มาดาม มารี คูรี่ (MADAM MARIE CURIE)เกิด 7 พฤศจิกายน ค.ศ.1867 เมืองวอร การแปล - มาดาม มารี คูรี่ (MADAM MARIE CURIE)เกิด 7 พฤศจิกายน ค.ศ.1867 เมืองวอร ไทย วิธีการพูด

มาดาม มารี คูรี่ (MADAM MARIE CURIE

มาดาม มารี คูรี่ (MADAM MARIE CURIE)
เกิด 7 พฤศจิกายน ค.ศ.1867 เมืองวอร์ซอร์ ประเทศโปแลนด์
เสียชีวิต 4 กรกฎาคม ค.ศ.1934 กรุงปารีส ฝรั่งเศส

ผู้ค้นพบรังสีเรเดียมที่ใช้ยับยั้งการขยายตัวของมะเร็ง ซึ่งเป็นโรคร้ายที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่มีอัตราการตายของของคนไข้เป็นอันดับหนึ่งมาทุกยุคสมัย
มารี เป็นชาวโปแลนด์ บิดาเป็นครูสอนวิทยาศาสตร์และมักพาเธอมาที่ห้องทดลองเสมอจึงทำให้เธอสนใจวิชาด้านวิทยาศาสตร์ตั้งแต่เด็ก แม้จะมาเหตุการณ์ทางเมืองเมื่อรัสเซียมาปกครอง โปแลนด์และบังคับให้ใช้ภาษารัสเซียเป็นภาษาราชการก็ตาม หลังจบการศึกษาระดับต้นแล้ว เธอกับพี่สาวก็ทำงานด้วยการเป็นครูอนุบาลสอนหนังสือให้กับเด็กๆ แถวๆ นั้น โดยทั้งสองมุ่งหวังอยากไปเรียนต่อที่ฝรั่งเศส แต่เงินไม่พอกับค่าใช้จ่าย เธอจึงให้พี่สาวคือ บรอนยา ไปเรียนต่อด้านแพทย์ศาสตร์ ก่อน พอจบแล้วค่อยส่งเสียเธอเรียนต่อด้านวิทยาศาสตร์ต่อไป จนพี่สาวจบมาเธอก็ได้ไปเรียนต่อที่ มหาวิทยาลัยปารีส สมใจแต่ด้วยเงินอันน้อยนิดจากพี่สาว ไม่พอต่อค่าใช้จ่ายเธอจึงดิ้นรนหางานทำ จนได้เป็นผู้ช่วยในห้องปฎิบัติการทางเคมี ของ ปิแอร์ คูรี่ จนทั้งสองแต่งงานมีลูกด้วยกัน แต่ ปิแอร์ เสียชีวิตก่อนเพราะอุบัติเหตุรถชน ระหว่างที่เรียนไปทำงานไปเธอก็มุ่งมั่นศึกษาทดลองไปเรื่อยๆ จนมาพบรังสีแร่ธาตุยูเรเนี่ยม โดยได้มาจากแร่พิทช์เบลนที่เป็นออกไซต์ชนิดหนึ่งสามารถแผ่รังสีได้ จากการเพียรพยายามทดลองมาหลายปีในการสกัดแร่ชนิดต่างๆ จนมาพบรังสีดังกล่าวทำให้เธอได้รับปริญญาเอกในการค้นพบแร่ธาตุเรเดียม จนในปี 1902 เธอก็สามารถสกัดแร่เรเดียมให้บริสุทธิ์ได้ เรียกว่า “เรเดียมคลอได์” ที่สามารถแผ่รังสีได้มากกว่ายูเรเนียมถึง 2,000,000 เท่า มีคุณสมบัติคือ ให้แสงสว่าง และความร้อนได้ และเมื่อแร่นี้แผ่รังสีไปถูกวัตถุอื่น วัตถุนั้นจะเปลี่ยนสภาพเป็นธาตุกัมมันตรังสีและสามารถแผ่รังสีได้เช่นเดียวกันกับแร่เรเดียม จนทำให้เธอได้รับรางวัลโนเบลต่อมา การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับแร่เรเดียมอย่างหนักและต่อเนื่องกว่า4 ปี ทำให้เธอได้รับรางวัลโนเบลอีกครั้ง แม้สามีจะเสียชีวิตก็ตาม ด้วยกำลังใจอันล้นเปี่ยม และเกิดภาวะสงครามโลกครั้งที่ 1 ขึ้นผู้คนส่วนมากล้มตายและถูกเกณฑ์ไปเป็นทหาร เธอจึงอาสาสมัครเป็นอาสากาชาดเพื่อช่วยทหารที่บาดเจ็บ ในการเอ็กซเรย์เคลื่อนที่ตระเวนรักษาตามหน่วยต่างๆ จนสงครามสงบเธอก็กลับมาทำงานแต่ก็ต้องล้มป่วยเพราะผลมาจากการทำงานหนักและโดนรังสีเรเดียมทำให้ไขกระดูกถูกทำลายและเสียชีวิตในเวลาต่อมา

ผลงานการค้นพบ ของ มาดาม มารี คูรี่ (MADAM MARIE CURIE)
- ค้นพบธาตุเรเดียม
- ได้รับรางวัลโนเบลถึง 2 ครั้งคือ ปี ค.ศ.1903 สาขาฟิสิกส์จากการค้นพบธาตุเรเดียม และครั้งสอง ก็สาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ.1911 จากการค้นคว้าหาประโยชน์จากธาตุเรเดียม
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
มาดามมารีคูรี่ (มาดามมารีกูรี)เกิด 7 พฤศจิกายน ค.ศ.1867 เมืองวอร์ซอร์ประเทศโปแลนด์เสียชีวิต 4 กรกฎาคม ค.ศ.1934 กรุงปารีสฝรั่งเศส ผู้ค้นพบรังสีเรเดียมที่ใช้ยับยั้งการขยายตัวของมะเร็งซึ่งเป็นโรคร้ายที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้แต่มีอัตราการตายของของคนไข้เป็นอันดับหนึ่งมาทุกยุคสมัย มารีเป็นชาวโปแลนด์บิดาเป็นครูสอนวิทยาศาสตร์และมักพาเธอมาที่ห้องทดลองเสมอจึงทำให้เธอสนใจวิชาด้านวิทยาศาสตร์ตั้งแต่เด็กแม้จะมาเหตุการณ์ทางเมืองเมื่อรัสเซียมาปกครองโปแลนด์และบังคับให้ใช้ภาษารัสเซียเป็นภาษาราชการก็ตามหลังจบการศึกษาระดับต้นแล้วเธอกับพี่สาวก็ทำงานด้วยการเป็นครูอนุบาลสอนหนังสือให้กับเด็ก ๆ แถว ๆ นั้นโดยทั้งสองมุ่งหวังอยากไปเรียนต่อที่ฝรั่งเศสแต่เงินไม่พอกับค่าใช้จ่ายเธอจึงให้พี่สาวคือบรอนยาไปเรียนต่อด้านแพทย์ศาสตร์ก่อนพอจบแล้วค่อยส่งเสียเธอเรียนต่อด้านวิทยาศาสตร์ต่อไปจนพี่สาวจบมาเธอก็ได้ไปเรียนต่อที่มหาวิทยาลัยปารีสสมใจแต่ด้วยเงินอันน้อยนิดจากพี่สาวไม่พอต่อค่าใช้จ่ายเธอจึงดิ้นรนหางานทำจนได้เป็นผู้ช่วยในห้องปฎิบัติการทางเคมีนั้น ๆ ปิแอร์คูรี่จนทั้งสองแต่งงานมีลูกด้วยกันแต่ปิแอร์เสียชีวิตก่อนเพราะอุบัติเหตุรถชนระหว่างที่เรียนไปทำงานไปเธอก็มุ่งมั่นศึกษาทดลองไปเรื่อย ๆ จนมาพบรังสีแร่ธาตุยูเรเนี่ยมโดยได้มาจากแร่พิทช์เบลนที่เป็นออกไซต์ชนิดหนึ่งสามารถแผ่รังสีได้จากการเพียรพยายามทดลองมาหลายปีในการสกัดแร่ชนิดต่าง ๆ จนมาพบรังสีดังกล่าวทำให้เธอได้รับปริญญาเอกในการค้นพบแร่ธาตุเรเดียมเรียกว่าเธอก็สามารถสกัดแร่เรเดียมให้บริสุทธิ์ได้จนในปี 1902 "เรเดียมคลอได์" ที่สามารถแผ่รังสีได้มากกว่ายูเรเนียมถึง 2000000 เท่ามีคุณสมบัติคือให้แสงสว่างและความร้อนได้และเมื่อแร่นี้แผ่รังสีไปถูกวัตถุอื่นวัตถุนั้นจะเปลี่ยนสภาพเป็นธาตุกัมมันตรังสีและสามารถแผ่รังสีได้เช่นเดียวกันกับแร่เรเดียมจนทำให้เธอได้รับรางวัลโนเบลต่อมา การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับแร่เรเดียมอย่างหนักและต่อเนื่องกว่า4 ปีทำให้เธอได้รับรางวัลโนเบลอีกครั้งแม้สามีจะเสียชีวิตก็ตามด้วยกำลังใจอันล้นเปี่ยมและเกิดภาวะสงครามโลกครั้งที่ 1 ขึ้นผู้คนส่วนมากล้มตายและถูกเกณฑ์ไปเป็นทหารเธอจึงอาสาสมัครเป็นอาสากาชาดเพื่อช่วยทหารที่บาดเจ็บในการเอ็กซเรย์เคลื่อนที่ตระเวนรักษาตามหน่วยต่าง ๆ จนสงครามสงบเธอก็กลับมาทำงานแต่ก็ต้องล้มป่วยเพราะผลมาจากการทำงานหนักและโดนรังสีเรเดียมทำให้ไขกระดูกถูกทำลายและเสียชีวิตในเวลาต่อมาผลงานการค้นพบนั้น ๆ มาดามมารีคูรี่ (มาดามมารีกูรี) -ค้นพบธาตุเรเดียม -ได้รับรางวัลโนเบลถึง 2 ครั้งคือปี ค.ศ.1903 สาขาฟิสิกส์จากการค้นพบธาตุเรเดียมและครั้งสองก็สาขาฟิสิกส์ในปี ค.ศ.1911 จากการค้นคว้าหาประโยชน์จากธาตุเรเดียม
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
มาดามมารีคูรี่ (มาดามมารีกูรี)
เกิด 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1867 เมืองวอร์ซอร์ประเทศโปแลนด์
เสียชีวิต 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1934 กรุงปารีส เป็นชาวโปแลนด์ หลังจบการศึกษาระดับต้นแล้ว แถว ๆ นั้น แต่เงินไม่พอกับค่าใช้จ่ายเธอจึงให้พี่สาวคือบรอนยาไปเรียนต่อด้านแพทย์ศาสตร์ก่อน จนพี่สาวจบมาเธอก็ได้ไปเรียนต่อที่มหาวิทยาลัยปารีส ของปิแอร์คูรี่จนทั้งสองแต่งงานมีลูกด้วยกัน แต่ปิแอร์เสียชีวิตก่อนเพราะอุบัติเหตุรถชน จนมาพบรังสีแร่ธาตุยูเรเนี่ยม จนในปี 1902 เรียกว่า "เรเดียมคลอได์" 2,000,000 เท่ามีคุณสมบัติคือให้แสงสว่างและความร้อนได้ จนทำให้เธอได้รับรางวัลโนเบลต่อมา ปีทำให้เธอได้รับรางวัลโนเบลอีกครั้งแม้สามีจะเสียชีวิตก็ตามด้วยกำลังใจอันล้นเปี่ยมและเกิดภาวะสงครามโลกครั้งที่ 1 ของมาดามมารีคูรี่ (มาดามมารีกูรี) - ค้นพบธาตุเรเดียม- ได้รับรางวัลโนเบลถึง 2 ครั้งคือปี ค.ศ. 1903 สาขาฟิสิกส์จากการค้นพบธาตุเรเดียมและครั้งสองก็สาขาฟิสิกส์ในปีค . ศ. 1911






การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
มาดามมารีคูรี่ ( มาดาม มารี คูรี )
เกิด 7 พฤศจิกายนค . ศ . 1867 เมืองวอร์ซอร์ประเทศโปแลนด์
เสียชีวิต 4 กรกฎาคมค . ศ 1934 กรุงปารีสฝรั่งเศส

.ผู้ค้นพบรังสีเรเดียมที่ใช้ยับยั้งการขยายตัวของมะเร็งซึ่งเป็นโรคร้ายที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้แต่มีอัตราการตายของของคนไข้เป็นอันดับหนึ่งมาทุกยุคสมัย
มารีเป็นชาวโปแลนด์บิดาเป็นครูสอนวิทยาศาสตร์และมักพาเธอมาที่ห้องทดลองเสมอจึงทำให้เธอสนใจวิชาด้านวิทยาศาสตร์ตั้งแต่เด็กแม้จะมาเหตุการณ์ทางเมืองเมื่อรัสเซียมาปกครองหลังจบการศึกษาระดับต้นแล้วเธอกับพี่สาวก็ทำงานด้วยการเป็นครูอนุบาลสอนหนังสือให้กับเด็กๆแถวๆนั้นโดยทั้งสองมุ่งหวังอยากไปเรียนต่อที่ฝรั่งเศสแต่เงินไม่พอกับค่าใช้จ่ายเธอจึงให้พี่สาวคือบรอนยาก่อนพอจบแล้วค่อยส่งเสียเธอเรียนต่อด้านวิทยาศาสตร์ต่อไปจนพี่สาวจบมาเธอก็ได้ไปเรียนต่อที่มหาวิทยาลัยปารีสสมใจแต่ด้วยเงินอันน้อยนิดจากพี่สาวไม่พอต่อค่าใช้จ่ายเธอจึงดิ้นรนหางานทำของปิแอร์คูรี่จนทั้งสองแต่งงานมีลูกด้วยกัน A ปิแอร์เสียชีวิตก่อนเพราะอุบัติเหตุรถชนระหว่างที่เรียนไปทำงานไปเธอก็มุ่งมั่นศึกษาทดลองไปเรื่อยๆจนมาพบรังสีแร่ธาตุยูเรเนี่ยมจากการเพียรพยายามทดลองมาหลายปีในการสกัดแร่ชนิดต่างๆจนมาพบรังสีดังกล่าวทำให้เธอได้รับปริญญาเอกในการค้นพบแร่ธาตุเรเดียมจนในปี 1902 เธอก็สามารถสกัดแร่เรเดียมให้บริสุทธิ์ได้เรียกว่า " เรเดียมคลอได์ "2000 ,000 เท่ามีคุณสมบัติคือให้แสงสว่างและความร้อนได้และเมื่อแร่นี้แผ่รังสีไปถูกวัตถุอื่นวัตถุนั้นจะเปลี่ยนสภาพเป็นธาตุกัมมันตรังสีและสามารถแผ่รังสีได้เช่นเดียวกันกับแร่เรเดียมการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับแร่เรเดียมอย่างหนักและต่อเนื่องกว่า 4 . ทำให้เธอได้รับรางวัลโนเบลอีกครั้งแม้สามีจะเสียชีวิตก็ตามด้วยกำลังใจอันล้นเปี่ยมและเกิดภาวะสงครามโลกครั้งที่ 1เธอจึงอาสาสมัครเป็นอาสากาชาดเพื่อช่วยทหารที่บาดเจ็บในการเอ็กซเรย์เคลื่อนที่ตระเวนรักษาตามหน่วยต่างๆ
ผลงานการค้นพบของมาดามมารีคูรี่ ( มาดาม มารี คูรี )
-
- ค้นพบธาตุเรเดียมได้รับรางวัลโนเบลถึง 2 ครั้งคือ . ค . ศ . 1903 สาขาฟิสิกส์จากการค้นพบธาตุเรเดียมและครั้งสองก็สาขาฟิสิกส์สามารถค . ศ .1911 จากการค้นคว้าหาประโยชน์จากธาตุเรเดียม
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: