Medical Complications in Elderly Gravida   รศ.นพ.วิทูรย์ ประเสริฐเจริญ การแปล - Medical Complications in Elderly Gravida   รศ.นพ.วิทูรย์ ประเสริฐเจริญ ไทย วิธีการพูด

Medical Complications in Elderly Gr

Medical Complications in Elderly Gravida



รศ.นพ.วิทูรย์ ประเสริฐเจริญสุข

ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002

ในสตรีที่ตั้งครรภ์อายุมากมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนทางอายุรศาสตร์ได้บ่อยโดยเฉพาะโรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ เนื่องจากภาวะนี้สามารถก่อให้เกิดอันตรายทั้งมารดาและทารก แม้ว่าปัจจุบันจะมีการดูแลรักษาเบาหวานที่ดียิ่งขึ้นก็ตาม ความสำคัญส่วนหนึ่งอยู่ที่สตรีตั้งครรภ์ไม่ได้รับการตรวจคัดกรอง หรือตรวจวินิจฉัย ทำให้ไม่ได้รับการรักษาในระยะเริ่มแรกจึงอาจก่อให้เกิดอันตรายขึ้นได้



เบาหวานระหว่างการตั้งครรภ์ (Diabetes Mellitus During Pregnancy)

โรคเบาหวาน เป็นความผิดปกติทางเมตะบอลิซึมซึ่งมีลักษณะสำคัญ คือระดับน้ำตาลในเลือดสูง ซึ่งเป็นผลจากความบกพร่องในการหลั่งอินสุลิน หรือ การออกฤทธิ์ของอินสุลิน หรือทั้งสองอย่างร่วมกัน การเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดสูงเป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังซึ่งเป็นผลให้มีการทำลาย การเสื่อมสมรรถภาพ และการล้มเหลวในการทำงานของอวัยวะต่างๆ ที่สำคัญ ได้แก่ จอตา ไต เส้นประสาท หัวใจและหลอดเลือด

ในสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวาน มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์ ขณะเดียวกันก็เพิ่มโอกาสเสี่ยงในการตายและพิการในทารกปริกำเนิด นอกจากนั้นยังอาจส่งผลเสียไปถึงเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่อีกด้วย การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของการตั้งครรภ์ ทำให้สามารถตรวจพบโรคเบาหวานที่ไม่แสดงอาการก่อนการตั้งครรภ์ที่แฝงอยู่ได้ หรือทำให้อาการแทรกซ้อนต่างๆ ทางหลอดเลือดเพิ่มมากขึ้น



โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (Gestational diabetes mellitus)

เบาหวานขณะตั้งครรภ์ (gestational diabetes mellitus, GDM) หมายถึง ความผิดปกติในความทนต่อกลูโคสทุกระดับซึ่งเกิดขึ้นหรือวินิจฉัยได้เป็นครั้งแรกในขณะตั้งครรภ์ โดยไม่ต้องคำนึงว่าผู้ป่วยจะได้รับการรักษาโดยวิธีใด (การควบคุมอาหารหรือการฉีดอินสุลิน) และโรคเบาหวานจะหายหรือไม่หลังจากการตั้งครรภ์สิ้นสุดลง GDM มีความสำคัญทางคลินิกหลายประการ ได้แก่ เป็นภาวะที่พบบ่อยโดยมีอุบัติการณ์ประมาณร้อยละ 7 ของสตรีตั้งครรภ์ อุบัติการณ์พบได้ร้อยละ 1-14 แตกต่างในแต่ละแห่ง และทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในมารดา เช่น ความดันโลหิตสูง อัตราผ่าตัดคลอดเพิ่มขึ้น ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในทารก เช่น ภาวะทารกตัวโต เพิ่มการเจ็บป่วย และการตายทารกปริกำเนิด

ผู้ป่วยมีโอกาสเกิด GDM ซ้ำในการตั้งครรภ์ครั้งต่อๆ ไปร้อยละ 60-70 และมีอุบัติการณ์ของการเกิดความผิดปกติ ในการทนต่อกลูโคสหรือโรคเบาหวานโดยเฉพาะชนิดที่ 2 ในอนาคตสูงถึงร้อยละ 50-75 เนื่องจากผู้ป่วย GDM ส่วนใหญ่จะมีความทนต่อกลูโคสกลับเป็นปกติหลังคลอดบุตร และคำจำกัดความของ GDM ทำให้เกิดปัญหาในบางครั้งคือไม่สามารถแยกผู้ป่วยที่มีโรคเบาหวานหรือความผิดปกติในความทนต่อกลูโคสอยู่ก่อนการตั้งครรภ์ โดยมิได้รับการวินิจฉัยซึ่งไม่จัดเป็น GDM ดังนั้นสตรีที่มี GDM ทุกรายควรได้รับการประเมินซ้ำอีกครั้งหนึ่งหลังคลอดบุตรแล้วอย่างน้อย 6 สัปดาห์ เพื่อให้การวินิจฉัยว่าผู้ป่วยยังมีความผิดปกติในการควบคุมระดับกลูโคสในเลือดอยู่หรือไม่



อุบัติการณ์และความชุกของโรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์

อุบัติการณ์ของเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (GDM) ในสหรัฐอเมริกาพบถึงร้อยละ 7 ของสตรีตั้งครรภ์

ส่วนอุบัติการณ์เบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ (ตารางที่ 1 ) พบว่าอุบัติการณ์สูงขึ้นเรื่อยๆ เช่นเดียวกับทั่วโลก



ตารางที่ 1 อุบัติการณ์เบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น






ปี พ.ศ.


จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน

ระหว่างตั้งครรภ์


จำนวนผู้ป่วยคลอด

ทั้งหมด


อุบัติการณ์

ต่อจำนวนการคลอด




2544

2545

2546

2547

2548


31

25

34

37

47


3,593

3,516

2,864

2,755

2,648


0.86%

0.71%

1.19%

1.34%

1.77%





หมายเหตุ ตรวจคัดกรองเฉพาะรายที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์



การวินิจฉัยโรค (Diagnosis)

วิธีการวินิจฉัยโรคและการประเมินความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ ประกอบด้วย การซักประวัติ การตรวจร่างกายและการตรวจครรภ์ รวมทั้งการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

การซักประวัติ

การซักประวัติสตรีตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรกเกี่ยวกับความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (GDM) ที่สำคัญ ได้แก่ อายุของสตรีตั้งครรภ์ ประวัติโรคเบาหวานในครอบครัว ประวัติเคยคลอดบุตรตัวโต (น้ำหนักแรกเกิดมากกว่า 4 กิโลกรัม) ประวัติเคยคลอดบุตรที่มีความพิการแต่กำเนิดโดยไม่ทราบสาเหตุ ประวัติทารกเสียชีวิตในครรภ์โดยไม่ทราบสาเหตุ และประวัติเคยเป็นโรคเบาหวานระหว่างการตั้งครรภ์ครั้งก่อน ตามเกณฑ์ความเสี่ยงสูงต่อการเกิดเบาหวานขณะตั้งครรภ์ของโรงพยาบาลศรีนครินทร์ (ตารางที่ 2 )



ตารางที่ 2 ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (GDM)

เกณฑ์โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น*





•Age ³ 35 years
•Obesity
•Family history of DM
•Prior macrosomia
•Prior stillbirth
•Prior congenital malformation
•Prior GDM
•Hypertension
•Glucosuria





*เกณฑ์นี้ใช้ในงานอนามัยแม่และเด็กจังหวัดขอนแก่น ตั้งแต่ปี 2547



แนวทางการตรวจวินิจฉัยโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์

สตรีตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (GDM) ซึ่งประเมินจากการซักประวัติเมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก จะต้องได้รับการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดโดยมีแนวทางดังนี้

การตรวจคัดกรองโดยการใช้น้ำตาลกลูโคส 50 กรัม ( 50 g Glucose challenge test, GCT) การทดสอบนี้ใช้เป็นขั้นตอนแรกในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (ตารางที่ 3)

ข้อบ่งชี้ ที่โรงพยาบาลศรีนครินทร์ได้กำหนดในรายที่มีปัจจัยเสี่ยงให้ทำการตรวจคัดกรองเพื่อวินิจฉัยโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ 2 ครั้ง คือ ในครั้งแรกที่มาฝากครรภ์โดยตรวจระดับน้ำตาลในเลือดพร้อมกับการตรวจเลือดฝากครรภ์ และขณะอายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์

วิธีการตรวจ GCT ทำได้โดยให้สตรีตั้งครรภ์ดื่มสารละลายที่มีกลูโคส 50 กรัม (50 g 1-hour blood sugar) แล้ว หลังจากนั้น 1 ชั่วโมงให้ทำการเจาะเลือดตรวจระดับกลูโคส โดยที่สตรีตั้งครรภ์ไม่จำเป็นต้องงดอาหารก่อนรับการตรวจ

การแปลผลและแนวทางปฏิบัติ

1) ในกรณีที่ระดับกลูโคสในเลือดมีค่าน้อยกว่า 140 มก./ด
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Medical Complications in Elderly Gravida รศ.นพ.วิทูรย์ ประเสริฐเจริญสุข ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002 ในสตรีที่ตั้งครรภ์อายุมากมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนทางอายุรศาสตร์ได้บ่อยโดยเฉพาะโรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ เนื่องจากภาวะนี้สามารถก่อให้เกิดอันตรายทั้งมารดาและทารก แม้ว่าปัจจุบันจะมีการดูแลรักษาเบาหวานที่ดียิ่งขึ้นก็ตาม ความสำคัญส่วนหนึ่งอยู่ที่สตรีตั้งครรภ์ไม่ได้รับการตรวจคัดกรอง หรือตรวจวินิจฉัย ทำให้ไม่ได้รับการรักษาในระยะเริ่มแรกจึงอาจก่อให้เกิดอันตรายขึ้นได้ เบาหวานระหว่างการตั้งครรภ์ (Diabetes Mellitus During Pregnancy) โรคเบาหวาน เป็นความผิดปกติทางเมตะบอลิซึมซึ่งมีลักษณะสำคัญ คือระดับน้ำตาลในเลือดสูง ซึ่งเป็นผลจากความบกพร่องในการหลั่งอินสุลิน หรือ การออกฤทธิ์ของอินสุลิน หรือทั้งสองอย่างร่วมกัน การเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดสูงเป็นระยะเวลานาน ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังซึ่งเป็นผลให้มีการทำลาย การเสื่อมสมรรถภาพ และการล้มเหลวในการทำงานของอวัยวะต่างๆ ที่สำคัญ ได้แก่ จอตา ไต เส้นประสาท หัวใจและหลอดเลือด ในสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวาน มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์ ขณะเดียวกันก็เพิ่มโอกาสเสี่ยงในการตายและพิการในทารกปริกำเนิด นอกจากนั้นยังอาจส่งผลเสียไปถึงเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่อีกด้วย การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของการตั้งครรภ์ ทำให้สามารถตรวจพบโรคเบาหวานที่ไม่แสดงอาการก่อนการตั้งครรภ์ที่แฝงอยู่ได้ หรือทำให้อาการแทรกซ้อนต่างๆ ทางหลอดเลือดเพิ่มมากขึ้น โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (Gestational diabetes mellitus) เบาหวานขณะตั้งครรภ์ (gestational diabetes mellitus, GDM) หมายถึง ความผิดปกติในความทนต่อกลูโคสทุกระดับซึ่งเกิดขึ้นหรือวินิจฉัยได้เป็นครั้งแรกในขณะตั้งครรภ์ โดยไม่ต้องคำนึงว่าผู้ป่วยจะได้รับการรักษาโดยวิธีใด (การควบคุมอาหารหรือการฉีดอินสุลิน) และโรคเบาหวานจะหายหรือไม่หลังจากการตั้งครรภ์สิ้นสุดลง GDM มีความสำคัญทางคลินิกหลายประการ ได้แก่ เป็นภาวะที่พบบ่อยโดยมีอุบัติการณ์ประมาณร้อยละ 7 ของสตรีตั้งครรภ์ อุบัติการณ์พบได้ร้อยละ 1-14 แตกต่างในแต่ละแห่ง และทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในมารดา เช่น ความดันโลหิตสูง อัตราผ่าตัดคลอดเพิ่มขึ้น ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในทารก เช่น ภาวะทารกตัวโต เพิ่มการเจ็บป่วย และการตายทารกปริกำเนิด
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิด GDM ซ้ำในการตั้งครรภ์ครั้งต่อๆ ไปร้อยละ 60-70 และมีอุบัติการณ์ของการเกิดความผิดปกติ ในการทนต่อกลูโคสหรือโรคเบาหวานโดยเฉพาะชนิดที่ 2 ในอนาคตสูงถึงร้อยละ 50-75 เนื่องจากผู้ป่วย GDM ส่วนใหญ่จะมีความทนต่อกลูโคสกลับเป็นปกติหลังคลอดบุตร และคำจำกัดความของ GDM ทำให้เกิดปัญหาในบางครั้งคือไม่สามารถแยกผู้ป่วยที่มีโรคเบาหวานหรือความผิดปกติในความทนต่อกลูโคสอยู่ก่อนการตั้งครรภ์ โดยมิได้รับการวินิจฉัยซึ่งไม่จัดเป็น GDM ดังนั้นสตรีที่มี GDM ทุกรายควรได้รับการประเมินซ้ำอีกครั้งหนึ่งหลังคลอดบุตรแล้วอย่างน้อย 6 สัปดาห์ เพื่อให้การวินิจฉัยว่าผู้ป่วยยังมีความผิดปกติในการควบคุมระดับกลูโคสในเลือดอยู่หรือไม่



อุบัติการณ์และความชุกของโรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์

อุบัติการณ์ของเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (GDM) ในสหรัฐอเมริกาพบถึงร้อยละ 7 ของสตรีตั้งครรภ์

ส่วนอุบัติการณ์เบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ (ตารางที่ 1 ) พบว่าอุบัติการณ์สูงขึ้นเรื่อยๆ เช่นเดียวกับทั่วโลก



ตารางที่ 1 อุบัติการณ์เบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น






ปี พ.ศ.


จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน

ระหว่างตั้งครรภ์


จำนวนผู้ป่วยคลอด

ทั้งหมด


อุบัติการณ์

ต่อจำนวนการคลอด




2544

2545

2546

2547

2548


31

25

34

37

47


3,593

3,516

2,864

2,755

2,648


0.86%

0.71%

1.19%

1.34%

1.77%





หมายเหตุ ตรวจคัดกรองเฉพาะรายที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์



การวินิจฉัยโรค (Diagnosis)

วิธีการวินิจฉัยโรคและการประเมินความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ ประกอบด้วย การซักประวัติ การตรวจร่างกายและการตรวจครรภ์ รวมทั้งการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

การซักประวัติ

การซักประวัติสตรีตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรกเกี่ยวกับความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (GDM) ที่สำคัญ ได้แก่ อายุของสตรีตั้งครรภ์ ประวัติโรคเบาหวานในครอบครัว ประวัติเคยคลอดบุตรตัวโต (น้ำหนักแรกเกิดมากกว่า 4 กิโลกรัม) ประวัติเคยคลอดบุตรที่มีความพิการแต่กำเนิดโดยไม่ทราบสาเหตุ ประวัติทารกเสียชีวิตในครรภ์โดยไม่ทราบสาเหตุ และประวัติเคยเป็นโรคเบาหวานระหว่างการตั้งครรภ์ครั้งก่อน ตามเกณฑ์ความเสี่ยงสูงต่อการเกิดเบาหวานขณะตั้งครรภ์ของโรงพยาบาลศรีนครินทร์ (ตารางที่ 2 )



ตารางที่ 2 ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (GDM)

เกณฑ์โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น*





•Age ³ 35 years
•Obesity
•Family history of DM
•Prior macrosomia
•Prior stillbirth
•Prior congenital malformation
•Prior GDM
•Hypertension
•Glucosuria





*เกณฑ์นี้ใช้ในงานอนามัยแม่และเด็กจังหวัดขอนแก่น ตั้งแต่ปี 2547



แนวทางการตรวจวินิจฉัยโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์

สตรีตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (GDM) ซึ่งประเมินจากการซักประวัติเมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก จะต้องได้รับการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดโดยมีแนวทางดังนี้

การตรวจคัดกรองโดยการใช้น้ำตาลกลูโคส 50 กรัม ( 50 g Glucose challenge test, GCT) การทดสอบนี้ใช้เป็นขั้นตอนแรกในการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ (ตารางที่ 3)

ข้อบ่งชี้ ที่โรงพยาบาลศรีนครินทร์ได้กำหนดในรายที่มีปัจจัยเสี่ยงให้ทำการตรวจคัดกรองเพื่อวินิจฉัยโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ 2 ครั้ง คือ ในครั้งแรกที่มาฝากครรภ์โดยตรวจระดับน้ำตาลในเลือดพร้อมกับการตรวจเลือดฝากครรภ์ และขณะอายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์

วิธีการตรวจ GCT ทำได้โดยให้สตรีตั้งครรภ์ดื่มสารละลายที่มีกลูโคส 50 กรัม (50 g 1-hour blood sugar) แล้ว หลังจากนั้น 1 ชั่วโมงให้ทำการเจาะเลือดตรวจระดับกลูโคส โดยที่สตรีตั้งครรภ์ไม่จำเป็นต้องงดอาหารก่อนรับการตรวจ

การแปลผลและแนวทางปฏิบัติ

1) ในกรณีที่ระดับกลูโคสในเลือดมีค่าน้อยกว่า 140 มก./ด
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ภาวะแทรกซ้อนทางการแพทย์ในผู้สูงอายุ Gravida รศ. นพ. วิทูรย์ คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่นอ. เมืองจ. ขอนแก่น หรือตรวจวินิจฉัย (โรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์) โรคเบาหวาน คือระดับน้ำตาลในเลือดสูง หรือการออกฤทธิ์ของอินสุลินหรือทั้งสองอย่างร่วมกัน การเสื่อมสมรรถภาพ ที่สำคัญ ได้แก่ จอตาไตเส้นประสาท หรือทำให้อาการแทรกซ้อนต่างๆ (โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์เบาหวาน) เบาหวานขณะตั้งครรภ์ (โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ GDM) หมายถึง (การควบคุมอาหารหรือการฉีดอินสุลิน) GDM มีความสำคัญทางคลินิกหลายประการ ได้แก่ 7 ของสตรีตั้งครรภ์อุบัติการณ์พบได้ร้อยละ 1-14 แตกต่างในแต่ละแห่งและทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในมารดาเช่นความดันโลหิตสูงอัตราผ่าตัดคลอดเพิ่มขึ้นทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในทารกเช่นภาวะทารกตัวโตเพิ่มการเจ็บป่วย GDM ซ้ำในการตั้งครรภ์ครั้งต่อ ๆ ไปร้อยละ 60-70 2 ในอนาคตสูงถึงร้อยละ 50-75 เนื่องจากผู้ป่วย GDM และคำจำกัดความของ GDM GDM ดังนั้นสตรีที่มี GDM 6 สัปดาห์ (GDM) ในสหรัฐอเมริกาพบถึงร้อยละ 7 (ตารางที่ 1) พบว่าอุบัติการณ์สูงขึ้นเรื่อย ๆ เช่นเดียวกับทั่วโลกตารางที่ 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่นปี ประกอบด้วยการซักประวัติการตรวจร่างกายและการตรวจครรภ์ (GDM) ที่สำคัญ ได้แก่ อายุของสตรีตั้งครรภ์ประวัติโรคเบาหวานในครอบครัวประวัติเคยคลอดบุตรตัวโต (น้ำหนักแรกเกิดมากกว่า 4 กิโลกรัม) (ตารางที่ 2) ตารางที่ 2 (GDM) เกณฑ์โรงพยาบาลศรีนครินทร์คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น * •อายุ³ 35 ปี•โรคอ้วน•ประวัติครอบครัวของ DM •ก่อน macrosomia •ก่อน stillbirth จุก•ก่อน แต่กำเนิด•ก่อน ตั้งแต่ปี (GDM) 50 กรัม (50 กรัมกลูโคสทดสอบความท้าทาย GCT) (ตารางที่ 3) ข้อบ่งชี้ 2 ครั้งคือ และขณะอายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์วิธีการตรวจ GCT 50 กรัม (50 กรัม 1 ชั่วโมงน้ำตาลในเลือด) แล้วหลังจากนั้น 1 140 มก. / ด



































































































































































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ภาวะแทรกซ้อนทางการแพทย์ผู้สูงอายุประวัติการตั้งครรภ์



รศ . นพ . วิทูรย์ประเสริฐเจริญสุข

ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยาคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น Admiral เมืองขอนแก่น 40002

. . . .ในสตรีที่ตั้งครรภ์อายุมากมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนทางอายุรศาสตร์ได้บ่อยโดยเฉพาะโรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์เนื่องจากภาวะนี้สามารถก่อให้เกิดอันตรายทั้งมารดาและทารกความสำคัญส่วนหนึ่งอยู่ที่สตรีตั้งครรภ์ไม่ได้รับการตรวจคัดกรองหรือตรวจวินิจฉัยทำให้ไม่ได้รับการรักษาในระยะเริ่มแรกจึงอาจก่อให้เกิดอันตรายขึ้นได้



เบาหวานระหว่างการตั้งครรภ์ ( เบาหวานระหว่างการตั้งครรภ์ )

โรคเบาหวานเป็นความผิดปกติทางเมตะบอลิซึมซึ่งมีลักษณะสำคัญคือระดับน้ำตาลในเลือดสูงซึ่งเป็นผลจากความบกพร่องในการหลั่งอินสุลินค็อคการออกฤทธิ์ของอินสุลินหรือทั้งสองอย่างร่วมกันทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังซึ่งเป็นผลให้มีการทำลายการเสื่อมสมรรถภาพและการล้มเหลวในการทำงานของอวัยวะต่างๆที่สำคัญได้แก่จอตาไตเส้นประสาทหัวใจและหลอดเลือด

ในสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวานมีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์ขณะเดียวกันก็เพิ่มโอกาสเสี่ยงในการตายและพิการในทารกปริกำเนิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของการตั้งครรภ์ทำให้สามารถตรวจพบโรคเบาหวานที่ไม่แสดงอาการก่อนการตั้งครรภ์ที่แฝงอยู่ได้หรือทำให้อาการแทรกซ้อนต่างๆทางหลอดเลือดเพิ่มมากขึ้น



โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ( โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ )

เบาหวานขณะตั้งครรภ์ ( โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ,GDM ) หมายถึงความผิดปกติในความทนต่อกลูโคสทุกระดับซึ่งเกิดขึ้นหรือวินิจฉัยได้เป็นครั้งแรกในขณะตั้งครรภ์โดยไม่ต้องคำนึงว่าผู้ป่วยจะได้รับการรักษาโดยวิธีใด ( การควบคุมอาหารหรือการฉีดอินสุลิน )ภาวะมีความสำคัญทางคลินิกหลายประการได้แก่เป็นภาวะที่พบบ่อยโดยมีอุบัติการณ์ประมาณร้อยละ 7 ของสตรีตั้งครรภ์อุบัติการณ์พบได้ร้อยละ 1-14 แตกต่างในแต่ละแห่งและทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในมารดาเช่นความดันโลหิตสูงทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในทารกเช่นภาวะทารกตัวโตเพิ่มการเจ็บป่วยและการตายทารกปริกำเนิด

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: