นายลีกวนยู “ลี กวน ยู” (Lee Kuan Yew) ถูกบันทึกในหน้าประวัติศาสตร์ว่า  การแปล - นายลีกวนยู “ลี กวน ยู” (Lee Kuan Yew) ถูกบันทึกในหน้าประวัติศาสตร์ว่า  ไทย วิธีการพูด

นายลีกวนยู “ลี กวน ยู” (Lee Kuan Ye

นายลีกวนยู
“ลี กวน ยู” (Lee Kuan Yew) ถูกบันทึกในหน้าประวัติศาสตร์ว่า เขาคือผู้กุมอำนาจบริหารของ สิงคโปร์มายาวนายถึง 31 ปี ชาวสิงคโปร์ไม่เคยลืมว่า อดีตผู้นำประเทศผู้นี้คือผู้นำพาให้สิงคโปร์ก้าวล้ำ พัฒนาประเทศอย่างก้าวกระโดดที่มีความร่ำรวยมากที่สุดอีกแห่งหนึ่งของโลกในยุคที่ลีกวนยูบริหาร ประเทศภายใต้ตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แม้จะเคยมีคนตราหน้าว่าเขาคือนักเผด็จการตัวจริงใน ระบอบประชาธิปไตยก็ตาม
ลีกวนยูมีเชื้อสายจีนแคะที่บรรพบุรุษอพยพมาจากมณฑลฮกเกี้ยนใน จีน แผ่นดินใหญ่ เขาเกิดในสิงคโปร์เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2466 ในยุคที่สิงคโปร์เป็นหนึ่งในประเทศอาณานิคม ของอังกฤษ และได้เข้าศึกษาที่ “Raffles College” ซึ่งเป็นวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงที่สุดใน “บริติส มาลายา” ของสิงคโปร์ ทำให้เขาได้รับการปลูกฝังและมีแนวความคิดตามแบบชาวตะวันกตมาตั้งแต่เด็ก
การเข้าศึกษาในวิทยาลัยแห่งนี้ทำให้ลีกวนยูได้เป็นเพื่อร่วมรุ่นกับ “ตนกู อับดุล รามาน” ซึ่งเคย ตำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของประเทศมาเลเซียในยุคก่อนหน้าที่ “ดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด” จะขึ้น กุมอำนาจยาวนายในมาเลเซีย
แต่แล้วชีวิตการศึกษาของลีกวนยูในวัย 19 ปีก็หยุดชะงักลงด้วยพิษสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อ ญี่ปุ่นประกาศสงครามกับอังกฤษและเข้ารุกรานเพื่อยึดครองสิงคโปร์ซึ่งเป็นหนึ่งในประเทศอาณานิคมของอังกฤษเวลานั้น การที่ได้เห็นกองทัพญี่ปุ่นแข็งแกร่งและมีชัยชนะเหนืออังกฤษทำให้ลีกวนยู จุดประกายความคิดขึ้นว่า แท้จริงแล้วคนเอเชียก็ไม่ได้ด้อยไปกว่าฝรั่งผิวขาวตาน้ำข้าวจาก ซีกโลกตะวันตกเลย เขาเปลี่ยนทัศนคติจากเดิมจากที่เคยคิดว่าคนเอเชียด้วยกว่าจนถูกล่าอาณานิคม เป็นว่าเล่น เหตุการณ์ครั้งนั้นเป็นอีกหนึ่งในจังหวะชีวิตของลีกวนยูเพราะเขาเริ่มหันมาสนใจงานด้าน การเมืองและเริ่มมีแนวคิดที่จะต่อสู้เพื่ออิสรภาพ จนเมื่อสงครามจบลงลีกวนยูจึงได้เดินทางไปศึกษา ด้านกฏหมายที่ “มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์” ในประเทศอังกฤษ และได้พบกับ “กว่าก๊อกชู” ซึ่งเดินทาง มาเรียนกฎหมายที่มหาวิทยาลัยแห่งนี้เช่นกันก่อนจะแต่งงานกันในเวลาต่อมา
ความคิดเรื่องการต่อสู้เพื่ออิสระภาพของลีกวนยูคุกรุ่นขึ้นเมื่อ “ชาวมาลายัน” ส่วนใหญ่เริ่มตีแผ่ ถึงความไม่พอใจในการปกครองประเทศอาณานิคมของอังกฤษ เขาจึงตัดสินใจเข้าร่วมใน Malayans Forum เพื่อมีบทบาทในการตอบโต้กับประเทศอังกฤษเพ่อการเป็นอิสระจากอาณานิคมครั้งนี้
ลีกวนยูกลับมายังสิงคโปร์ในปี พ.ศ. 2493 และตัดสินใจตั้ง “พรรคกิจประชาชน” ในปี พ.ศ. 2497 โดยชนะการเลือกตั้งครั้งแรกในปี พ.ศ. 2498 ก่อนที่จะได้รับเลือกตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีของ สิงคโปร์ในปี พ.ศ. 2502 ขณะนั้นเขามีอายุเพียง 36 ปีเท่านั้น หลังจากมาเลเซียได้อิสรภาพจากการเป็น อาณานิคมของอังกฤษในปี พ.ศ. 2504 ลีกวนยูจึงหันมาเจรจากับเพื่อนเก่าในวัยเรียนอย่าง ตนกู อับตุล รามาน เพื่อต้องการอิสรภาพนี้เช่นเดียวกัน โดยมีแนวความคิดร่วมกันว่าจะรวมสิงคโปร์เข้ากับมาเลเซีย ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพราะเล็งเห็นว่าสิงคโปร์นั้นไม่มีทรัพยากรธรรมชาติที่จะเกื้อหนุนให้เกิด การพัฒนาตนเองไปสู่การเป็นประเทศที่พร้อมสมบูรณ์ในทุก ๆ ด้านได้ แนวความคิดนี้สำเร็จในปี พ.ศ. 2505 แต่แล้ว 2 ปีให้หลังก็ถูกต่อต้านจากชาวมาเลเซียที่ไม่ต้องการให้ชาวสิงคโปร์ซึ่งมีวัฒนธรรมที่ แตกต่างจากมาเลเซียนั้นเข้ามาอยู่ร่วมกับพวกตน ในขณะที่ชาวสิงคโปร์ก็ไม่ได้ชอบใจนักกับ การถูกเหยียดชนชั้นจึงกลายเป็นการจลาจลครั้งใหญ่ ในที่สุดลีกวนยูก็ตัดสินใจนำสิงคโปร์แยก ออกจากมาเลเซีย และตัดสินใจประกาศอิสรภาพไม่ตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษอีกต่อไปตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2508 เป็นต้นมา
แม้ในช่วงแรกของการบริหารประเทศภายใต้พรรคกิจประชาชนจะไม่ราบรื่นนักและมีแนวโน้มจะถูกพรรคฝ่ายตรงข้ามโค่นล้มอำนาจ แต่ลีกวนยูก็ยังสามารถพัฒนาและนำพาสิงคโปร์ให้ไต่อันดับ ความน่าเชื่อถือในทุก ๆ ด้านบนเวทีโลกได้สำเร็จ โดยเฉพาะในด้านเศรษฐกิจเขาสร้างความมั่งคั่งให้ ชาติและสร้างชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นให้กับประชากรชาวสิงคโปร์จนในที่สุดสิงคโปร์ก็ได้เทียบชั้น แตะระดับการเป็นหนึ่งในประเทศที่ร่ำรวยที่สุดในโลกได้สำเร็จ
ผลงานทั้งหลายรวมถึงนโยบายการบริหารประเทศของลีกวนยูทำให้เขาได้รับความเชื่อมั่นจากประชาชนให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรียาวนายสืบมา แม้จะมีบางเสียงกล่าวว่าการบริหารของเขา คล้ายระบอบเผด็ดการที่รัฐบาลมักจัดสรรทุกสิ่งทุกอย่างแบบเบ็ดเสร็จ อีกทั้งยังออกกฎหมายที่ เข้มงวดในการปกครองและดูแลประชาชนจนเป็นที่โจษจันไปทั่วโลกถึงความเด็ดขาดของกฎหมายในสิงคโปร์ ตั้งแต่เรื่องที่ดูเหมือนเล็กน้อยอย่างการมักง่ายทิ้งขยะเลอะเทอะก็จะถูกรัฐปรับเป็นจำนวนเงิน ที่สูงมาก ไปจนถึงเรื่องใหญ่อย่างการข้องเกี่ยวกับยาเสพติดที่ระบุโทษแขวนคอโดยไม่ต้องอุทรใด ๆ ทั้งสิ้น เช่นเดียวกับบทลงโทษของผู้ที่คดโกงและคอรัปชั่นเงินแผ่นดินก็จะถูกลากไปแขวนคอเช่นกัน
ทุกวันนี้สิงคโปร์ประสบความสำเร็จในการเป็นประเทศเล็ก ๆ ที่สร้างความน่าเชื่อถือให้กับ นานาชาติ กลายเป็นศูนย์กลางธุรกิจ ศูนย์กลางการเงินการธนาคารโลก เมืองท่าและศูนย์การพาณิชย์ ตลาดหุ้น ศูนย์การแห่งการท่องเที่ยวที่ทันสมัยในภาคพื้นเอเชีย ทั้ง ๆ ที่สิงคโปร์ไม่มีทรัพยากร ธรรมชาติใด ๆ ในกำมือเลย
จึงถือได้ว่าลีกวนยูมีความเฉียบคมในการบริหารประเทศเขาวางกลยุทธ์การศึกษาให้กับเยาวชน โดยเฉพาะที่เห็นชัดเจนคือด้านภาษา ที่ส่งเสริมทั้งภาษาจีนกลาง ภาษาอังกฤษ และภาษาอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นประเทศที่มีความเกี่ยวข้องกับสิงคโปร์ในแง่การค้าการลงทุน ที่สำคัญคือเทคโนโลยีล้ำยุคจาก ฟากฝั่งยุโรปและอเมริกาก็ได้รับการเผยแพร่ในสิงคโปร์ จนประชากรมีความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีกัน อย่างคุ้นเคย รวมทั้งยังไม่ลืมส่งเสริมความรู้ด้านวัฒนธรรมของรากเหง้าแห่งชนชาติบรรพบุรุษ ทั้งหมดนี้ทำให้สิงคโปร์ที่เดิมเคยเป็นประเทศที่ไม่มีอะไรเลย กลายเป็นมาเป็นหนึ่งในประเทศแถวหน้า ของโลก และแข็งแกร่งเป็นหนึ่งในประเทศกลุ่มเอเชียที่ได้รับการยอมรับของชาวโลกมาจนถึงทุกวันนี้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
นายลีกวนยู
"ลีกวนยู" (ต้นยู lee kuan) ถูกบันทึกในหน้าประวัติศาสตร์ว่าเขาคือผู้กุมอำนาจบริหารของสิงคโปร์มายาวนายถึง 31 ปีชาวสิงคโปร์ไม่เคยลืมว่าประเทศภายใต้ตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ระบอบประชาธิปไตยก็ตาม
จีนแผ่นดินใหญ่เขาเกิดในสิงคโปร์เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ.2466 ของอังกฤษและได้เข้าศึกษาที่ "วิทยาลัยราฟเฟิล" "บริติสมาลายา" ของสิงคโปร์"ตนกูอับดุลรามาน" ซึ่งเคย "ดรมหาเธร์โมฮัมหมัด "จะขึ้นกุมอำนาจยาวนายในมาเลเซีย
19 2 เมื่อจุดประกายความคิดขึ้นว่า ซีกโลกตะวันตกเลย เป็นว่าเล่น"มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์" ในประเทศอังกฤษและได้พบ "กว่าก๊อกชู" กับซึ​​่งเดินทางด้านกฏหมายที่"ชาวมาลายัน" ส่วนใหญ่เริ่มตีแผ่ เขาจึงตัดสินใจเข้าร่วมในฟอรั่มในมลายูลีกวนยูกลับมายังสิงคโปร์ในปี พ.ศ. 2493 และตัดสินใจตั้ง "พรรคกิจประชาชน" ในปี พ.ศ. 2497 โดยชนะการเลือกตั้งครั้งแรกในปี พ.ศ. 2498 สิงคโปร์ในปี พ.ศ.2502 ขณะนั้นเขามีอายุเพียง 36 ปีเท่านั้น อาณานิคมของอังกฤษในปี พ.ศ.2504 ตนกูอับตุลรามาน ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันๆ ด้านได้แนวความคิดนี้สำเร็จในปีพศ2505 แต่แล้ว 2ออกจากมาเลเซีย 9 สิงหาคมพศ 2508 เป็นต้นมา
ความน่าเชื่อถือในทุก ๆอีกทั้งยังออกกฎหมายที่ที่สูงมาก ๆ ทั้งสิ้นๆ ที่สร้างความน่าเชื่อถือให้กับนานาชาติกลายเป็นศูนย์กลางธุรกิจศูนย์กลางการเงินการธนาคารโลกเมืองท่าและศูนย์การพาณิชย์ตลาดหุ้นทั้ง ๆ ที่สิงคโปร์ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติใด ๆ ในกำมือเลย
โดยเฉพาะที่เห็นชัดเจนคือด้านภาษาที่ส่งเสริมทั้งภาษาจีนกลางภาษาอังกฤษและภาษาอินโดนีเซียที่สำคัญคือเทคโนโลยีล้ำยุคจาก อย่างคุ้นเคยของโลก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
นายลีกวนยู
"ลีกวนยู" (ลีควนโฮบาร์ต) ถูกบันทึกในหน้าประวัติศาสตร์ว่าเขาคือผู้กุมอำนาจบริหารของสิงคโปร์มายาวนายถึง 31 ปีชาวสิงคโปร์ไม่เคยลืมว่าอดีตผู้นำประเทศผู้นี้คือผู้นำพาให้สิงคโปร์ก้าวล้ำ ประเทศภายใต้ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแม้จะเคยมีคนตราหน้าว่าเขาคือนักเผด็จการตัวจริงในระบอบประชาธิปไตยก็ตาม
ลีกวนยูมีเชื้อสายจีนแคะที่บรรพบุรุษอพยพมาจากมณฑลฮกเกี้ยนในจีนแผ่นดินใหญ่เขาเกิดในสิงคโปร์เมื่อวันที่ 16 กันยายนพ.ศ 2466 ในยุคที่สิงคโปร์เป็นหนึ่งในประเทศอาณานิคมของอังกฤษและได้เข้าศึกษาที่ "แรฟเฟิลส์วิทยาลัย" ซึ่งเป็นวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงที่สุดใน "บริติสมาลายา" ของสิงคโปร์ การเข้าศึกษาในวิทยาลัยแห่งนี้ทำให้ลีกวนยูได้เป็นเพื่อร่วมรุ่นกับ "ตนกูอับดุลรามาน" ซึ่งเคยตำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของประเทศมาเลเซียในยุคก่อนหน้าที่ "ดร มหาเธร์โมฮัมหมัด"จะขึ้นกุมอำนาจยาวนายในมาเลเซีย
แต่แล้วชีวิตการศึกษาของลีกวนยูในวัย 19 ปีก็หยุดชะงักลงด้วยพิษสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อญี่ปุ่นประกาศสงครามกับอังกฤษและเข้ารุกรานเพื่อยึดครองสิงคโปร์ซึ่งเป็นหนึ่งในประเทศอาณานิคมของอังกฤษเวลานั้น จุดประกายความคิดขึ้นว่าแท้จริงแล้วคนเอเชียก็ไม่ได้ด้อยไปกว่าฝรั่งผิวขาวตาน้ำข้าวจากซีกโลกตะวันตกเลยเขาเปลี่ยนทัศนคติจากเดิมจากที่เคยคิดว่าคนเอเชียด้วยกว่าจนถูกล่าอาณานิคมเป็นว่าเล่น การเมืองและเริ่มมีแนวคิดที่จะต่อสู้เพื่ออิสรภาพจนเมื่อสงครามจบลงลีกวนยูจึงได้เดินทางไปศึกษาด้านกฏหมายที่ "มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์" ในประเทศอังกฤษและได้พบกับ "กว่าก๊อกชู" ซึ่งเดินทาง ความคิดเรื่องการต่อสู้เพื่ออิสระภาพของลีกวนยูคุกรุ่นขึ้นเมื่อ "ชาวมาลายัน" ส่วนใหญ่เริ่มตีแผ่ถึงความไม่พอใจในการปกครองประเทศอาณานิคมของอังกฤษเขาจึงตัดสินใจเข้าร่วมใน Malayans เวที ลีกวนยูกลับมายังสิงคโปร์ในปีพ.ศ. 2493 และตัดสินใจตั้ง "พรรคกิจประชาชน" ในปีพ.ศ. 2497 โดยชนะการเลือกตั้งครั้งแรกในปีพ.ศ. 2498 ก่อนที่จะได้รับเลือกตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีของสิงคโปร์ในปีพ.ศ ปี 2502 ขณะนั้นเขามีอายุเพียง 36 ปีเท่านั้นหลังจากมาเลเซียได้อิสรภาพจากการเป็นอาณานิคมของอังกฤษในปีพ.ศ 2504 ลีกวนยูจึงหันมาเจรจากับเพื่อนเก่าในวัยเรียนอย่างตนกูอับตุลรามานเพื่อต้องการอิสรภาพนี้เช่นเดียวกันโดยมีแนวความคิดร่วมกันว่าจะรวมสิงคโปร์เข้ากับมาเลเซียให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน การพัฒนาตนเองไปสู่การเป็นประเทศที่พร้อมสมบูรณ์ในทุกๆ ด้านได้แนวความคิดนี้สำเร็จในปีพศ 2505 แต่แล้ว 2 ปีให้หลังก็ถูกต่อต้านจากชาวมาเลเซียที่ไม่ต้องการให้ชาวสิงคโปร์ซึ่งมีวัฒนธรรมที่แตกต่างจากมาเลเซียนั้นเข้ามาอยู่ร่วมกับพวกตนในขณะที่ชาวสิงคโปร์ก็ไม่ได้ชอบใจนักกับ ในที่สุดลีกวนยูก็ตัดสินใจนำสิงคโปร์แยกออกจากมาเลเซียและตัดสินใจประกาศอิสรภาพไม่ตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษอีกต่อไปตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคมพศ. 2508 เป็นต้นมา
แม้ในช่วงแรกของการบริหารประเทศภายใต้พรรคกิจประชาชนจะไม่ราบรื่นนักและมีแนวโน้มจะถูกพรรคฝ่ายตรงข้ามโค่นล้มอำนาจแต่ลีกวนยูก็ยังสามารถพัฒนาและนำพาสิงคโปร์ให้ไต่อันดับความน่าเชื่อถือในทุกๆ โดยเฉพาะในด้านเศรษฐกิจเขาสร้างความมั่งคั่งให้ชาติและสร้างชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นให้กับประชากรชาวสิงคโปร์จนในที่สุดสิงคโปร์ก็ได้เทียบชั้นแตะระดับการเป็นหนึ่งในประเทศที่ร่ำรวยที่สุดในโลกได้สำเร็จ
ผลงานทั้งหลายรวมถึงนโยบายการบริหารประเทศของลีกวนยูทำให้เขาได้รับความเชื่อมั่นจากประชาชนให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรียาวนายสืบมาแม้จะมีบางเสียงกล่าวว่าการบริหารของเขา อีกทั้งยังออกกฎหมายที่เข้มงวดในการปกครองและดูแลประชาชนจนเป็นที่โจษจันไปทั่วโลกถึงความเด็ดขาดของกฎหมายในสิงคโปร์ ๆ ที่สูงมากไปจนถึงเรื่องใหญ่อย่างการข้องเกี่ยวกับยาเสพติดที่ระบุโทษแขวนคอโดยไม่ต้องอุทรใดทั้งสิ้นเช่นเดียวกับบทลงโทษของผู้ที่คดโกงและคอรัปชั่นเงินแผ่นดินก็จะถูกลากไปแขวนคอเช่นกัน
ทุกวันนี้สิงคโปร์ประสบความสำเร็จในการเป็นประเทศเล็กๆ ที่สร้างความน่าเชื่อถือให้กับนานาชาติกลายเป็นศูนย์กลางธุรกิจศูนย์กลางการเงินการธนาคารโลกเมืองท่าและศูนย์การพาณิชย์ตลาดหุ้น ทั้งๆ ที่สิงคโปร์ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติใดๆ ในกำมือเลย
จึงถือได้ว่าลีกวนยูมีความเฉียบคมในการบริหารประเทศเขาวางกลยุทธ์การศึกษาให้กับเยาวชนโดยเฉพาะที่เห็นชัดเจนคือด้านภาษาที่ส่งเสริมทั้งภาษาจีนกลางภาษาอังกฤษและภาษาอินโดนีเซีย ที่สำคัญคือเทคโนโลยีล้ำยุคจากฟากฝั่งยุโรปและอเมริกาก็ได้รับการเผยแพร่ในสิงคโปร์จนประชากรมีความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีกันอย่างคุ้นเคย ทั้งหมดนี้ทำให้สิงคโปร์ที่เดิมเคยเป็นประเทศที่ไม่มีอะไรเลยกลายเป็นมาเป็นหนึ่งในประเทศแถวหน้าของโลกและแข็งแกร่งเป็นหนึ่งในประเทศกลุ่มเอเชียที่ได้รับการยอมรับของชาวโลกมาจนถึงทุกวันนี้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
นายลีกวนยู
ตามมาตรฐาน"ลีกวนยู"( Lee กวนต้นยู)ถูกบันทึกในหน้าประวัติศาสตร์ว่าเขาคือผู้กุมอำนาจบริหารของสิงคโปร์มายาวนายถึง 31 ปีชาวสิงคโปร์ไม่เคยลืมว่าอดีตผู้นำประเทศผู้นี้คือผู้นำพาให้สิงคโปร์ประเทศภายใต้ตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แม้จะเคยมีคนตราหน้าว่าเขาคือนักเผด็จการตัวระบอบประชาธิปไตยก็ตาม
ตามมาตรฐานลีกวนยูมีเชื้อสายจีนแคะที่บรรพบุรุษอพยพมาจจีนแผ่นดินใหญ่เขาเกิดในสิงคโปร์เมื่อวันที่ 16 กันยายนพ.ศ.2466 กล่าวในยุคที่สิงคโปร์เป็นหนึ่งในประเทศอาณานิคมของอังกฤษและได้เข้าศึกษาที่" Raffles วิทยาลัย"ซึ่งเป็นวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงที่สุดใน"บริติสมาลายา"ของสิงคโปร์การเข้าศึกษาในวิทยาลัยแห่งนี้ทำให้ลีกวนยูไ"ตนกูอับดุลรามาน"ซึ่งเคยตำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของประเทศมาเลเซียใน"ดร.มหาเธร์โมฮัมหมัด"จะขึ้นกุมอำนาจยาวนายในมาเลเซีย
ตามมาตรฐานแต่แล้วชีวิตการศึกษาของลีกวนยูในวัย 19 ปีก็หยุดชะงักลงด้วยพิษสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อญี่ปุ่นประกาศสงครามกับอังกฤษและเข้ารุกรานเจุดประกายความคิดขึ้นว่าแท้จริงแล้วคนเอเชียก็ไม่ได้ด้อยไปกว่าฝรั่งซีกโลกตะวันตกเลยเขาเปลี่ยนทัศนคติจากเดิมจากที่เคยคิดว่าคนเเป็นว่าเล่นการเมืองและเริ่มมีแนวคิดที่จะต่อสู้เพื่ออิจนเมื่อสงครามจบลงลีกวนยูจึงได้เดินทางไปศึกด้านกฏหมายที่"มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์"ในประเทศอังกฤษและได้พบกับ"กว่าก๊อกชู"ซึ่งเดินทางความคิดเรื่องการต่อสู้เพื่ออิสระภาพของลีกว "ชาวมาลายัน"ส่วนใหญ่เริ่มตีแผ่ถึงความไม่พอใจในการปกครองประเทศอาณานิคมของเขาจึงตัดสินใจเข้าร่วมในใช้ Forumลีกวนยูกลับมายังสิงคโปร์ในปีพ.ศ. .2493 และตัดสินใจตั้ง"พรรคกิจประชาชน"ในปีพ.ศ. .2497 โดยชนะการเลือกตั้งครั้งแรกในปีพ.ศ. .2498 ก่อนที่จะได้รับเลือกตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรสิงคโปร์ในปีพ.ศ.2502 ขณะนั้นเขามีอายุเพียง 36 ปีเท่านั้น หลังจากมาเลเซียได้อิสรภาพจากการเป็น อาณานิคมของอังกฤษในปีพ.ศ..2504 ลีกวนยูจึงหันมาเจรจากับเพื่อนเก่าในวัยเรียตนกูอับตุลรามาน เพื่อต้องการอิสรภาพนี้เช่นเดียวกัน โดยมีแนวความคิดร่วมกันว่าจะรวมสิงคโปร์เข้าให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันการพัฒนาตนเองไปสู่การเป็นประเทศที่พร้อมสมบๆด้านได้แนวความคิดนี้สำเร็จในปีพ.ศ.2505 แต่แล้ว 2 ปีให้หลังก็ถูกต่อต้านจากชาวมาเลเซียที่ไม่ตแตกต่างจากมาเลเซียนั้นเข้ามาอยู่ร่วมกับพวกในขณะที่ชาวสิงคโปร์ก็ไม่ได้ชอบใจนักกับในที่สุดลีกวนยูก็ตัดสินใจนำสิงคโปร์แยกออกจากมาเลเซีย และตัดสินใจประกาศอิสรภาพไม่ตกเป็นอาณานิคมข 9 สิงหาคมพ.ศ. .2508 เป็นต้นมา
ตามมาตรฐานแม้ในช่วงแรกของการบริหารประเทศภายใต้พรรคกิ แต่ลีกวนยูก็ยังสามารถพัฒนาและนำพาสิงคโปร์ใความน่าเชื่อถือในทุกๆโดยเฉพาะในด้านเศรษฐกิจเขาสร้างความมั่งคั่งชาติและสร้างชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นให้กแตะระดับการเป็นหนึ่งในประเทศที่ร่ำรวยที่สุผลงานทั้งหลายรวมถึงนโยบายการบริหารประเทศขอแม้จะมีบางเสียงกล่าวว่าการบริหารของเขาอีกทั้งยังออกกฎหมายที่เข้มงวดในการปกครองและดูแลประชาชนจนเป็นที่โที่สูงมากไปจนถึงเรื่องใหญ่อย่างการข้องเกี่ยวกับยาเสเช่นเดียวกับบทลงโทษของผู้ที่คดโกงและคอรัปชๆทั้งสิ้นทุกวันนี้สิงคโปร์ประสบความสำเร็จในการเป็นปๆที่สร้างความน่าเชื่อถือให้กับนานาชาติกลายเป็นศูนย์กลางธุรกิจศูนย์กลางการเงินการธนาคารโลกเมืองท่าและศูนย์การพาณิชย์ตลาดหุ้นทั้งๆที่สิงคโปร์ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติใดๆในกำมือเลย
ตามมาตรฐานจึงถือได้ว่าลีกวนยูมีความเฉียบคมในการบริหา โดยเฉพาะที่เห็นชัดเจนคือด้านภาษา ที่ส่งเสริมทั้งภาษาจีนกลาง และภาษาอินโดนีเซีย ภาษาอังกฤษที่สำคัญคือเทคโนโลยีล้ำยุคจากฟากฝั่งยุโรปและอเมริกาก็ได้รับการเผยแพร่ในจนประชากรมีความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีกันอย่างคุ้นเคยทั้งหมดนี้ทำให้สิงคโปร์ที่เดิมเคยเป็นประเทกลายเป็นมาเป็นหนึ่งในประเทศแถวหน้าของโลกและแข็งแกร่งเป็นหนึ่งในประเทศกลุ่มเอเชียที
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: