โภชนาการสำหรับผู้สูงอายุความหมายของโภชนาการ อาหาร และสารอาหาร โภชนาการ การแปล - โภชนาการสำหรับผู้สูงอายุความหมายของโภชนาการ อาหาร และสารอาหาร โภชนาการ ไทย วิธีการพูด

โภชนาการสำหรับผู้สูงอายุความหมายของ

โภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ
ความหมายของโภชนาการ อาหาร และสารอาหาร
โภชนาการ (nutrition) หมายถึง อาหาร (food) ที่เข้าสู่ร่างกายคนแล้ว ร่างกายสามารถนำไปใช้เป็นประโยชน์ในด้านการเจริญเติบโต การค้ำจุนและการซ่อมแซมส่วนต่างๆของร่างกาย โภชนาการมีความหมายกว้างกว่าและต่างจากคำว่าอาหาร เพราะอาหารที่กินกันอยู่ทุกวันนี้มีดีเลวต่างกัน อาหารหลายชนิดที่กินแล้วรู้สึกอิ่ม แต่ไม่มีประโยชน์ หรือก่อโทษต่อร่างกายได้
ถ้านำเอาอาหารต่างๆมาวิเคราะห์ จะพบว่ามีสารประกอบอยู่มากมายหลายชนิด โดยอาศัยหลักคุณค่าทางโภชนาการทำให้มีการจัดสารประกอบต่างๆ ในอาหารออกเป็น ๖ ประเภท คือ โปรตีน (protein) คาร์โบไฮเดรต (carbohydrate) ไขมัน (fat) วิตามิน (vitamin) เกลือแร่ (mineral) และน้ำ สารประกอบทั้ง ๖ กลุ่มนี่เองที่เรียกว่า "สารอาหาร" (nutrient) ร่างกายประกอบด้วยสารอาหารเหล่านี้ และการทำงานของร่างกายจะเป็นปกติอยู่ได้ก็ต่อเมื่อได้สารอาหารทั้ง ๖ ประเภทครบถ้วน
อาหาร นับเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ในการครองชีวิต และมีส่วนทำให้สุขภาพของคนสมบูรณ์แข็งแรง ถ้ารับประทานอาหารได้ถูกต้อง และเพียงพอแก่ความต้องการของร่างกาย หรืออาจทำให้เป็นโรคได้ ถ้ามีการรับประทานไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสมตามความต้องการ ของร่างกายในแต่ละวัย ผู้สูงอายุนับว่าเป็นวัยหนึ่ง ที่พบว่ามีปัญหาทางโภชนาการ และนำไปสู่การเกิดโรค ซึ่งทำความยุ่งยากในการรักษา และครองตนให้มีความสุข ในบั้นปลายของชีวิต
ความชราเป็นสิ่งที่ทุก ๆ คนหลีกเลี่ยงไม่ได้ และมักจะเกี่ยวโยงไปถึง การเปลี่ยนแปลงในทางสรีรวิทยา ของร่างกายมีสภาพการเสื่อม ของระบบอวัยวะต่าง ๆ ทางองค์การอนามัยโลก ได้ตั้งเกณฑ์ขึ้นเพื่อใช้กันทั่ว ๆ ไปว่า ผู้สูงอายุคือ ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ซึ่งในปัจจุบันมีแนวโน้ม ของการเพิ่มประชากรกลุ่มนี้ จะมีมากขึ้น อย่างต่อเนื่อง เป็นผลมาจาก การพัฒนาทางการแพทย ์และสาธารณสุข ในประเทศไทยนั้นมีรายงานจาก สำนักงานสถิติแห่งชาติ และสำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ พบว่าจำนวน ผู้สูงอายุไทย ได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งคาดว่าในปี 2543 จะมีผู้สูงอายุถึง 4.8 ล้านคนและอายุเฉลี่ยปัจจุบันคือ 67.6 ปี
การเป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพไม่เป็นภาระแก่ลูกหลาน เป็นผลมาจากการเตรียมตัวของท่าน ซึ่งโภชนาการจัดได้ว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญในช่วงอายุนี้ การที่ผู้สูงอายุได้รับสารอาหารไม่เพียงพอหรือได้มากเกินไป จะมีผลซ้ำเติมอวัยวะต่าง ในร่างกายที่มีแนวโน้มจะเสื่อมอยู่แล้วให้เสื่อมมากขึ้น นอกจากนี้อุบัติการณ์การเกิดโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง จะมีผลต่อภาวะโภชนาการทั้งสิ้น


เมื่อย่างเข้าสู่วัยสูงอายุ จะเกิดความเปลี่ยนแปลงในของร่างกายไปในทางเสื่อม ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของส่วนประกอบของร่างกาย การทำงานของอวัยวะต่างๆในร่างกายเสื่อมลง สมรรถนะทางกายเสื่อมลง รวมทั้งการทำงานของสมองลดลง
ส่วนประกอบของร่างกายที่เปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุได้แก่ มวลเนื้อเยื่อซึ่งได้แก่ มวลกล้ามเนื้อ มวลเนื้อเยื่อของอวัยวะภายใน มวลกระดูก และน้ำในร่างกายลดลง แต่สัดส่วนของไขมันมากขึ้น การที่มีมวลเนื้อเยื่ออวัยวะภายในลดลงนั้น ทำให้การทำงานของอวัยวะภายในต่างๆโดยเฉพาะ หัวใจ ปอด ไต ตับ และสมองลดลงด้วย การทำงานของระบบต่างๆของร่างกายโดยเฉพาะระบบภูมิคุ้มกันก็เสื่อมถอยลง ทำให้ผู้สูงอายุมีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย และการฟื้นตัวจากโรคก็ยากขึ้น
โดยปกติการเสื่อมของร่างกายเป็นไปอย่างช้าๆ แต่หากมีปัจจัยบางอย่างมาเกี่ยวข้องเช่นโรคเรื้อรังหรือโรคเฉียบพลันใดๆก็ตาม ภาวะทุโภชนาการ สิ่งแวดล้อมที่ไม่ดี ฯลฯ จะทำให้ความเสื่อมเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ผู้สูงอายุมีการฟื้นตัวจากโรคที่เป็นช้ากว่าคนหนุ่มสาว ส่วนหนึ่งเกิดจากความเสื่อมของระบบต่างๆ ส่วนหนึ่งเกิดจากทุโภชนาการ หากป้องกันการเกิดทุโภชนาการได้น่าจะทำให้การฟื้นจากโรคที่เป็นได้เร็วขึ้น
ผู้สูงอายุ เป็นบุคคลที่ต้องกินอาหารให้ได้สัดส่วนและเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย เช่น เดียวกับวัยอื่น ๆ คือ มีความต้องการพลังงานและสารอาหารชนิดอื่นๆ เหมือนบุคคลทั่วไป
สำหรับผู้ที่มีอายุระหว่าง 40-60 ปี ในวัยนี้มักมีน้ำหนักตัวมากเกินมาตรฐาน เพราะจะมีการใช้กำลังงาน น้อยลง และต่อต่างๆ โดยเฉพาะต่อไทรอยด์จะทำงานน้อยลง เมื่อรู้ว่าน้ำหนักเกินควรพยายามลดหรือ ควบคุมน้ำหนักของร่างกายให้คงที่ไม่ให้อ้วนหรือผอมจนเกินไป
สำหรับผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ความต้องการพลังงานจะลดลง เนื่องจากการทำงานของอวัยวะต่างๆ น้อยลง เช่น การทำงานของกล้ามเนื้อ เป็นต้น ดังนั้น จึงควรเลือกกินอาหารที่ให้พลังงานน้อยลง เช่น ลดอาหารประเภทแป้ง และไขมันลงมาก กว่าตอนอายุ 40-60 ปี ลดปริมาณอาหารแต่ละมื้อลง แต่กินบ่อยขึ้น อาหารมื้อเย็นไม่ควรมากเกินไป ควรกินอาหารเบาๆ และเครื่องดื่ม เช่นนมสัก 1 ถ้วย ก่อนนอน จะทำให้หลับสบาย อาหารประเภท เนื้อสัตว์ รับประทานได้เหมือนเดิม แต่ควรสับหรือต้มเปื่อย เนื้อสัตว์ประเภทปลาจะช่วยให้ย่อยง่ายขึ้น ควรเป็นอาหารอุ่นๆ ถ้ามีน้ำแกงหรือต้มจืดจะช่วยกระตุ้นน้ำย่อยได้ดี อาหารประเภทผัก ควรต้มเปื่อย รับประทานได้เหมือนเดิม หรือเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เพราะจะช่วยในการขับถ่าย ส่วนใหญ่ผู้สูงอายุ จะรับประทานผักและผลไม้น้อยลง ทำให้ร่างกายได้รับแร่ธาตุไม่เพียงพอกับความต้องการ ซึ่งจะ มีผลต่อสารอาหารอื่นๆ ด้วย คือ ทำให้ร่างกายได้รับเหล็กต่ำไปด้วย ทำให้เป็นโรคซีดหรือโลหิตจาง ดังนั้น เพื่อให้การดูดซึมแร่ธาตุเหล็กดีขึ้น จึงควรกินผักและผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง นอกจากนี้ ยังสูง อายุ ยังมีปัญหาเกิดโรคกระดูกพรุน ทั้งนี้ มีสาเหตุจากการกินอาหารที่มีแคลเซียมน้อย จึงควรป้องกัน โดยดื่มนมทุกวัน รับประทานเนื้อสัตว์ ปลาตัวเล็กตัวน้อย กุ้งแห้ง และผักสีเขียวบ้าง เพื่อร่างกายจะได้ รับแคลเซียมไปบำรุงกระดูกให้แข็งแรงไม่เปราะหักง่าย น้ำมีความสำคัญต่อร่างกายผู้สูงอายุมาก เพราะผู้สูงอายุส่วนมากจะดื่มน้ำไม่เพียงพอ ทำให้คอแห้งมีเสมหะ และการขับถ่ายไม่ดีมักท้องผูก ดังนั้นผู้สูงอายุจึงควรดื่มน้ำประมาณวันละ 6-8 แก้ว เป็นประจำทุกวัน นอกจากนี้ ในพืชผักทุกชนิด จะมีเส้นใยอาหาร ซึ่ง มีความสำคัญต่อสุขภาพเช่นกัน เพราะจะช่วยไม
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
โภชนาการสำหรับผู้สูงอายุความหมายของโภชนาการอาหารและสารอาหาร โภชนาการ (โภชนาการ) หมายถึงอาหาร (อาหาร) ที่เข้าสู่ร่างกายคนแล้วร่างกายสามารถนำไปใช้เป็นประโยชน์ในด้านการเจริญเติบโตการค้ำจุนและการซ่อมแซมส่วนต่างๆของร่างกายโภชนาการมีความหมายกว้างกว่าและต่างจากคำว่าอาหารเพราะอาหารที่กินกันอยู่ทุกวันนี้มีดีเลวต่างกันอาหารหลายชนิดที่กินแล้วรู้สึกอิ่มแต่ไม่มีประโยชน์หรือก่อโทษต่อร่างกายได้ ถ้านำเอาอาหารต่างๆมาวิเคราะห์จะพบว่ามีสารประกอบอยู่มากมายหลายชนิดโดยอาศัยหลักคุณค่าทางโภชนาการทำให้มีการจัดสารประกอบต่าง ๆ ในอาหารออกเป็น ๖ ประเภทคือโปรตีน (โปรตีน) คาร์โบไฮเดรต (คาร์โบไฮเดรต) ไขมัน (fat) วิตามิน (วิตามิน) เกลือแร่ (แร่) และน้ำสารประกอบทั้ง ๖ กลุ่มนี่เองที่เรียกว่า "สารอาหาร" (สารอาหาร) ร่างกายประกอบด้วยสารอาหารเหล่านี้และการทำงานของร่างกายจะเป็นปกติอยู่ได้ก็ต่อเมื่อได้สารอาหารทั้ง ๖ ประเภทครบถ้วน อาหารนับเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ในการครองชีวิตและมีส่วนทำให้สุขภาพของคนสมบูรณ์แข็งแรงถ้ารับประทานอาหารได้ถูกต้องและเพียงพอแก่ความต้องการของร่างกายหรืออาจทำให้เป็นโรคได้ถ้ามีการรับประทานไม่ถูกต้องไม่เหมาะสมตามความต้องการของร่างกายในแต่ละวัยผู้สูงอายุนับว่าเป็นวัยหนึ่งที่พบว่ามีปัญหาทางโภชนาการและนำไปสู่การเกิดโรคซึ่งทำความยุ่งยากในการรักษาและครองตนให้มีความสุขในบั้นปลายของชีวิตความชราเป็นสิ่งที่ทุกๆ คนหลีกเลี่ยงไม่ได้และมักจะเกี่ยวโยงไปถึงการเปลี่ยนแปลงในทางสรีรวิทยาของร่างกายมีสภาพการเสื่อมของระบบอวัยวะต่างๆ ทางองค์การอนามัยโลกได้ตั้งเกณฑ์ขึ้นเพื่อใช้กันทั่วๆ ไปว่าผู้สูงอายุคือผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปซึ่งในปัจจุบันมีแนวโน้มของการเพิ่มประชากรกลุ่มนี้จะมีมากขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นผลมาจากการพัฒนาทางการแพทย์และสาธารณสุขในประเทศไทยนั้นมีรายงานจากสำนักงานสถิติแห่งชาติและสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติพบว่าจำนวนผู้สูงอายุไทยได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วซึ่งคาดว่าในปี 2543 จะมีผู้สูงอายุถึง 4.8 ล้านคนและอายุเฉลี่ยปัจจุบันคือ 67.6 ปี การเป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพไม่เป็นภาระแก่ลูกหลานเป็นผลมาจากการเตรียมตัวของท่านซึ่งโภชนาการจัดได้ว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญในช่วงอายุนี้การที่ผู้สูงอายุได้รับสารอาหารไม่เพียงพอหรือได้มากเกินไปจะมีผลซ้ำเติมอวัยวะต่างในร่างกายที่มีแนวโน้มจะเสื่อมอยู่แล้วให้เสื่อมมากขึ้นนอกจากนี้อุบัติการณ์การเกิดโรคเรื้อรังเช่นโรคหัวใจโรคมะเร็งโรคความดันโลหิตสูงจะมีผลต่อภาวะโภชนาการทั้งสิ้น เมื่อย่างเข้าสู่วัยสูงอายุจะเกิดความเปลี่ยนแปลงในของร่างกายไปในทางเสื่อมได้แก่การเปลี่ยนแปลงของส่วนประกอบของร่างกายการทำงานของอวัยวะต่างๆในร่างกายเสื่อมลงสมรรถนะทางกายเสื่อมลงรวมทั้งการทำงานของสมองลดลง ส่วนประกอบของร่างกายที่เปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุได้แก่มวลเนื้อเยื่อซึ่งได้แก่มวลกล้ามเนื้อมวลเนื้อเยื่อของอวัยวะภายในมวลกระดูกและน้ำในร่างกายลดลงแต่สัดส่วนของไขมันมากขึ้นการที่มีมวลเนื้อเยื่ออวัยวะภายในลดลงนั้นทำให้การทำงานของอวัยวะภายในต่างๆโดยเฉพาะหัวใจปอดไตตับและสมองลดลงด้วยการทำงานของระบบต่างๆของร่างกายโดยเฉพาะระบบภูมิคุ้มกันก็เสื่อมถอยลงทำให้ผู้สูงอายุมีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายและการฟื้นตัวจากโรคก็ยากขึ้น โดยปกติการเสื่อมของร่างกายเป็นไปอย่างช้า ๆ แต่หากมีปัจจัยบางอย่างมาเกี่ยวข้องเช่นโรคเรื้อรังหรือโรคเฉียบพลันใดๆก็ตามภาวะทุโภชนาการสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีฯลฯ จะทำให้ความเสื่อมเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วผู้สูงอายุมีการฟื้นตัวจากโรคที่เป็นช้ากว่าคนหนุ่มสาวส่วนหนึ่งเกิดจากความเสื่อมของระบบต่าง ๆ ส่วนหนึ่งเกิดจากทุโภชนาการหากป้องกันการเกิดทุโภชนาการได้น่าจะทำให้การฟื้นจากโรคที่เป็นได้เร็วขึ้น ผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่ต้องกินอาหารให้ได้สัดส่วนและเพียงพอกับความต้องการของร่างกายเช่นเดียวกับวัยอื่นๆ คือมีความต้องการพลังงานและสารอาหารชนิดอื่น ๆ เหมือนบุคคลทั่วไป สำหรับผู้ที่มีอายุระหว่าง 40-60 ปีในวัยนี้มักมีน้ำหนักตัวมากเกินมาตรฐานเพราะจะมีการใช้กำลังงานน้อยลงและต่อต่าง ๆ โดยเฉพาะต่อไทรอยด์จะทำงานน้อยลงเมื่อรู้ว่าน้ำหนักเกินควรพยายามลดหรือควบคุมน้ำหนักของร่างกายให้คงที่ไม่ให้อ้วนหรือผอมจนเกินไป สำหรับผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ความต้องการพลังงานจะลดลง เนื่องจากการทำงานของอวัยวะต่างๆ น้อยลง เช่น การทำงานของกล้ามเนื้อ เป็นต้น ดังนั้น จึงควรเลือกกินอาหารที่ให้พลังงานน้อยลง เช่น ลดอาหารประเภทแป้ง และไขมันลงมาก กว่าตอนอายุ 40-60 ปี ลดปริมาณอาหารแต่ละมื้อลง แต่กินบ่อยขึ้น อาหารมื้อเย็นไม่ควรมากเกินไป ควรกินอาหารเบาๆ และเครื่องดื่ม เช่นนมสัก 1 ถ้วย ก่อนนอน จะทำให้หลับสบาย อาหารประเภท เนื้อสัตว์ รับประทานได้เหมือนเดิม แต่ควรสับหรือต้มเปื่อย เนื้อสัตว์ประเภทปลาจะช่วยให้ย่อยง่ายขึ้น ควรเป็นอาหารอุ่นๆ ถ้ามีน้ำแกงหรือต้มจืดจะช่วยกระตุ้นน้ำย่อยได้ดี อาหารประเภทผัก ควรต้มเปื่อย รับประทานได้เหมือนเดิม หรือเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เพราะจะช่วยในการขับถ่าย ส่วนใหญ่ผู้สูงอายุ จะรับประทานผักและผลไม้น้อยลง ทำให้ร่างกายได้รับแร่ธาตุไม่เพียงพอกับความต้องการ ซึ่งจะ มีผลต่อสารอาหารอื่นๆ ด้วย คือ ทำให้ร่างกายได้รับเหล็กต่ำไปด้วย ทำให้เป็นโรคซีดหรือโลหิตจาง ดังนั้น เพื่อให้การดูดซึมแร่ธาตุเหล็กดีขึ้น จึงควรกินผักและผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง นอกจากนี้ ยังสูง อายุ ยังมีปัญหาเกิดโรคกระดูกพรุน ทั้งนี้ มีสาเหตุจากการกินอาหารที่มีแคลเซียมน้อย จึงควรป้องกัน โดยดื่มนมทุกวัน รับประทานเนื้อสัตว์ ปลาตัวเล็กตัวน้อย กุ้งแห้ง และผักสีเขียวบ้าง เพื่อร่างกายจะได้ รับแคลเซียมไปบำรุงกระดูกให้แข็งแรงไม่เปราะหักง่าย น้ำมีความสำคัญต่อร่างกายผู้สูงอายุมาก เพราะผู้สูงอายุส่วนมากจะดื่มน้ำไม่เพียงพอ ทำให้คอแห้งมีเสมหะ และการขับถ่ายไม่ดีมักท้องผูก ดังนั้นผู้สูงอายุจึงควรดื่มน้ำประมาณวันละ 6-8 แก้ว เป็นประจำทุกวัน นอกจากนี้ ในพืชผักทุกชนิด จะมีเส้นใยอาหาร ซึ่ง มีความสำคัญต่อสุขภาพเช่นกัน เพราะจะช่วยไม
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

และสารอาหารอาหาร
โภชนาการ (โภชนาการ) หมายถึงอาหาร (อาหาร) ที่เข้าสู่ร่างกายคนแล้ว อาหารหลายชนิดที่กินแล้วรู้สึกอิ่ม แต่ไม่มีประโยชน์
ในอาหารออกเป็น 6 ประเภทคือโปรตีน (โปรตีน) คาร์โบไฮเดรต (คาร์โบไฮเดรต) ไขมัน (ไขมัน) วิตามิน (วิตามิน) เกลือแร่ (แร่) และน้ำสารประกอบทั้ง 6 กลุ่มนี่เองที่เรียกว่า "สารอาหาร" (สารอาหาร) ร่างกายประกอบด้วยสารอาหารเหล่า นี้ 6 ครบถ้วนออกประเภท
อาหาร ถ้ารับประทานอาหารได้ถูกต้อง หรืออาจทำให้เป็นโรคได้ถ้ามี การรับประทานไม่ถูกต้องไม่เหมาะสมตามความต้องการของร่างกายในแต่ละวัยผู้สูงอายุนับว่าเป็นวัยหนึ่งที่พบว่ามีปัญหาทางโภชนาการและนำไปสู่การเกิดโรคซึ่งทำความยุ่งยากในการรักษา และครองตนให้มีความสุข
ๆ คนหลีกเลี่ยงไม่ได้และมัก จะเกี่ยวโยงไปถึงการเปลี่ยนแปลงในทางสรีรวิทยาของร่างกายมีสภาพการเสื่อมของระบบอวัยวะต่าง ๆ ทางองค์การอนามัยโลกได้ตั้งเกณฑ์ขึ้นเพื่อใช้กันทั่ว ๆ ไปว่าผู้สูงอายุคือผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปซึ่งในปัจจุบันมีแนวโน้ม ของการเพิ่มประชากรกลุ่มนี้จะมีมากขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นผลมาจากการพัฒนาทางการแพทย์และสาธารณสุขในประเทศไทยนั้นมีรายงานจากสำนักงานสถิติแห่งชาติและสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติพบว่าจำนวนผู้สูงอายุ ไทยได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วซึ่งคาดว่าในปี 2543 จะมีผู้สูงอายุถึง 4.8 ล้านคนและอายุเฉลี่ยปัจจุบันคือ 67.6
เป็นผลมาจากการเตรียมตัวของท่าน จะมีผลซ้ำเติมอวัยวะต่าง เช่นโรคหัวใจโรคมะเร็งโรคความดัน โลหิตสูง ได้แก่ สมรรถนะทางกายเสื่อมลง มวลเนื้อเยื่อซึ่ง ได้แก่ มวลกล้ามเนื้อมวล เนื้อเยื่อของอวัยวะภายในมวลกระดูกและน้ำในร่างกายลดลง แต่สัดส่วนของไขมันมากขึ้น หัวใจปอดไตตับและสมองลดลง ด้วย ภาวะทุโภชนาการสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดี ฯลฯ ส่วนหนึ่งเกิดจากทุโภชนาการ เช่นเดียวกับวัยอื่น ๆ คือ 40-60 ปี เพราะจะมีการใช้กำลังงานน้อย ลงและต่อต่างๆโดยเฉพาะต่อไทรอยด์จะทำงานน้อยลง 60 ปีขึ้นไปความต้องการพลังงานจะลด ลงเนื่องจากการทำงานของอวัยวะต่างๆน้อยลงเช่นการทำงานของกล้ามเนื้อเป็นต้นดังนั้น เช่นลดอาหารประเภทแป้งและไขมันลง มากกว่าตอนอายุ 40-60 ปีลดปริมาณอาหารแต่ละมื้อลง แต่ กินบ่อยขึ้นอาหารมื้อเย็นไม่ควรมากเกินไปควรกินอาหารเบา ๆ และเครื่องดื่มเช่นนมสัก 1 ถ้วยก่อนนอนจะทำให้ หลับสบายอาหารประเภทเนื้อสัตว์รับประทานได้ เหมือนเดิม แต่ควรสับหรือต้มเปื่อย ควรเป็นอาหารอุ่น ๆ อาหารประเภทผักควรต้มเปื่อยรับประทานได้ เหมือนเดิมหรือเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเพราะจะช่วยในการขับถ่ายส่วนใหญ่ผู้สูงอายุจะรับประทานผักและผลไม้น้อยลง ซึ่งจะมีผลต่อสารอาหารอื่น ๆ ด้วยคือทำให้ร่างกายได้รับเหล็กต่ำไปด้วยทำให้เป็นโรคซีดหรือโลหิตจางดังนั้น นอกจากนี้ยังสูงอายุยังมีปัญหา เกิดโรคกระดูกพรุนทั้งนี้ จึงควรป้องกันโดยดื่มนมทุกวัน รับประทานเนื้อสัตว์ปลาตัวเล็กตัวน้อยกุ้งแห้งและผักสีเขียวบ้างเพื่อร่างกายจะได้ ทำให้คอแห้งมีเสมหะและการขับถ่ายไม่ ดีมักท้องผูก 6-8 แก้วเป็นประจำทุกวันนอกจากนี้ใน พืชผักทุกชนิดจะมีเส้นใยอาหารซึ่งมีความสำคัญต่อสุขภาพเช่นกันเพราะจะช่วยไม







การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: