญา ๆ นานาเช่น "รูปขันธ์ไม่เที่ยงเพราะปกติแล้วรูปขันธ์ต้องสิ้นไปหมดไปทำลายไป.
ไตรลักษณ์แปลว่าลักษณะ 3 อย่างคือลักษณะที่ไม่เที่ยงลักษณะที่เป็นทุกข์และลักษณะที่เป็นอนัตตา "ขึ้นชื่อว่าลักษณะมีคติเป็นบัญญัติเป็นนวัตตัพพธรรม" เช่นไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตาฉะนั้นวิปัสสนาจึงเป็นการใช้ทั้งปรมัตถ์ (คือสิ่งที่มีอยู่จริง) และบัญญัติ
ปัจจัตตลักษณะหรือเรียกว่าวิเสสลักษณะ, ลักขณาทิจตุกกะก็ได้เช่นลักษณะที่มาประจัญหน้ากันของอารมณ์วัตถุและวิญญาณซึ่งเป็นลักษณะคือ สามารถกำหนดได้ว่า "สิ่งนี้คือผัสสะ" เป็นต้นอย่างนี้คัมภีร์ทางศาสนามักจัดว่าเป็นญาตปริญญา แต่หากจะอนุโลมเอาก็ไม่ผิดอะไร
คือ
อุคคหะการเรียนพระธรรม
ปริปุจฉา
การทรงจำพระธรรมได้
วจสาปริจิตา เป็นพระธรรมได้ จึงจะทำวิปัสสนาได้พื้นฐานเหล่านี้ในพระไตรปิฎกบางแห่ง ตามขั้นตอนพื้นฐานให้เป็น "โมฆบุรุษ" เลยทีเดียว ก่อนเรียนเอาพระกัมมัฏฐานคือจัดยกครูด้วยเทียนขี้ผึ้ง 5 คู่ดอกไม้ขาว 5 คู่เรียกว่าขันธ์ 5 เทียนขี้ผึ้ง 8 คู่ดอกไม้ขาว 8 คู่เรียกว่าขันธ์ 8 หรือเทียนขี้ผึ้งคู่หนักเล่มละ 1 บาท 40 พิธีแยบยลโบราณกาลท่านดีเหมือนกัน ถ้าท่านชำนาญทางฝ่ายบริกรรมสัมมาอะระหังท่านก็สอนให้บริกรรมภาวนาว่าสัมมาอะระหัง ๆ ๆ ให้กำหนดเป็นดวงแก้วใส ๆ อยู่เหนือสะดือขึ้นไป 2 นิ้วแล้วเอาจิตไปตั้งไว้ไว้ตรงนั้นภาวนาไปเรื่อย ๆ อย่าให้จิตหนีหายไปจากดวงแก้วหมายความว่า พองหนอท่านก็จะสอนให้ภาวนายุบหนอพองหนอ ยกเท้าขึ้นว่าหยุบหนอเหยียบเท้าลงก็ว่าพองหนอ ท่านก็สอนคาถาภาวนาให้ว่านะมะพะธะนะมะพะธะให้เอาจิตเป็นอารมณ์อันหนึ่งจิตจะพาไปเห็นเทพนรกอินทร์พรหมต่างๆนานาหลายอย่าง ท่านก็จะสอนให้กำหนดลมหายใจเข้า - ออกให้จิตตั้งมั่นกับลมหายใจเข้า - ออกอย่างเดียวเป็นอารมณ์ ท่านก็จะสอนให้บริกรรมว่าพุทโธ ๆ ๆ จนชำนาญเต็มที่แล้วก็จะสอนให้พิจารณาพุทโธกับผู้ว่าพุทโธเมื่อพิจารณาเห็นเป็นคนละอันกันแล้วพึงจับเอาผู้ว่าพุทโธ "ผู้ว่าพุทโธ" ไม่ได้โทษว่า แล้วหลงเชื่อตาม โดยเฉพาะคนถือพระพุทธศาสนามาแล้ว นี่จะเป็นเพราะคนสมัยนี้ใจร้อน อย่างที่เขาพูดกันว่า "คนสมัยปรมาณู" ส่วนร่างกายมันเป็นรูปธรรม มีคนฝึกหัดอย่างนี้จำนวนมาก ๆ เข้า ฉะนั้นเรามาฝึกหัดจิตบริกรรมพุทโธลองดูคำว่า "สัมมาอะระหัง" เป็นภาษาบาลีมีศัพท์ควบคู่กันอยู่ 2 ศัพท์คือ "สัมมา" และ ดังนั้นการนิยมสวดมนต์ไหว้พระนั่งสมาธิสม่ำเสมอจะก่อให้เกิดผลดีต่อจิต ฮอร์โมนที่เป็นปกติทำให้ร่างกายสมดุลเมื่อร่างกายสมดุลบุคคลนั้นจะ
















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
วิปัสสนาแปลว่าตามศัพท์ว่าการเห็นชัดเจนค็อคการเห็นแจ้ง
วิปัสสนาแปลว่าตามใจความว่าการคิดอย่างชาญฉลาดมีปัญญาเกี่ยวกับสังขารธรรมอย่างละเอียดโดยใช้ลักษณะต่างจะนานาเช่นเมื่อคิดทำความเข้าใจเรื่องรูปขันธ์จนแจ่มแจ้งชัดเจนด้วยญาตปริญญาแล้ว" รูปขันธ์ไม่เที่ยงเพราะปกติแล้วรูปขันธ์ต้องสิ้นไปหมดไปทำลายไป .
ไตรลักษณ์แปลว่าลักษณะ 3 อย่างความลักษณะที่ไม่เที่ยงลักษณะที่เป็นทุกข์และลักษณะที่เป็นอนัตตา .ในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาท่านระบุไว้ว่า " ขึ้นชื่อว่าลักษณะมีคติเป็นบัญญัติเป็นนวัตตัพพธรรม " ในพระไตรปิฎกหลายที่ก็กล่าวไตรลักษณ์ไว้หลายชื่อเช่นไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตาฉะนั้นวิปัสสนา( คือสิ่งที่มีอยู่จริง ) และบัญญัติ ( คือสิ่งที่ไม่มีอยู่จริงทั้งที่เป็นอาการของปรมัตถ์และชื่อเรียกต่างๆ ) มากำหนดขันธ์เป็นต้น .
ปรมัตถ์ที่ใช้กำหนดวิปัสสนานั้นท่านเรียกว่าวิเสสลักษณะปัจจัตตลักษณะหรือเรียกว่า ,ลักขณาทิจตุกกะก็ได้เช่นลักษณะที่มาประจัญหน้ากันของอารมณ์วัตถุและวิญญาณซึ่งเป็นลักษณะความเป็นเครื่องหมายบ่งให้สังเกตรู้ได้ว่าเป็นปรมัตถ์แต่ละอย่างไม่ปะปนกันสามารถกำหนดได้ว่า " สิ่งนี้คือผัสสะ "อย่างนี้คัมภีร์ทางศาสนามักจัดว่าเป็นญาตปริญญาและแม้โดยทั่วไปท่านจะยังไม่จัดว่าเป็นวิปัสสนาโดยตรงแต่หากจะอนุโลมเอาก็ไม่ผิดอะไรเพราะก็เป็นพื้นฐานที่สำคัญมากของการทำวิปัสสนา .


การปฏิบัติทั้งหมดในคัมภีร์ท่านมักเน้นย้ำว่าจะต้องมีพื้นฐานเหล่านี้ความอุคคหะการเรียนพระธรรมปริปุจฉาการสอบสวนทวนถามทำความเข้าใจในอรรถะของพระธรรมให้ชัดเจนการทรงจำพระธรรมได้

ธาตาวจสาปริจิตาสวดท่องจนมีความคล่องแคล่วชำนาญคล่องปากใคร่ครวญค้นคิดตรวจสอบจนขึ้นใจเข้าใจ

มนสานุเปกขิตาปฏิบัติหมั่นเอาพระธรรมมาใช้ในชีวิตจนสามารถจะเห็นอะไรๆเป็นพระธรรมได้โดยเฉพาะการปฏิบัติศีลและสมาธิที่ต้องใช้จนระงับกิเลสได้ถึงระดับหนึ่งจึงจะทำวิปัสสนาได้
พื้นฐานเหล่านี้ในพระไตรปิฎกบางแห่งพระพุทธองค์ถึงกับกล่าวให้คนที่ไม่ทำตามลำดับตามขั้นตอนพื้นฐานให้เป็น " โมฆบุรุษ " เลยทีเดียว
ซึ่งคำนี้ถือว่าเป็นคำตำหนิที่รุนแรงมากในสมัยนั้น .โบราณาจารย์ท่านมีพิธีปลูกศรัทธาเบื้องต้นก่อนเรียนเอาพระกัมมัฏฐานความ
จัดยกครูด้วยเทียนขี้ผึ้ง๕คู่ดอกไม้ขาว๕คู่เรียกว่าขันธ์๕
เทียนขี้ผึ้งคู่ดอกไม้ขาวแยกแยกแยกคู่เรียกว่าขันธ์
หรือเทียนขี้ผึ้งคู่หนักเล่มละ๑บาทดอกไม้ขาวเท่ากับเทียน
แล้วอาราธนาเอาพระกัมมัฏฐานทั้ง๔๐ให้เข้ามาอยู่ในขันธสันดานของข้าพเจ้าในกาลบัดนี้แล้วจึงเรียนเอาพระกัมมัฏฐานนั้นต่อไปพิธีแยบยลโบราณกาลท่านดีเหมือนกันยังมีพิธีอีมากมายแต่ผู้เขียนยังไม่กล่าวถึงเมื่อปลูกศรัทธาความเชื่อมั่นให้มีขึ้นในจิตใจของตนดังกล่าวมาแล้วจึงเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ชำนาญในกำมัฏฐานนั้นๆถ้าท่านชำนาญทางฝ่ายบริกรรมสัมมาอะระหังท่านก็สอนให้บริกรรมภาวนาว่าสัมมาอะระหังๆๆอยู่เหนือสะดือขึ้นไป๒นิ้วแล้วเอาจิตไปตั้งไว้ไว้ตรงนั้นภาวนาไปเรื่อยๆอย่าให้จิตหนีหายไปจากดวงแก้วหมายความว่าเอาดวงแก้วเป็นที่ตั้งของดวงจิตก็แล้วกัน
เมื่อเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ชำนาญในด้านภาวนายุบหนอพองหนอท่านก็จะสอนให้ภาวนายุบหนอพองหนอให้กำหนดเอาจิตไปไว้ที่อิริยาบถต่างๆเช่นยกเท้าขึ้นว่าหยุบหนอเหยียบเท้าลงก็ว่าพองหนออย่างนี้เรื่อยไปเป็นอารมณ์
เมื่อท่านเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ชำนาญในด้านอิทธิฤทธิ์ท่านก็สอนคาถาภาวนาให้ว่านะมะพะธะนะมะพะธะให้เอาจิตเป็นอารมณ์อันหนึ่งจิตจะพาไปเห็นเทพนรกอินทร์พรหมต่างๆนานาหลายอย่างจนเพลินอยู่กับอารมณ์นั้นๆ
เมื่อเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ท่านชำนาญในด้านอานาปานสติท่านก็จะสอนให้กำหนดลมหายใจเข้า - ออกให้จิตตั้งมั่นกับลมหายใจเข้า - ออกอย่างเดียวเป็นอารมณ์เมื่อเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ท่านชำนาญในด้านภาวนาพุทโธพุทโธๆๆแล้วให้เอาจิตไปตั้งมั่นอยู่ในบริกรรมนั้นจนชำนาญเต็มที่แล้วก็จะสอนให้พิจารณาพุทโธกับผู้ว่าพุทโธเมื่อพิจารณาเห็นเป็นคนละอันกันแล้วพึงจับเอาผู้ว่าพุทโธให้ยึดเอา " ผู้ว่าพุทโธ " นั้นเป็นหลักต่อไป
คนในสมัยนี้หรือในสมัยไหนก็ตามหรือจะมีความรู้ความสามารถสักปานใดก็ช่างไม่ได้โทษว่าคนเหล่านั้นมักตื่นเต้นในสิ่งที่ตนยังไม่เคยทดสอบหาความจริงแล้วหลงเชื่อตามเพราะเขาเหล่านั้นอยากรู้อยากเห็นของจริงและพุทธศาสนาก็แสดงถึงเหตุผลซึ่งเป็นจริงทั้งนั้นแต่ทำไมต้องไปหลงเชื่อตามคำโฆษณาซึ่งมีอยู่ดาษดื่นทั่วไปนี่จะเป็นเพราะคนสมัยนี้ใจร้อนยังไม่ทำเหตุให้ถึงพร้อมแต่อยากได้ผลเร็วอย่างที่เขาพูดกันว่านั้นกระมัง
พุทธศาสนาสอนเข้าถึงจิตใจอันเป็นนามธรรมส่วนร่างกายมันเป็นรูปธรรมรูปธรรมมันต้องอยู่ในบังคับบัญชาของนามธรรมเมื่อเริ่มหัดสมาธิฝึกหัดจิตใจให้สงบไม่วุ่นวายฝึกหัดไปจนเป็นชำนาญได้ที่แล้วผู้นั้นก็สงบเยือกเย็นมีคนฝึกหัดอย่างนี้จำนวนมากๆเข้าโลกอันนี้ก็จะมีแต่ความสงบสุขทั่วกันส่วนรูปธรรมนั้นเราจะฝึกให้สงบได้ก็แต่เมื่อจิตบังคับอยู่เท่านั้นฉะนั้นเรามาฝึกหัดจิตบริกรรมพุทโธลองดู
คำว่า " สัมมาอะระหัง " เป็นภาษาบาลีมีศัพท์ควบคู่กันอยู่ 2 ศัพท์ความ " สัมมาและ " อะระหัง "
"การเจริญภาวนานั้นมีอานิสงส์และมีอานุภาพมากเพราะเป็นผลที่จะนำไปสู่การชำระจิตใจของเราให้ใสสะอาดโดยตรงเมื่อใจของเราสะอาดก็จะส่งผลให้ทุกอย่างในชีวิตดีตามไปด้วยดังนั้นการนิยมสวดมนต์ไหว้พระนั่งสมาธิสม่ำเสมอจะก่อให้เกิดผลดีต่อจิตและเมื่อจิตผ่องแผ้วก็ถือเป็นโอสถทิพย์ที่ส่งผลให้ร่างกายสร้างและหลั่งฮอร์โมนที่เป็นปกติทำให้ร่างกายสมดุลเมื่อร่างกายสมดุล
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: