ประวัติของเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องแรกเป็นแบบภาษาอังกฤษจดท การแปล - ประวัติของเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องแรกเป็นแบบภาษาอังกฤษจดท ไทย วิธีการพูด

ประวัติของเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องพิม

ประวัติของเครื่องพิมพ์ดีด

เครื่องพิมพ์ดีดเครื่องแรกเป็นแบบภาษาอังกฤษจดทะเบียนสิทธิบัตรเมื่อ พ.ศ.2237 ณ ประเทศอังกฤษ โดยวิศวกรชื่อเฮนรี่ มิล โดยใช้ชื่อว่า Writig Machine ต่อจากนั้นนายวิลเลี่ยม ออสตินเบิท ชาวอเมริกันได้ประดิษฐ์เครื่องเขียนหนังสือใช้ชื่อว่า Typographer มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมทำด้วยไม้ทั้งสิ้น

พ.ศ.2376 Progin ชาวฝรั่งเศส ได้ประดิษฐ์เครื่องเขียนหนังสือ สำหรับคนตาบอดเรียกว่า Ktypographic เครื่องนี้ประกอบด้วยที่รวมของแป้นอักษรเมื่อเคาะลงไปบนแป้นอักษรจะดีดก้านอักษรตีไปที่จุดศูนย์กลาง ซึ่งเป็นรูปแบบของเครื่องพิมพ์ดีดในปัจจุบัน

พ.ศ.2416 มีการผลิตเครื่องพิมพ์ดีดแบบมาตรฐานออกสู่ตลาดในสหรัฐอเมริกา มีเครื่องพิมพ์ดีดที่ประสบความสำเร็จในการจำหน่ายเพียง 4-5 ยี่ห้อ คือ รอยัล เรมิงตัน ไอบีเอ็ม สมิธโคโรน่า และอันเดอร์วูด

ส่วนในยุโรปมีนักประดิษฐ์ทำเครื่องพิมพ์ดีดออกจำหน่ายหลายยี่ห้อ เช่น ในเยอรมันนี มีโอลิมเปีย แอดเลอร์ ออบติม่า นอิตาลีมี โอลิวิตตี้ ในฮอลแลนด์มี เฮร์เมส เป็นต้น

ในประเทศไทย

นายเอดวิน แมคฟาร์แลนด์ เลขานุการส่วนพระองค์ของสมเด็จพระยาดำรงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงธรรมการเดินทางไปสหรัฐอเมริกา มีแนวความคิดที่จะดัดแปลงเครื่องพิมพ์ดีดภาษาอังกฤษเป็นเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย แต่เนื่องจากภาษาไทยมีสระและวรรณยุกต์มาก ต้องใช้เครื่องพิมพ์ดีดที่มีแป้นอักษรมากกว่าชนิดอื่น ในที่สุดก็เลือกได้ยี่ห้อ สมิทฟรีเมียร์

เมื่อ พ.ศ. 2438 นายเอดวิน แมคฟาร์แลนด์ ก็ถึงแก่กรรม แต่ในขณะที่ป่วยอยู่ได้มอบหมายให้หมอยอร์ช บี แมคฟาร์แลนด์ (พระอาจวิทยาคม) น้องชายหาวิธีแก้ไขปรับปรุง และแพร่เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยให้กว้างขวางต่อไป พระอาจวิทยาคม ได้นำเครื่องพิมพ์ดีดแสดงโชว์ไว้ที่ร้านทำฟันของท่าน มีประชาชนและข้าราชการที่ไปทำฟันได้พบเห็นและได้รับคำแนะนำจำนวนมาก ต่อมาหน่วยราชการต่าง ๆ ก็สั่งซื้อจำนวนมาก โดยท่านได้สั่งให้โรงงานสมิทฟรีเมียร์ในสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ผลิตและส่งมาถึงเมืองไทยรุ่นแรก พ.ศ. 2440

ในปี พ.ศ. 2467 พระอาจวิทยาคม ได้ปรึกษาและทำการค้นคว้ากับพนักงานบริษัท 2 คนคือ นายสวัสดิ์ มากประยูร และนายสุวรรณประเสริฐ (กิมเฮง) เกษมณี โดยนายสวัสดิ์ มากประยูร เป็นวิศวกรออกแบบประดิษฐ์ตัวอักษร นายสุวรรณประเสริฐ (กิมเฮง) เกษมณี ทำหน้าที่ฝ่ายวิชาการ ใช้เวลา 7 ปี ก็วางแป้นอักษรใหม่สำเร็จและเห็นว่าเหมาะสมที่สุด ใน พ.ศ. 2474 สามารถพิมพ์ได้ถนัดที่สุดและรวดเร็วที่สุด ให้ชื่อว่าแบบ “เกษมณี” และใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้

ต่อมาได้มีผู้วิจัยพบว่า เครื่องพิมพ์ดีดแบบเกษมณี ยังมีข้อบกพร่องและคิดวางแป้นอักษรใหม่ ใช้ชื่อว่า “ปัตตะโชติ” และสภาวิจัยแห่งชาติตรวจสอบแล้วเห็นว่าเครื่องพิมพ์ดีดแบบปัตตะโชติ สามารถพิมพ์ได้เร็วกว่าแบบเดิมประมาณ 25.8% ในระหว่างปี พ.ศ. 2508 – 2516 ทำให้วงการใช้เครื่องพิมพ์ดีดเกิดความสับสน คณะรัฐมนตรีลงมติให้หน่วยราชการที่ได้รับงบประมาณค่าเครื่องพิมพ์ดีดจัดซื้อเครื่องพิมพ์ดีดไทยแบบปัตตะโชติ หลังวันที่ 16 ตุลาคม 2516 มีการยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าวและให้มีการจัดซื้อเครื่องพิมพ์ดีดเป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้

ปัจจุบันเครื่องพิมพ์ดีดได้ถูกพัฒนาให้ก้าวหน้าด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ สามารถพิมพ์ได้เร็ว น้ำหนักเบา เพราะใช้ระบบเครื่องไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์โดยสามารถเก็บข้อมูลต่าง ๆ ที่พิมพ์ไว้ในเครื่องและสามารถสั่งให้เครื่องพิมพ์ข้อความเติมได้หลาย ๆ ฉบับ

ขนาดของตัวพิมพแบบเครื่องพิมพ์ ประเภทของเครื่องพิมพ์
ขนาดตัวพิมพที่ใช้กันอยู่โดยทั่วไปมี 3 ขนาด คือ
1. ตัวอักษรขนาดใหญ่เรียกว่า"ไปก้า"์
2. ตัวอักษรขนาดเล็กเรียกว่า"อีลีท"
3. ตัวอักษร IBMเป็นตัวอักษรขนาดเล็ก
แบบเครื่องพิมพ์
การวางแป้นอักษร เป็นสัญลักษณ์ของแบบเครื่องพิมพ์ เครตื ่องพิมพ์ดีดภาษาไทยได้มีการพัฒนา
การวางแป้นอักษรมาแล้วแบบเครื่องพิมพ์มี 2 แบบ คือ
1. แบบเกษมณี เป็นอักษรแป้นเหย้าคือ ฟ ห ก ด ่ า ส ว
2. แบบปัตตะโชติ อักษรแป้นเหย้า คือ ้ ท ง ก า น เ ไ
ประเภทของเครื่องพิมพ์ แบ่งได้ 2 ชนิด
1. เครื่องพิมพ์ดีดที่เป็นอักษรไทยล้วน
2.ท เครื่อง พิมพ์ดีดที่มีอักษรไทยและอักษรอังกฤษ
เครื่องพิมพ์ดีดเป็นอักษรไทยล้วนมี 2 แบบ
1. แบบธรรมดา
2. แบบไฟฟ้า
เครื่องพิมพ์ดีดที่มีทั้งอักษรไทยและอังกฤษอยู่ในเครื่องเดียวกันมี 2 แบบ
1. แบบกอล์ฟบอลล์
2. แบบเฟืองหมุน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติของเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องแรกเป็นแบบภาษาอังกฤษจดทะเบียนสิทธิบัตรเมื่อ พ.ศ.2237 ณ ประเทศอังกฤษ โดยวิศวกรชื่อเฮนรี่ มิล โดยใช้ชื่อว่า Writig Machine ต่อจากนั้นนายวิลเลี่ยม ออสตินเบิท ชาวอเมริกันได้ประดิษฐ์เครื่องเขียนหนังสือใช้ชื่อว่า Typographer มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมทำด้วยไม้ทั้งสิ้นพ.ศ.2376 Progin ชาวฝรั่งเศส ได้ประดิษฐ์เครื่องเขียนหนังสือ สำหรับคนตาบอดเรียกว่า Ktypographic เครื่องนี้ประกอบด้วยที่รวมของแป้นอักษรเมื่อเคาะลงไปบนแป้นอักษรจะดีดก้านอักษรตีไปที่จุดศูนย์กลาง ซึ่งเป็นรูปแบบของเครื่องพิมพ์ดีดในปัจจุบันพ.ศ.2416 มีการผลิตเครื่องพิมพ์ดีดแบบมาตรฐานออกสู่ตลาดในสหรัฐอเมริกา มีเครื่องพิมพ์ดีดที่ประสบความสำเร็จในการจำหน่ายเพียง 4-5 ยี่ห้อ คือ รอยัล เรมิงตัน ไอบีเอ็ม สมิธโคโรน่า และอันเดอร์วูดส่วนในยุโรปมีนักประดิษฐ์ทำเครื่องพิมพ์ดีดออกจำหน่ายหลายยี่ห้อ เช่น ในเยอรมันนี มีโอลิมเปีย แอดเลอร์ ออบติม่า นอิตาลีมี โอลิวิตตี้ ในฮอลแลนด์มี เฮร์เมส เป็นต้นในประเทศไทยนายเอดวิน แมคฟาร์แลนด์ เลขานุการส่วนพระองค์ของสมเด็จพระยาดำรงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงธรรมการเดินทางไปสหรัฐอเมริกา มีแนวความคิดที่จะดัดแปลงเครื่องพิมพ์ดีดภาษาอังกฤษเป็นเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย แต่เนื่องจากภาษาไทยมีสระและวรรณยุกต์มาก ต้องใช้เครื่องพิมพ์ดีดที่มีแป้นอักษรมากกว่าชนิดอื่น ในที่สุดก็เลือกได้ยี่ห้อ สมิทฟรีเมียร์เมื่อ พ.ศ. 2438 นายเอดวิน แมคฟาร์แลนด์ ก็ถึงแก่กรรม แต่ในขณะที่ป่วยอยู่ได้มอบหมายให้หมอยอร์ช บี แมคฟาร์แลนด์ (พระอาจวิทยาคม) น้องชายหาวิธีแก้ไขปรับปรุง และแพร่เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยให้กว้างขวางต่อไป พระอาจวิทยาคม ได้นำเครื่องพิมพ์ดีดแสดงโชว์ไว้ที่ร้านทำฟันของท่าน มีประชาชนและข้าราชการที่ไปทำฟันได้พบเห็นและได้รับคำแนะนำจำนวนมาก ต่อมาหน่วยราชการต่าง ๆ ก็สั่งซื้อจำนวนมาก โดยท่านได้สั่งให้โรงงานสมิทฟรีเมียร์ในสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ผลิตและส่งมาถึงเมืองไทยรุ่นแรก พ.ศ. 2440
ในปี พ.ศ. 2467 พระอาจวิทยาคม ได้ปรึกษาและทำการค้นคว้ากับพนักงานบริษัท 2 คนคือ นายสวัสดิ์ มากประยูร และนายสุวรรณประเสริฐ (กิมเฮง) เกษมณี โดยนายสวัสดิ์ มากประยูร เป็นวิศวกรออกแบบประดิษฐ์ตัวอักษร นายสุวรรณประเสริฐ (กิมเฮง) เกษมณี ทำหน้าที่ฝ่ายวิชาการ ใช้เวลา 7 ปี ก็วางแป้นอักษรใหม่สำเร็จและเห็นว่าเหมาะสมที่สุด ใน พ.ศ. 2474 สามารถพิมพ์ได้ถนัดที่สุดและรวดเร็วที่สุด ให้ชื่อว่าแบบ “เกษมณี” และใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้

ต่อมาได้มีผู้วิจัยพบว่า เครื่องพิมพ์ดีดแบบเกษมณี ยังมีข้อบกพร่องและคิดวางแป้นอักษรใหม่ ใช้ชื่อว่า “ปัตตะโชติ” และสภาวิจัยแห่งชาติตรวจสอบแล้วเห็นว่าเครื่องพิมพ์ดีดแบบปัตตะโชติ สามารถพิมพ์ได้เร็วกว่าแบบเดิมประมาณ 25.8% ในระหว่างปี พ.ศ. 2508 – 2516 ทำให้วงการใช้เครื่องพิมพ์ดีดเกิดความสับสน คณะรัฐมนตรีลงมติให้หน่วยราชการที่ได้รับงบประมาณค่าเครื่องพิมพ์ดีดจัดซื้อเครื่องพิมพ์ดีดไทยแบบปัตตะโชติ หลังวันที่ 16 ตุลาคม 2516 มีการยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าวและให้มีการจัดซื้อเครื่องพิมพ์ดีดเป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้

ปัจจุบันเครื่องพิมพ์ดีดได้ถูกพัฒนาให้ก้าวหน้าด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ สามารถพิมพ์ได้เร็ว น้ำหนักเบา เพราะใช้ระบบเครื่องไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์โดยสามารถเก็บข้อมูลต่าง ๆ ที่พิมพ์ไว้ในเครื่องและสามารถสั่งให้เครื่องพิมพ์ข้อความเติมได้หลาย ๆ ฉบับ

ขนาดของตัวพิมพแบบเครื่องพิมพ์ ประเภทของเครื่องพิมพ์
ขนาดตัวพิมพที่ใช้กันอยู่โดยทั่วไปมี 3 ขนาด คือ
1. ตัวอักษรขนาดใหญ่เรียกว่า"ไปก้า"์
2. ตัวอักษรขนาดเล็กเรียกว่า"อีลีท"
3. ตัวอักษร IBMเป็นตัวอักษรขนาดเล็ก
แบบเครื่องพิมพ์
การวางแป้นอักษร เป็นสัญลักษณ์ของแบบเครื่องพิมพ์ เครตื ่องพิมพ์ดีดภาษาไทยได้มีการพัฒนา
การวางแป้นอักษรมาแล้วแบบเครื่องพิมพ์มี 2 แบบ คือ
1. แบบเกษมณี เป็นอักษรแป้นเหย้าคือ ฟ ห ก ด ่ า ส ว
2. แบบปัตตะโชติ อักษรแป้นเหย้า คือ ้ ท ง ก า น เ ไ
ประเภทของเครื่องพิมพ์ แบ่งได้ 2 ชนิด
1. เครื่องพิมพ์ดีดที่เป็นอักษรไทยล้วน
2.ท เครื่อง พิมพ์ดีดที่มีอักษรไทยและอักษรอังกฤษ
เครื่องพิมพ์ดีดเป็นอักษรไทยล้วนมี 2 แบบ
1. แบบธรรมดา
2. แบบไฟฟ้า
เครื่องพิมพ์ดีดที่มีทั้งอักษรไทยและอังกฤษอยู่ในเครื่องเดียวกันมี 2 แบบ
1. แบบกอล์ฟบอลล์
2. แบบเฟืองหมุน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติของเครื่องพิมพ์ดีด

เครื่องพิมพ์ดีดเครื่องแรกเป็นแบบภาษาอังกฤษจดทะเบียนสิทธิบัตรเมื่อพ . ศ .2237 ณประเทศอังกฤษโดยวิศวกรชื่อเฮนรี่มิลโดยใช้ชื่อว่า writig เครื่องต่อจากนั้นนายวิลเลี่ยมออสตินเบิทชาวอเมริกันได้ประดิษฐ์เครื่องเขียนหนังสือใช้ชื่อว่าผู้เชี่ยวชาญการพิมพ์มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมทำด้วยไม้ทั้งสิ้น

พ . ศ .2376 โพรกินชาวฝรั่งเศสได้ประดิษฐ์เครื่องเขียนหนังสือสำหรับคนตาบอดเรียกว่า ktypographic เครื่องนี้ประกอบด้วยที่รวมของแป้นอักษรเมื่อเคาะลงไปบนแป้นอักษรจะดีดก้านอักษรตีไปที่จุดศูนย์กลาง
พ . ศ . 2416 มีการผลิตเครื่องพิมพ์ดีดแบบมาตรฐานออกสู่ตลาดในสหรัฐอเมริกามีเครื่องพิมพ์ดีดที่ประสบความสำเร็จในการจำหน่ายเพียง 4-5 ยี่ห้อความรอยัลเรมิงตันไอบีเอ็มสมิธโคโรน่าและอันเดอร์วูด

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: