ประวัติความเป็นมาซุ้มประตูป่าในความเชื่อของชาวล้านนาซุ้มประตูป่า มีควา การแปล - ประวัติความเป็นมาซุ้มประตูป่าในความเชื่อของชาวล้านนาซุ้มประตูป่า มีควา ไทย วิธีการพูด

ประวัติความเป็นมาซุ้มประตูป่าในความ

ประวัติความเป็นมาซุ้มประตูป่า

ในความเชื่อของชาวล้านนาซุ้มประตูป่า มีความหมาย อยู่ 2 ความหมาย
1. ความหมายแรก หมายถึง ปากทางที่จะเข้าสู่ป่า ซึ่งมักจะปรากฏอยู่เป็นเสา ตั้งอยู่ที่ชายหมู่บ้าน ขนาบทางเดินที่จะเข้าป่าซึ่งมักจะเป็นส่วนประดับอยู่ระหว่างเสาทั้งคู่ ใช้เป็นบริเวณที่ประกอบพิธีกรรมสำหรับหมู่บ้าน และยังหมายถึงบริเวณพิธีที่ประกอบพิธีกรรมในการยกทัพอีกด้วย
2. ความหมายที่สองประตูป่าในล้านนาหมายถึง บริเวณทางเข้าที่ล้อมด้วยรั้วราชวัตร ซึ่งเป็นเขตหวงห้ามที่ใช้ประกอบพิธีหรือสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ ในช่องทางนี้มักประดับไปด้วยต้นกล้วย ต้นอ้อย และใช้ทางมะพร้าวผ่าออกเป็น 2 ส่วน
เพื่อประดับที่เสาประตูด้านละส่วน แล้วโน้มปลายมาผูกติดกันเพื่อแสดงช่องทางเข้าสู่สถานที่นั้น และการประดับประดาด้วยดอกไม้ เช่นดอกดาวเรือง ดอกบานไม่รู้โรย ดอกรัก และประดับด้วยโคมไฟล้านนา การประดับประตูป่าเช่นนี้จะจัดทำขึ้นที่ ประตูบ้านในเทศกาลยี่เป็ง หรือวันเพ็ญเดือนยี่ ซึ่งตรงกับวันเพ็ญเดือน 12 หรือวันลอยกระทงในภาคกลาง
ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่า ทำเพื่อต้อนรับพระเวสสันดร เพราะชาวล้านนานิยมฟังมหาเวสสันดรชาดก และหากใครฟังครบ 13 กัณฑ์จะเป็นสิริมงคลแก่ตัวเอง และบ้านเมือง ในช่วงประเพณีเดือนยี่เป็ง ชาวล้านนานิยมที่จัดเทศนาธรรมเรื่อง เวสสันดรชาดก และในกัณฑ์ที่ 13 กัณฑ์สุดท้ายหรือนครกัณฑ์ เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเหตุการณ์หลังจากพระเวสสันดรทรงลาผนวช และทรงเครื่องกษัตริย์เสด็จกลับจากป่าหิมพานต์เพื่อเข้าครองนครสีพี ชาวบ้านชาวเมืองต่างดีใจจึงประดับตกแต่งเมืองด้วยซุ้มประตูป่าอย่างงดงาม จากเรื่องราวที่ปรากฏในเวสสันดรชาดกนี้คนล้านนาจึงจำลองฉากเวสสันดรชาดกมาไว้ยังบ้านของตนเอง ด้วยการตกแต่งประดับประดาจำลองเป็นป่าหิมมพานต์ และเชื่อว่าถ้าใครตกแต่งซุ้มประตูป่าได้งดงาม อาจทำให้พระเวสสันดรเสด็จหลงเข้ามาในซุ้มประตูป่าที่จำลองเป็นป่าหิมพานต์ภายในบ้านของของเรา จะทำให้ได้อานิสงส์อย่างมาก การสร้างซุ้มประตูป่า นอกจากมีคติความเชื่อ ในเรื่องการต้อนรับการเสด็จกลับจากป่าของพระเวสสันดรแล้ว ยังเป็นซุ้มที่ใช้จุดผางประทีส เพื่อบูชาพระเจ้าห้าพระองค์ โดยจุดไว้ในโคมหูกระต่ายหรือโคมชนิดอื่นๆ ที่ใช้ในการประดับตกแต่ง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมาซุ้มประตูป่าในความเชื่อของชาวล้านนาซุ้มประตูป่ามีความหมายอยู่ 2 ความหมาย1. ความหมายแรกหมายถึงปากทางที่จะเข้าสู่ป่าซึ่งมักจะปรากฏอยู่เป็นเสาตั้งอยู่ที่ชายหมู่บ้านขนาบทางเดินที่จะเข้าป่าซึ่งมักจะเป็นส่วนประดับอยู่ระหว่างเสาทั้งคู่ใช้เป็นบริเวณที่ประกอบพิธีกรรมสำหรับหมู่บ้านและยังหมายถึงบริเวณพิธีที่ประกอบพิธีกรรมในการยกทัพอีกด้วย2. ความหมายที่สองประตูป่าในล้านนาหมายถึงบริเวณทางเข้าที่ล้อมด้วยรั้วราชวัตรซึ่งเป็นเขตหวงห้ามที่ใช้ประกอบพิธีหรือสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ในช่องทางนี้มักประดับไปด้วยต้นกล้วยต้นอ้อยและใช้ทางมะพร้าวผ่าออกเป็น 2 ส่วนเพื่อประดับที่เสาประตูด้านละส่วนแล้วโน้มปลายมาผูกติดกันเพื่อแสดงช่องทางเข้าสู่สถานที่นั้นและการประดับประดาด้วยดอกไม้เช่นดอกดาวเรืองดอกบานไม่รู้โรยดอกรักและประดับด้วยโคมไฟล้านนาการประดับประตูป่าเช่นนี้จะจัดทำขึ้นที่ประตูบ้านในเทศกาลยี่เป็งหรือวันเพ็ญเดือนยี่ซึ่งตรงกับวันเพ็ญเดือน 12 หรือวันลอยกระทงในภาคกลางซึ่งชาวบ้านเชื่อว่า ทำเพื่อต้อนรับพระเวสสันดร เพราะชาวล้านนานิยมฟังมหาเวสสันดรชาดก และหากใครฟังครบ 13 กัณฑ์จะเป็นสิริมงคลแก่ตัวเอง และบ้านเมือง ในช่วงประเพณีเดือนยี่เป็ง ชาวล้านนานิยมที่จัดเทศนาธรรมเรื่อง เวสสันดรชาดก และในกัณฑ์ที่ 13 กัณฑ์สุดท้ายหรือนครกัณฑ์ เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเหตุการณ์หลังจากพระเวสสันดรทรงลาผนวช และทรงเครื่องกษัตริย์เสด็จกลับจากป่าหิมพานต์เพื่อเข้าครองนครสีพี ชาวบ้านชาวเมืองต่างดีใจจึงประดับตกแต่งเมืองด้วยซุ้มประตูป่าอย่างงดงาม จากเรื่องราวที่ปรากฏในเวสสันดรชาดกนี้คนล้านนาจึงจำลองฉากเวสสันดรชาดกมาไว้ยังบ้านของตนเอง ด้วยการตกแต่งประดับประดาจำลองเป็นป่าหิมมพานต์ และเชื่อว่าถ้าใครตกแต่งซุ้มประตูป่าได้งดงาม อาจทำให้พระเวสสันดรเสด็จหลงเข้ามาในซุ้มประตูป่าที่จำลองเป็นป่าหิมพานต์ภายในบ้านของของเรา จะทำให้ได้อานิสงส์อย่างมาก การสร้างซุ้มประตูป่า นอกจากมีคติความเชื่อ ในเรื่องการต้อนรับการเสด็จกลับจากป่าของพระเวสสันดรแล้ว ยังเป็นซุ้มที่ใช้จุดผางประทีส เพื่อบูชาพระเจ้าห้าพระองค์ โดยจุดไว้ในโคมหูกระต่ายหรือโคมชนิดอื่นๆ ที่ใช้ในการประดับตกแต่ง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมาซุ้มประตูป่า

ในความเชื่อของชาวล้านนาซุ้มประตูป่า มีความหมาย อยู่ 2 ความหมาย
1. ความหมายแรก หมายถึง ปากทางที่จะเข้าสู่ป่า ซึ่งมักจะปรากฏอยู่เป็นเสา ตั้งอยู่ที่ชายหมู่บ้าน ขนาบทางเดินที่จะเข้าป่าซึ่งมักจะเป็นส่วนประดับอยู่ระหว่างเสาทั้งคู่ ใช้เป็นบริเวณที่ประกอบพิธีกรรมสำหรับหมู่บ้าน และยังหมายถึงบริเวณพิธีที่ประกอบพิธีกรรมในการยกทัพอีกด้วย
2. ความหมายที่สองประตูป่าในล้านนาหมายถึง บริเวณทางเข้าที่ล้อมด้วยรั้วราชวัตร ซึ่งเป็นเขตหวงห้ามที่ใช้ประกอบพิธีหรือสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ ในช่องทางนี้มักประดับไปด้วยต้นกล้วย ต้นอ้อย และใช้ทางมะพร้าวผ่าออกเป็น 2 ส่วน
เพื่อประดับที่เสาประตูด้านละส่วน แล้วโน้มปลายมาผูกติดกันเพื่อแสดงช่องทางเข้าสู่สถานที่นั้น และการประดับประดาด้วยดอกไม้ เช่นดอกดาวเรือง ดอกบานไม่รู้โรย ดอกรัก และประดับด้วยโคมไฟล้านนา การประดับประตูป่าเช่นนี้จะจัดทำขึ้นที่ ประตูบ้านในเทศกาลยี่เป็ง หรือวันเพ็ญเดือนยี่ ซึ่งตรงกับวันเพ็ญเดือน 12 หรือวันลอยกระทงในภาคกลาง
ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่า ทำเพื่อต้อนรับพระเวสสันดร เพราะชาวล้านนานิยมฟังมหาเวสสันดรชาดก และหากใครฟังครบ 13 กัณฑ์จะเป็นสิริมงคลแก่ตัวเอง และบ้านเมือง ในช่วงประเพณีเดือนยี่เป็ง ชาวล้านนานิยมที่จัดเทศนาธรรมเรื่อง เวสสันดรชาดก และในกัณฑ์ที่ 13 กัณฑ์สุดท้ายหรือนครกัณฑ์ เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเหตุการณ์หลังจากพระเวสสันดรทรงลาผนวช และทรงเครื่องกษัตริย์เสด็จกลับจากป่าหิมพานต์เพื่อเข้าครองนครสีพี ชาวบ้านชาวเมืองต่างดีใจจึงประดับตกแต่งเมืองด้วยซุ้มประตูป่าอย่างงดงาม จากเรื่องราวที่ปรากฏในเวสสันดรชาดกนี้คนล้านนาจึงจำลองฉากเวสสันดรชาดกมาไว้ยังบ้านของตนเอง ด้วยการตกแต่งประดับประดาจำลองเป็นป่าหิมมพานต์ และเชื่อว่าถ้าใครตกแต่งซุ้มประตูป่าได้งดงาม อาจทำให้พระเวสสันดรเสด็จหลงเข้ามาในซุ้มประตูป่าที่จำลองเป็นป่าหิมพานต์ภายในบ้านของของเรา จะทำให้ได้อานิสงส์อย่างมาก การสร้างซุ้มประตูป่า นอกจากมีคติความเชื่อ ในเรื่องการต้อนรับการเสด็จกลับจากป่าของพระเวสสันดรแล้ว ยังเป็นซุ้มที่ใช้จุดผางประทีส เพื่อบูชาพระเจ้าห้าพระองค์ โดยจุดไว้ในโคมหูกระต่ายหรือโคมชนิดอื่นๆ ที่ใช้ในการประดับตกแต่ง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมาซุ้มประตูป่า

ในความเชื่อของชาวล้านนาซุ้มประตูป่ามีความหมายอยู่ 2 ความหมาย
1ความหมายแรกหมายถึงปากทางที่จะเข้าสู่ป่าซึ่งมักจะปรากฏอยู่เป็นเสาตั้งอยู่ที่ชายหมู่บ้านขนาบทางเดินที่จะเข้าป่าซึ่งมักจะเป็นส่วนประดับอยู่ระหว่างเสาทั้งคู่และยังหมายถึงบริเวณพิธีที่ประกอบพิธีกรรมในการยกทัพอีกด้วย
2 .ความหมายที่สองประตูป่าในล้านนาหมายถึงบริเวณทางเข้าที่ล้อมด้วยรั้วราชวัตรซึ่งเป็นเขตหวงห้ามที่ใช้ประกอบพิธีหรือสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ในช่องทางนี้มักประดับไปด้วยต้นกล้วยต้นอ้อยส่วน
2เพื่อประดับที่เสาประตูด้านละส่วนแล้วโน้มปลายมาผูกติดกันเพื่อแสดงช่องทางเข้าสู่สถานที่นั้นและการประดับประดาด้วยดอกไม้เช่นดอกดาวเรืองดอกบานไม่รู้โรยดอกรักและประดับด้วยโคมไฟล้านนาประตูบ้านในเทศกาลยี่เป็งหรือวันเพ็ญเดือนยี่ซึ่งตรงกับวันเพ็ญเดือน 12 หรือวันลอยกระทงในภาคกลาง
ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่าทำเพื่อต้อนรับพระเวสสันดรเพราะชาวล้านนานิยมฟังมหาเวสสันดรชาดกและหากใครฟังครบ 13 กัณฑ์จะเป็นสิริมงคลแก่ตัวเองและบ้านเมืองในช่วงประเพณีเดือนยี่เป็งชาวล้านนานิยมที่จัดเทศนาธรรมเรื่องและในกัณฑ์ที่ 13 กัณฑ์สุดท้ายหรือนครกัณฑ์เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเหตุการณ์หลังจากพระเวสสันดรทรงลาผนวชและทรงเครื่องกษัตริย์เสด็จกลับจากป่าหิมพานต์เพื่อเข้าครองนครสีพีจากเรื่องราวที่ปรากฏในเวสสันดรชาดกนี้คนล้านนาจึงจำลองฉากเวสสันดรชาดกมาไว้ยังบ้านของตนเองด้วยการตกแต่งประดับประดาจำลองเป็นป่าหิมมพานต์และเชื่อว่าถ้าใครตกแต่งซุ้มประตูป่าได้งดงามจะทำให้ได้อานิสงส์อย่างมากการสร้างซุ้มประตูป่านอกจากมีคติความเชื่อในเรื่องการต้อนรับการเสด็จกลับจากป่าของพระเวสสันดรแล้วยังเป็นซุ้มที่ใช้จุดผางประทีสเพื่อบูชาพระเจ้าห้าพระองค์ที่ใช้ในการประดับตกแต่ง
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: