ระบบขับถ่ายของคนระบบขับถ่ายร่างกายมนุษย์มีกลไกต่าง ๆ คล้ายเครื่องยนต์  การแปล - ระบบขับถ่ายของคนระบบขับถ่ายร่างกายมนุษย์มีกลไกต่าง ๆ คล้ายเครื่องยนต์  ไทย วิธีการพูด

ระบบขับถ่ายของคนระบบขับถ่ายร่างกายม

ระบบขับถ่ายของคน
ระบบขับถ่าย
ร่างกายมนุษย์มีกลไกต่าง ๆ คล้ายเครื่องยนต์ ร่างกายต้องใช้พลังงาน การเผาผลาญพลังงานจะเกิดของเสีย ของเสียที่ร่างกายต้องกำจัดออกไปมีอยู่2ประเภท1. สารที่เป็นพิษต่อร่างกาย2. สารที่มีปริมาณมากเกินความต้องการ ระบบการขับถ่าย เป็นระบบที่ร่างกายขับถ่ายของเสียออกไป ของเสียในรูปแก๊สคือลมหายใจ ของเหลวคือเหงื่อและปัสสาวะ ของเสียในรูปของแข็งคืออุจจาระ
อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสียในรูปของแข็งคือ ลำไส้ใหญ่(ดูระบบย่อยอาหาร)
อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสียในรูปของแก๊สคือ ปอด(ดูระบบหายใจ)
อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสียในรูปของเหลวคือ ไต และผิวหนัง
-อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสียในรูปปัสสาวะ ได้แก่ ไต หลอดไต กระเพาะปัสสาวะ
-อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสียในรูปเหงื่อ คือผิวหนัง ซึ่งมีต่อมเหงื่ออยู่ในผิวหนังทำหน้าที่ขับเหงื่อ
การขับถ่ายของเสียทางลำไส้
การย่อยอาหารซึ่งจะสิ้นสุดลงบริเวณรอยต่อระหว่างลำไส้เล็กกับลำไส้ใหญ่ ลำไส้ใหญ่ยาวประมาณ 5 ฟุต ภายในมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2.5 นิ้ว เนื่องจากอาหารที่ลำไส้เล็กย่อยแล้วจะเป็นของเหลวหน้าที่ของลำไส้ใหญ่ครึ่งแรกคือดูดซึมของเหลว น้ำ เกลือแร่และน้ำตาลกลูโคสที่ยังเหลืออยู่ในกากอาหาร ส่วนลำไส้ใหญ่ครึ่งหลังจะเป็นที่พักกากอาหารซึ่งมีลักษณะกึ่งของแข็ง ลำไส้ใหญ่จะขับเมือกออกมาหลอลื่นเพื่อให้อุจจาระเคลื่อนไปตามลำไส้ใหญ่ได้ง่ายขึ้น ถ้าลำไส้ใหญ่ดูดน้ำมากเกินไป เนื่องจากกากอาหารตกค้างอยู่ในลำไส้ใหญ่หลายวัน จะทำให้กากอาหารแข็ง เกิดความลำบากในการขับถ่าย ซึ่งเรียกว่า ท้องผูก
สาเหตุของอาการท้องผูก1. กินอาหารที่มีกากอาหารน้อย2. กินอาหารรสจัด3. การถ่ายอุจจาระไม่เป็นเวลาหรือกลั้นอุจจาระติดต่อกันหลายวัน4. ดื่มน้ำชา กาแฟ มากเกินไป5. สูบบุหรี่จัดเกินไป6. เกิดความเครียด หรือความกังวลมาก
โดยปกติ กากอาหารผ่านเข้าสู่ลำไส้ใหญ่ประมาณวันละ 300-500 ลูกบาศก์เซนติเมตร ซึ่งจะทำให้เกิดอุจจาระประมาณวันละ 150 กรัม
การขับถ่ายของเสียทางปอด
เราได้ทราบจากเรื่องระบบหายใจแล้วว่า ปอดคืออวัยวะที่ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนก๊าซ น้ำ และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นสิ่งที่ร่างกายไม่ต้องการแล้วจะออกจากเซลล์แพร่เข้าไปในเส้นเลือด แล้วลำเลียงไปยังปอดเกิดการแพร่ของน้ำและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่ถุงลมปอดแล้วเคลื่อนผ่านหลอดลมออกจากร่างกายทางจมูก
การขับถ่ายของเสียทางไต
จากระบบการหมุนเวียนโลหิต เลือดทั้งหมดในร่างกายจะต้องหมุนเวียนผ่านไต โดยนำสารทั้งที่ยังมีประโยชน์และสารที่ไม่มีประโยชน์แล้วมาที่ไต ของเสียจะถูกไตกำจัดออกมาในรูปปัสสาวะ
ไต มีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่ว มีอยู่ 2 ข้าง ติดอยู่กับด้านหลังของช่องท้องยาวประมาณ 11 เซนติเมตร กว้าง 6 เซนติเมตร และหนา 3 เซนติเมตร ตรงกลางเว้าเป็นกรวยไต มีหลอดไตต่อไปยังกระเพาะปัสสาวะ ภายในไตมีหน่วยไตเล็ก ๆ อยู่เป็นจำนวนมาก
กระบวนการขับถ่าย เริ่มจากหลอดเลือดที่นำเลือดมาจากหัวใจ เลือดและสารที่มากับเลือดจะถูกส่งเข้าหน่วยไต หน่วยไตจะกรองสารที่มีอยู่ในเลือด สารที่ยังมีประโยชน์จะถูกหน่วยไตดูดซึมกลับคืนมา ส่วนของเสียอื่น ๆ จะถูกส่งไปตามหลอดไตลงสู่กระเพาะปัสสาวะซึ่งมีความจุประมาณครึ่งลิตร
ในวันหนึ่ง ๆ คนเราจะขับถ่ายปัสสาวะออกมาประมาณ 1-1.5 ลิตร ปริมาณการขับถ่ายในแต่ละวันจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับสิ่งต่อไปนี้
- ปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ
- ชนิดของอาหารและเครื่องดื่ม เช่น แตงโม เหล้า ทำให้การขับถ่ายปัสสาวะมากขึ้น
- การเสียน้ำของร่างกายทางอื่น
การขับถ่ายของเสียทางผิวหนัง
ในผิวหนังของคนเราสามารถขับถ่ายของเสียออกจากร่างกายทางรูขุมขน ซึ่งสิ่งที่ถูกขับออกมาคือ เหงื่อ
เหงื่อที่ถูกขับออกมาทางต่อมเหงื่อ ในเหงื่อประกอบด้วยน้ำประมาณ 99 เปอร์เซ็นต์ สารอื่น ๆ อีก 1 เปอร์เซ็นต์ เป็นพวกเกลือโซเดียมคลอไรด์ สารอินทรีย์ พวกยูเรีย และมีน้ำตาล แอมโมเนีย กรดแลคตริก และกรดอะมิโนอีกเล็กน้อย
ประโยชน์ของการระเหยของเหงื่อ คือ เป็นการปรับระดับอุณหภูมิของร่างกาย โดยระบายความร้อนไปกับเหงื่อที่ระเหย ปริมาณเหงื่อที่ถูกขับออกมาจะเกิดขึ้นได้ดีที่อุณหภูมิประมาณ 32 องศาเซลเซียส
การปฏิบัติตนเพื่อดูแลรักษาอวัยวะในระบบขับถ่าย
1. ดื่มน้ำสะอาดวันละมาก ๆ รับประทานอาหารที่สุกใหม่ ๆ
2. ไม่กลั้นอุจจาระและปัสสาวะเป็นเวลานาน ๆ
3. ควรอาบน้ำชำระร่างกายทุกวัน
4. ออกกำลังกายอย่างเหมาะสม
5. ถ้ามีอาการผิดปกติต้องรีบปรึกษาแพทย์

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ระบบขับถ่ายของคนระบบขับถ่ายร่างกายมนุษย์มีกลไกต่าง ๆ คล้ายเครื่องยนต์ ร่างกายต้องใช้พลังงาน การเผาผลาญพลังงานจะเกิดของเสีย ของเสียที่ร่างกายต้องกำจัดออกไปมีอยู่2ประเภท1. สารที่เป็นพิษต่อร่างกาย2. สารที่มีปริมาณมากเกินความต้องการ ระบบการขับถ่าย เป็นระบบที่ร่างกายขับถ่ายของเสียออกไป ของเสียในรูปแก๊สคือลมหายใจ ของเหลวคือเหงื่อและปัสสาวะ ของเสียในรูปของแข็งคืออุจจาระอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสียในรูปของแข็งคือ ลำไส้ใหญ่(ดูระบบย่อยอาหาร)อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสียในรูปของแก๊สคือ ปอด(ดูระบบหายใจ)อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสียในรูปของเหลวคือ ไต และผิวหนัง-อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสียในรูปปัสสาวะ ได้แก่ ไต หลอดไต กระเพาะปัสสาวะ-อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสียในรูปเหงื่อ คือผิวหนัง ซึ่งมีต่อมเหงื่ออยู่ในผิวหนังทำหน้าที่ขับเหงื่อการขับถ่ายของเสียทางลำไส้การย่อยอาหารซึ่งจะสิ้นสุดลงบริเวณรอยต่อระหว่างลำไส้เล็กกับลำไส้ใหญ่ ลำไส้ใหญ่ยาวประมาณ 5 ฟุต ภายในมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2.5 นิ้ว เนื่องจากอาหารที่ลำไส้เล็กย่อยแล้วจะเป็นของเหลวหน้าที่ของลำไส้ใหญ่ครึ่งแรกคือดูดซึมของเหลว น้ำ เกลือแร่และน้ำตาลกลูโคสที่ยังเหลืออยู่ในกากอาหาร ส่วนลำไส้ใหญ่ครึ่งหลังจะเป็นที่พักกากอาหารซึ่งมีลักษณะกึ่งของแข็ง ลำไส้ใหญ่จะขับเมือกออกมาหลอลื่นเพื่อให้อุจจาระเคลื่อนไปตามลำไส้ใหญ่ได้ง่ายขึ้น ถ้าลำไส้ใหญ่ดูดน้ำมากเกินไป เนื่องจากกากอาหารตกค้างอยู่ในลำไส้ใหญ่หลายวัน จะทำให้กากอาหารแข็ง เกิดความลำบากในการขับถ่าย ซึ่งเรียกว่า ท้องผูกสาเหตุของอาการท้องผูก1. กินอาหารที่มีกากอาหารน้อย2. กินอาหารรสจัด3. การถ่ายอุจจาระไม่เป็นเวลาหรือกลั้นอุจจาระติดต่อกันหลายวัน4. ดื่มน้ำชา กาแฟ มากเกินไป5. สูบบุหรี่จัดเกินไป6. เกิดความเครียด หรือความกังวลมากโดยปกติ กากอาหารผ่านเข้าสู่ลำไส้ใหญ่ประมาณวันละ 300-500 ลูกบาศก์เซนติเมตร ซึ่งจะทำให้เกิดอุจจาระประมาณวันละ 150 กรัมการขับถ่ายของเสียทางปอดเราได้ทราบจากเรื่องระบบหายใจแล้วว่า ปอดคืออวัยวะที่ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนก๊าซ น้ำ และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นสิ่งที่ร่างกายไม่ต้องการแล้วจะออกจากเซลล์แพร่เข้าไปในเส้นเลือด แล้วลำเลียงไปยังปอดเกิดการแพร่ของน้ำและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่ถุงลมปอดแล้วเคลื่อนผ่านหลอดลมออกจากร่างกายทางจมูกการขับถ่ายของเสียทางไต
จากระบบการหมุนเวียนโลหิต เลือดทั้งหมดในร่างกายจะต้องหมุนเวียนผ่านไต โดยนำสารทั้งที่ยังมีประโยชน์และสารที่ไม่มีประโยชน์แล้วมาที่ไต ของเสียจะถูกไตกำจัดออกมาในรูปปัสสาวะ
ไต มีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่ว มีอยู่ 2 ข้าง ติดอยู่กับด้านหลังของช่องท้องยาวประมาณ 11 เซนติเมตร กว้าง 6 เซนติเมตร และหนา 3 เซนติเมตร ตรงกลางเว้าเป็นกรวยไต มีหลอดไตต่อไปยังกระเพาะปัสสาวะ ภายในไตมีหน่วยไตเล็ก ๆ อยู่เป็นจำนวนมาก
กระบวนการขับถ่าย เริ่มจากหลอดเลือดที่นำเลือดมาจากหัวใจ เลือดและสารที่มากับเลือดจะถูกส่งเข้าหน่วยไต หน่วยไตจะกรองสารที่มีอยู่ในเลือด สารที่ยังมีประโยชน์จะถูกหน่วยไตดูดซึมกลับคืนมา ส่วนของเสียอื่น ๆ จะถูกส่งไปตามหลอดไตลงสู่กระเพาะปัสสาวะซึ่งมีความจุประมาณครึ่งลิตร
ในวันหนึ่ง ๆ คนเราจะขับถ่ายปัสสาวะออกมาประมาณ 1-1.5 ลิตร ปริมาณการขับถ่ายในแต่ละวันจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับสิ่งต่อไปนี้
- ปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ
- ชนิดของอาหารและเครื่องดื่ม เช่น แตงโม เหล้า ทำให้การขับถ่ายปัสสาวะมากขึ้น
- การเสียน้ำของร่างกายทางอื่น
การขับถ่ายของเสียทางผิวหนัง
ในผิวหนังของคนเราสามารถขับถ่ายของเสียออกจากร่างกายทางรูขุมขน ซึ่งสิ่งที่ถูกขับออกมาคือ เหงื่อ
เหงื่อที่ถูกขับออกมาทางต่อมเหงื่อ ในเหงื่อประกอบด้วยน้ำประมาณ 99 เปอร์เซ็นต์ สารอื่น ๆ อีก 1 เปอร์เซ็นต์ เป็นพวกเกลือโซเดียมคลอไรด์ สารอินทรีย์ พวกยูเรีย และมีน้ำตาล แอมโมเนีย กรดแลคตริก และกรดอะมิโนอีกเล็กน้อย
ประโยชน์ของการระเหยของเหงื่อ คือ เป็นการปรับระดับอุณหภูมิของร่างกาย โดยระบายความร้อนไปกับเหงื่อที่ระเหย ปริมาณเหงื่อที่ถูกขับออกมาจะเกิดขึ้นได้ดีที่อุณหภูมิประมาณ 32 องศาเซลเซียส
การปฏิบัติตนเพื่อดูแลรักษาอวัยวะในระบบขับถ่าย
1. ดื่มน้ำสะอาดวันละมาก ๆ รับประทานอาหารที่สุกใหม่ ๆ
2. ไม่กลั้นอุจจาระและปัสสาวะเป็นเวลานาน ๆ
3. ควรอาบน้ำชำระร่างกายทุกวัน
4. ออกกำลังกายอย่างเหมาะสม
5. ถ้ามีอาการผิดปกติต้องรีบปรึกษาแพทย์

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ๆ คล้ายเครื่องยนต์ร่างกายต้องใช้พลังงานการ เผาผลาญพลังงานจะเกิดของเสีย สารที่เป็นพิษต่อร่างกาย 2 สารที่มีปริมาณมากเกินความต้องการ ระบบการขับถ่าย ของเสียในรูปแก๊สคือลมหายใจ ของเหลวคือเหงื่อและปัสสาวะ ไต ได้แก่ ไตหลอดไต คือผิวหนัง ลำไส้ใหญ่ยาวประมาณ 5 ฟุตภายในมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2.5 นิ้ว น้ำ ถ้าลำไส้ใหญ่ดูดน้ำมากเกินไป ทำให้กากจะแข็งอาหารเกิดความสามารถในห้างหุ้นส่วนจำกัดลำบากหัวเรื่อง: การขับถ่ายซึ่งเรียกว่าได้ท้องผูกสาเหตุของอาการท้องผูก 1 กินอาหารที่มีกากอาหารน้อย 2 กินอาหารรสจัด 3 ดื่มน้ำชากาแฟมากเกินไป 5 สูบบุหรี่จัดเกินไป 6 ความเครียดหรือเกิดความสามารถกังวลมากโดยปกติ 300-500 ลูกบาศก์เซนติเมตรซึ่งจะทำให้เกิดอุจจาระประมาณ วันละ 150 น้ำ มีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วมีอยู่ 2 ข้าง 11 เซนติเมตรกว้าง 6 เซนติเมตรและหนา 3 ตรงกลางเซนติเมตรเว้าเป็นกรวยไตมีหลอดไตต่อไปยังกระเพาะปัสสาวะไตภายในมีหน่วยไตเพิ่มข้อมูลที่ ๆ ขณะนี้เป็นจำนวนมากกระบวนการขับถ่าย หน่วยไตจะกรองสารที่มีอยู่ ในเลือด ส่วนของเสียอื่น ๆ ๆ คนเราจะขับถ่ายปัสสาวะออกมา ประมาณ 1-1.5 ลิตร ปริมาณน้ำที่ร่างกายได้รับ- ชนิดของอาหารและเครื่องดื่มเช่นแตงโม เหล้าทำให้การขับถ่ายปัสสาวะมากขึ้น - ซึ่งสิ่งที่ถูกขับออกมาคือ ในเหงื่อประกอบด้วยน้ำประมาณ 99 เปอร์เซ็นต์สารอื่น ๆ อีก 1 เปอร์เซ็นต์เป็นพวกเกลือโซเดียมคลอไรด์ สารอินทรีย์พวกยูเรียและมีน้ำตาลแอมโมเนียกรดแลคตริก คือ 32 ดื่มน้ำสะอาดวันละมาก ๆ รับประทาน อาหารที่สุกใหม่ ๆ 2 ๆ3 ควรอาบน้ำชำระร่างกายทุกวัน4 ออกกำลังกายอย่างเหมาะสม5
































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ระบบขับถ่ายของคนระบบขับถ่ายร่างกายมนุษย์มีกลไกต่างจะคล้ายเครื่องยนต์ร่างกายต้องใช้พลังงานการเผาผลาญพลังงานจะเกิดของเสียของเสียที่ร่างกายต้องกำจัดออกไปมีอยู่ 2 ประเภท 1 สารที่เป็นพิษต่อร่างกาย 2 สารที่มีปริมาณมากเกินความต้องการระบบการขับถ่ายเป็นระบบที่ร่างกายขับถ่ายของเสียออกไปของเสียในรูปแก๊สคือลมหายใจของเหลวคือเหงื่อและปัสสาวะของเสียในรูปของแข็งคืออุจจาระอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสียในรูปของแข็งคือลำไส้ใหญ่ ( ดูระบบย่อยอาหาร )อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสียในรูปของแก๊สคือปอด ( ดูระบบหายใจ )อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสียในรูปของเหลวคือไตและผิวหนัง- อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสียในรูปปัสสาวะได้แก่ไตหลอดไตกระเพาะปัสสาวะ- อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสียในรูปเหงื่อคือผิวหนังซึ่งมีต่อมเหงื่ออยู่ในผิวหนังทำหน้าที่ขับเหงื่อการขับถ่ายของเสียทางลำไส้การย่อยอาหารซึ่งจะสิ้นสุดลงบริเวณรอยต่อระหว่างลำไส้เล็กกับลำไส้ใหญ่ลำไส้ใหญ่ยาวประมาณ 5 ฟุตภายในมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2.5 นิ้วเนื่องจากอาหารที่ลำไส้เล็กย่อยแล้วจะเป็นของเหลวหน้าที่ของลำไส้ใหญ่ครึ่งแรกคือดูดซึมของเหลว a rescue เกลือแร่และน้ำตาลกลูโคสที่ยังเห ลืออยู่ในกากอาหารส่วนลำไส้ใหญ่ครึ่งหลังจะเป็นที่พักกากอาหารซึ่งมีลักษณะกึ่งของแข็งลำไส้ใหญ่จะขับเมือกออกมาหลอลื่นเพื่อให้อุจจาระเคลื่อนไปตามลำไส้ใหญ่ได้ง่ายขึ้นถ้าลำไส้ใหญ่ดูดน้ำมากเกินไปเนื่องจากกากอาหารตกค้างอยู่ในลำไส้ใหญ่หลายวันจะทำให้กากอาหารแ ข็งเกิดความลำบากในการขับถ่ายซึ่งเรียกว่าท้องผูกสาเหตุของอาการท้องผูก 1 กินอาหารที่มีกากอาหารน้อย 2 กินอาหารรสจัด 3 การถ่ายอุจจาระไม่เป็นเวลาหรือกลั้นอุจจาระติดต่อกันหลายวัน 4 ดื่มน้ำชากาแฟมากเกินไป 5 สูบบุหรี่จัดเกินไป 6 เกิดความเครียดหรือความกังวลมากโดยปกติกากอาหารผ่านเข้าสู่ลำไส้ใหญ่ประมาณวันละ 300-500 ลูกบาศก์เซนติเมตรซึ่งจะทำให้เกิดอุจจาระประมาณวันละ 150 กรัมการขับถ่ายของเสียทางปอดเราได้ทราบจา
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: