เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยได้ปรับปรุง การแปล - เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยได้ปรับปรุง ไทย วิธีการพูด

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยได้ปรับปรุงแก้ไขจากแบบสอบถามที่เคยใช้ทำงานวิจัยแล้วของกิติพงษ์ ขัติยะ โดยมีขั้นตอนการดำเนินการดังนี้
1. นำแบบสอบถามมาปรับปรุงแก้ไข โดยการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ จากเอกสาร ตำรา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2. การสร้างแบบสอบถาม ผู้วิจัยนำข้อมูลที่ได้ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการสร้างแบบสอบถาม โดยแบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบตรวจสอบรายการ(Check list) และแบบปลายเปิด (Open - ended)
ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการจัดบริการด้านการออกกำลังกาย ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบประเมินค่า (Rating scale) โดยกำหนดคำตอบไว้ 4 คำตอบ แบ่งเป็น 4 ด้าน ดังนี้
- ด้านความต้องการจัดบริการด้านกิจกรรมการออกกำลังกาย
- ด้านความต้องการจัดบริการด้านสถานที่ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวก
- ด้านความต้องการจัดบริการด้านวัน ช่วงเวลา และระยะเวลาในการออกกำลังกาย
- ด้านความต้องการจัดบริการด้านวิธีการจัดกิจกรรมการออกกำลังกาย
ตอนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆแบบปลายเปิด (Open - ended)
3. การตรวจสอบเครื่องมือในการวิจัย ผู้วิจัยหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา(Content validity) ของเครื่องมือโดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบแก้ไข จำนวน 3 ท่าน แล้วนำไปปรับปรุง แล้วนำแบบสอบถามไปทดลองใช้(try out) กับประชาชนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 26 คน เพื่อหาความเชื่อมั่น(reliability)ของแบบสอบถาม โดยใช้วิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา(Alpha-Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.79
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยได้ปรับปรุงแก้ไขจากแบบสอบถามที่เคยใช้ทำงานวิจัยแล้วของกิติพงษ์ขัติยะโดยมีขั้นตอนการดำเนินการดังนี้1. นำแบบสอบถามมาปรับปรุงแก้ไขโดยการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพจากเอกสารตำราและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง2. การสร้างแบบสอบถามผู้วิจัยนำข้อมูลที่ได้ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการสร้างแบบสอบถามโดยแบ่งออกเป็น 3 ตอนดังนี้ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถามลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบตรวจสอบรายการ (ตรวจสอบรายชื่อ) และแบบปลายเปิด (เปิด - สิ้นสุด)ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการจัดบริการด้านการออกกำลังกายลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบประเมินค่า (ระดับคะแนน) โดยกำหนดคำตอบไว้ 4 คำตอบแบ่งเป็น 4 ด้านดังนี้-ด้านความต้องการจัดบริการด้านกิจกรรมการออกกำลังกาย-ด้านความต้องการจัดบริการด้านสถานที่อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก-ด้านความต้องการจัดบริการด้านวันช่วงเวลาและระยะเวลาในการออกกำลังกาย-ด้านความต้องการจัดบริการด้านวิธีการจัดกิจกรรมการออกกำลังกายข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆแบบปลายเปิดตอนที่ 3 (เปิด - สิ้นสุด) 3. การตรวจสอบเครื่องมือในการวิจัยผู้วิจัยหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (เนื้อหามีผลบังคับใช้) ของเครื่องมือโดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบแก้ไขจำนวน 3 ท่านแล้วนำไปปรับปรุงแล้วนำแบบสอบถามไปทดลองใช้ (ลองออก) กับประชาชนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างจำนวน 26 คน (ความน่าเชื่อถือ) เพื่อหาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม โดยใช้วิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา(Alpha-Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.79
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยได้ปรับปรุงแก้ไขจากแบบสอบถามที่เคยใช้ทำงานวิจัยแล้วของกิติพงษ์ ขัติยะ โดยมีขั้นตอนการดำเนินการดังนี้
1. นำแบบสอบถามมาปรับปรุงแก้ไข โดยการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ จากเอกสาร ตำรา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2. การสร้างแบบสอบถาม ผู้วิจัยนำข้อมูลที่ได้ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการสร้างแบบสอบถาม โดยแบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบตรวจสอบรายการ(Check list) และแบบปลายเปิด (Open - ended)
ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการจัดบริการด้านการออกกำลังกาย ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบประเมินค่า (Rating scale) โดยกำหนดคำตอบไว้ 4 คำตอบ แบ่งเป็น 4 ด้าน ดังนี้
- ด้านความต้องการจัดบริการด้านกิจกรรมการออกกำลังกาย
- ด้านความต้องการจัดบริการด้านสถานที่ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวก
- ด้านความต้องการจัดบริการด้านวัน ช่วงเวลา และระยะเวลาในการออกกำลังกาย
- ด้านความต้องการจัดบริการด้านวิธีการจัดกิจกรรมการออกกำลังกาย
ตอนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆแบบปลายเปิด (Open - ended)
3. การตรวจสอบเครื่องมือในการวิจัย ผู้วิจัยหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา(Content validity) ของเครื่องมือโดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบแก้ไข จำนวน 3 ท่าน แล้วนำไปปรับปรุง แล้วนำแบบสอบถามไปทดลองใช้(try out) กับประชาชนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 26 คน เพื่อหาความเชื่อมั่น(reliability)ของแบบสอบถาม โดยใช้วิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา(Alpha-Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.79
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยได้ปรับปรุงแก้ไขจากแบบสอบถามที่เคยใช้ทำงานวิจัยแล้วของกิติพงษ์ขัติยะโดยมีขั้นตอนการดำเนินการดังนี้
1
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: