Euthanasia is derived from a Greek word which means “good death”. To some, it means the idea of mercy killing. It has been commonly used in the field of medicine where a patient’s life is ended because of a serious illness or when the patient is nearly dying, hence anticipating death. In Thailand, euthanasia is not expressly allowed and Thailand is a country of morals. Neither is it expressly prohibited. However, practicing euthanasia entails different legal consequences. The legal consequences however vary depending on the type of the method use by the parties involved. Some diseases may be serious. But the lights dim may be light up.
It is generally known that Thailand is a land where Buddhism thrives and people of different religious faiths coexist peacefully even though the majority of Thai people are Buddhist. As Buddhism is very influential in Thai’ people พระพุทธเจ้าเคยกล่าวไว้ว่า คนเราหากท้อแท้แค่ไหน แต่กำลังใจจากคนรอบข้างคือสิ่งที่สำคัญที่สุด ไม่ว่าจะเป็นพ่อ แม่ พี่ชาย น้องสาว เป็นต้น ตัวอย่างเช่น เวลาเราไม่สบาย พ่อแม่คือยาที่ดีที่สุดที่ให้เราหายจากไข้หวัดได้ บางคนป่วยอาจจะเจ็บปวดกับโรคร้ายที่เขาเผชิญอยู่ แต่มันก็เป็นเพียงการเจ็บปวดแค่กาย ใจนั้นไม่ได้เจ็บปวดทรมาน นั่นเพราะว่าเขามีกำลังใจจากคนรอบข้างที่คอยดูแลและเอาใจใส่เขา ถ้าขาดกำลังใจแล้ว คงไม่มีแรงอะไรมาผลักดันให้ผู้ป่วยฟันฝ่าอุปสรรคโรคร้ายนี้ได้ บางครั้งช่วงนาทีสุดท้ายของคนก็สามารถเกิดปาฏิหาริย์ได้ทั้งนั้น แม้โอกาสตายจะมี 99% แต่ก็ยังมีอีก 1% ที่จะรอด
ในด้านนิติกรรม ผู้รู้ได้ให้ข้อเสนอว่า การการุณยฆาตนั้นเป็นการก่อให้เกิดอาชญากรรมที่แอบแฝงมาในรูปของการุณยฆาตได้ เช่น การค้าอวัยวะมนุษย์ หรือการแย่งชิงมรดกกันในครอบครัว บางคนมักใช้ช่องโหว่ของกฎหมายทำในเรื่องที่ผิดทั้งทางกฎหมายและทางศีลธรรม ซึ่งบางคนใช้ช่องโหว่ของการุณยฆาตมาทำในสิ่งที่ผิด เช่น การที่ทำให้ผู้ป่วยตายไปเพื่อที่จะไม่ต้องทรมาน แท้จริงแล้วพวกเขาบางคนเพียงต้องการนำชิ้นส่วยอวัยวะของผู้ป่วยไปขายเพื่อให้ได้เงินมาใช้ มันแสดงให้เห็นถึงการหากินบนความเจ็บปวดของผู้อื่น ในอีกกรณีหนึ่ง คือ การแย่งชิงมรดก กรณีนี้สามารถหาดูได้ง่าย ละครในปัจจุบันส่อให้เห็นถึงการแย่งชิงมรดกได้ชัด เช่น หากคุณปู่ป่วยเป็นโรคอัมพาตหรือโรคมะเร็งที่ไม่มีทางรักษาให้หาย คนในบ้านก็ต่างที่จะทำให้เขาตายเร็วขึ้นเพื่อจะได้ทรัพย์สมบัติ สะท้อนให้เห็นว่าในสังคมไทยผู้คนเลือกที่จะมองข้ามความเมตตาไปมาก แม้แต่คนสนิท พวกเขาก็เลือกที่จะทำร้ายได้
แต่หากมองในอีกแง่หนึ่งของข้อดีของการุณยฆาต การที่ปล่อยให้ผู้ป่วยทรมานนั้นก็เหมือนกับการทำบาปอย่างหนึ่งเช่นกันเพราะการปล่อยให้เจ็บปวดทำให้ผู้ป่วยทุกข์กาย ทุกข์ใจมาก บางครั้งการการุณยฆาตก็สามารถช่วยให้ผู้ป่วยที่สิ้นหวัง ควรจะให้ผู้ป่วยที่สิ้นหวังไม่สามารถรักษาได้แล้ว รอวันจบชีวิตอย่างทนทุกข์ทรมาน พ้นจากความทุกข์ทรมานได้ อีกทั้งเป็นการแบ่งเบาภาระเรื่องค่าใช้จ่าย ในการักษาพยาบาลของญาติเพราะผู้ป่วยบางคนมีฐานะลำบาก ยากจน ถ้ารักษาต่อก็ส่งผลให้มีค่าใช้จ่ายมากขึ้น อาจทำให้เกิดการกู้ยืมและเป็นหนี้ต่างๆ นอกจากนี้ผู้ป่วยบางคนถูกญาติทอดทิ้งไม่มีใครดูแล เกิดความท้อแท้ใจ ไม่มีคนรอบข้างดูแลซึ่งทำให้เป็นภาระของภาครัฐ จึงทำให้ต้องมีการการุณยฆาตเกิดขึ้น แต่ถึงอย่างนั้นการเลือกที่จะตายหรือมีชีวิตอยู่นั้นเป็นสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคลของผู้ป่วย อยู่ที่ผู้ป่วยว่าเขาอยากจะมีชีวิตอยู่ต่อหรือไม่?
ถึงอย่างไรนั้น ในประเทศไทย การการุณยฆาตก็ถือว่าเป็นการผิดทั้งทางหลักกฎหมายและทางหลักศีลธรรม คนเราย่อมมีกระบวนการสิ้นสุดของชีวิต มันเป็นเรื่องของธรรมชาติ ไม่ควรแทรกแซง การการุณยฆาตก็เหมือนการเร่งความตายอย่างหนึ่ง คนเรามักจะคิดหนีปัญหามากกว่าการเผชิญปัญหา ซึ่งมันเป็นวิธีคิดที่ผิดเพราะอาจทำให้เกิดการแทรกแซงของปัญหาอื่นได้ เช่น การอาชญากรรม เป็นต้น หากเรารู้ว่าโอกาสมีเหลือน้อยเต็มที แต่การที่เราสู้อย่างสุดความสามารถ อีกทั้งกำลังใจจากคนรอบข้างที่คอยช่วยเหลืออย่างสม่ำเสมอ ก็อาจจะส่งผลให้เรารอดหรืออยู่ต่อได้นานขึ้น แต่ถึงแม้ต้องตายก็คงจะตายอย่างมีความสุข อย่าลืมไปว่าปาฏิหาริย์มีจริงเสมอ