แผนกบริการอาหารและเครื่องดื่ม ( Food and Beverage Service) พนักงานแผนก การแปล - แผนกบริการอาหารและเครื่องดื่ม ( Food and Beverage Service) พนักงานแผนก ไทย วิธีการพูด

แผนกบริการอาหารและเครื่องดื่ม ( Foo

แผนกบริการอาหารและเครื่องดื่ม ( Food and Beverage Service)

พนักงานแผนกบริการอาหารและเครื่องดื่มจะแตกต่างจากพนักงานแผนกครัวอยู่อย่างหนึ่ง คือ แผนกบริการมีโอกาสติดต่อกับแขกโดยตรงในขณะที่แผนกครัวส่วนใหญ่จะไม่มีโอกาสเลย การบริการหรือวิธีเสิร์ฟมีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ารสชาติหรือคุณภาพของอาหารทีเดียว และมีบางคนถึงกับคิดว่าค่าบริการนั้นสำคัญยิ่งกว่าตัวอาหารเสียอีก แต่ถึงอย่างไร ทั้งสองอย่างก็ต้องดีควบคู่กันไป คืออาหารก็ต้องอร่อย บริการก็ต้องดีด้วย ห้องอาหารนั้นจึงจะเป็นที่พอใจของแขก

พนักงานที่มีความสุภาพ เป็นกันเอง และหน้าตายิ้มแย้มเป็นนิตย์ ถือได้ว่าเป็นทรัพย์สินที่มีค่ามากที่สุดของห้องอาหารทีเดียว



พนักงานเสิร์ฟ (ชาย Waiter/หญิง/Waitress)

พนักงานเสิร์ฟที่ดีจำเป็นต้องมีทักษะจำเพาะหรือความชำนาญในงานที่ทำอยู่บ้าง ตัวอย่าง เช่น การตักอาหารให้แขกโดยตักจากชามใหญ่และหนักโดยใช้ช้อนส้อม และการถือจาน 3-4 ใบที่มีอาหารอยู่ด้วยโดยไม่ให้อาหารหก เป็นต้น

นอกจากนี้ พนักงานเสิร์ฟยังต้องมีทักษะในการติดต่อกับคน เพราะต้องพูดจาติดต่อกับแขกที่มาใช้บริการของห้องอาหาร กล่าวกันว่า พนักงานเสิร์ฟทั้งหลายเปรียบเหมือนเป็น “กองกำลังหรือหน่วยขายอาหาร” ( Salesforce of food) ทีเดียว เนื่องจากมีหน้าที่แนะนำหรือขายสินค้าอันได้แก่อาหารที่แผนกครัวทำขึ้นมาแก่ลูกค้า พนักงานเสิร์ฟจะชนะใจลูกค้าได้ด้วยการรู้จักกาละเทศะ มีเสน่ห์น่าพูดคุยด้วย ทำงานคล่องแคล่ว และรอบรู้ในงานที่ตัวเองทำอยู่ (คือสามารถให้คำแนะนำแก่ลูกค้าว่าควรเลือกสั่งอาหารอะไร และยังสามารถอธิบายให้ลูกค้าฟังว่าอาหารจานนั้นมีวิธีปรุงอย่างไรด้วย) พนักงานเสิร์ฟจะต้องพร้อมที่จะให้บริการเมื่อแขกต้องการ และถอยห่างออกมายืนอยู่เงียบ ๆ ในขณะที่ลูกค้าไม่ต้องการบริการอะไร

การบริหารที่ดียังหมายรวมถึงจังหวะที่เหมาะสมในการให้บริการด้วย เช่น เมื่อแขกต้องการอะไรก็รีบสนองตอบอย่างรวดเร็วทันใจ เป็นต้น พนักงานเสิร์ฟควรจะล่วงรู้ว่าแขกกำลังต้องการอะไรก่อนที่แขกจะเอ่ยปากขอ นอกจากนี้พนักงานเสิร์ฟควรจะเตรียมงานล่วงหน้าไป 1 ขั้นเสมอ เช่นการรีบไปบอกแผนกครัวว่ามีแขกกลุ่มใหญ่เข้ามาแล้ว เพื่อให้ฝ่ายนั้นรู้ตัวและสามารถเตรียมการล่วงหน้าได้ เป็นต้น

ในกรณีของห้องอาหารเล็ก ๆ ที่มีพนักเสิร์ฟเพียง 2-3 คน งานในความรับผิดชอบของพนักงานเสิร์ฟจะมีขอบข่ายกว้างมาก หน้าที่หลัก ๆ จะเป็นดังนี้

·ตกแต่งหรือจัดแจงห้องอาหารให้ดูดี และสะดวกสบาย

·จัดวางโต๊ะเก้าอี้ และอุปกรณ์เครื่องใช้บนโต๊ะ

·รับจองโต๊ะจากลูกค้าที่โทรศัพท์เข้ามาสั่งจอง

·ต้อนรับลูกค้า

·รับออเดอร์หรือคำสั่งเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มจากลูกค้า

·นำอาหารและเครื่องดื่มไปเสิร์ฟ

·เก็บโต๊ะเมื่อลูกค้ารับประทานอาหารเสร็จแล้ว

·กล่าวขอบคุณเมื่อแขกจะกลับ หรือส่งแขก

·ทำความสะอาดห้องอาหาร



สำหรับกรณีของห้องอาหารขนาดใหญ่ จะมีเจ้าหน้าที่มาก ดังนั้น หน้าที่ความรับผิดชอบจึงแบ่งกระจายกันออกไปเป็นดังนี้

1.ผู้จัดการห้องอาหาร (Resturant Manager)

ดูแลรับผิดชอบห้องอาหารในทุกเรื่อง วาง/กำหนดมาตรฐานของการบริการ

วางแผนตารางเวลาและการทำงานของพนักงาน ฝึกสอนงานแก่พนักงาน รับจองโต๊ะ ต้อนรับลูกค้า พาลูกค้าไปที่โต๊ะและจัดการกรณีที่ลูกค้าต่อว่า

2.หัวหน้าพนักงานเสิร์ฟ (ชาย Head Waiter/หญิง Head Waitress หรือ

Maltre d’Hotel หรือที่นิยมเรียกกันว่า Maltre D.)

เป็นตำแหน่งรองจากผู้จัดการห้องอาหาร ถ้าเป็นห้องอาหารขนาดเล็กก็จะเป็นผู้ที่

ดูแลห้องอาหารทั้งหมด ในกรณีที่เป็นห้องอาหาร ถ้าเป็นห้องอาหารขนาดใหญ่ จะมีหัวหน้าหลายคน โดยคนหนึ่งจะดูแล 3-4 Station (เขตบริการ หรือ เขตความรับผิดชอบในห้องอาหารที่พนักงานแต่ละคนจะต้องคอยดูแลให้บริการแก่ลูกค้าที่นั่งโต๊ะ) Station หนึ่งจะมีหลายโต๊ะ Head Waiter มีหน้าที่ดูแลควบคุมการทำงานของพนักงานเสิร์ฟในเขตความรับผิดชอบของตน ช่วยพาลูกค้าไปนั่งโต๊ะและรับคำสั่งจากลูกค้าที่ต้องการสั่งอาหาร

ในเมืองไทย บางโรงแรมอาจแบ่งเป็นซอยตำแหน่งให้มีมากกว่านี้ โดยมี

ตำแหน่ง Chief Station หรือหัวหน้าเขตคอยดูแลบริการเฉพาะในเขตความรับผิดชอบของตน แต่ที่นิยมใช้กันมากคือตำแหน่ง Captain (หรือ กัปตัน ตามที่เรียกกันแบบไทย ๆ แต่ในภาษาอังกฤษจริง ๆ ต้องอ่านว่า “แค็พทิน” หรือ “แค็พเทิน” ) หรือหัวหน้าหนักงานเสิร์ฟระดับต้น ซึ่งโดยแท้จริงก็คือพนักงานเสิร์ฟอาวุโสในตำแหน่งที่ 3 ต่อไปนี้นั่นเอง

- พนักงานเสิร์ฟอาวุโสประจำเขต ( Station Waiter/Station Waitress หรือ

Chef de Rang)

มีหน้าที่เสิร์ฟหรือให้บริการแก่ลูกค้าหลายโต๊ะใน Station หรือ เขตของตน ซึ่งโดยทั่วไปจะมีลูกค้ารวมกันประมาณ 20 ที่นั่งหรือ 20 คน เมื่อลูกค้าสั่งอาหารแล้ว ก็จะคอยปรับเปลี่ยนอุปกรณ์บนโต๊ะ เช่น มีด ช้อนส้อม ให้เหมาะกับอาหารที่ลูกค้าสั่งและจำนวนคนนำอาหารไปเสิร์ฟให้ลูกค้าเมื่ออาหารพร้อม และเคลียร์โต๊ะเมื่อลูกค้ารับประทานอาหารเสร็จแล้ว

- ผู้ช่วยพนักงานเสิร์ฟ (Commis Waiter/Commis Waitress)

มีหน้าที่ช่วยบริการด้านอาหาร จัดโต๊ะ เคลียร์โต๊ะ โดยทั่วไปผู้ช่วยพนักงานเสิร์ฟจะเป็นคนยกอาหารที่ทำเสร็จแล้วจากครัวมาที่ห้องอาหาร และนำพวกถ้วยจานและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ลูกค้าใช้แล้วกลับไปในครัวเพื่อให้แผนกสจ๊วตล้างทำความสะอาด

หน้าที่นี้ในเมืองไทยนิยมเรียกกันว่า Bus Boy/Bus Girl มีหน้าที่ “เคลียโต๊ะและวิ่ง”อาหาร

- พนักงานเสิร์ฟเหล้า( Wine Waiter/Wine Waitress หรือ Sommellierซอมเมอลิเยร์)

ทำหน้าที่รับคำสั่งหรือออเดอร์เกี่ยวกับเหล้าหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ไม่เกี่ยวกับเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ

3. พนักงานเก็บเงิน หรือ แคชเชียร์ (Cashier)

รับผิดชอบในการออกใบเสร็จและเก็บเงิน แต่คนที่นำใบเสร็จไปให้ลูกค้าได้แก่พนักงานเสิร์ฟ

4. พนักงานประจำบาร์ขายเหล้า (Barperson,Barman/Barmaid,Bartender)

คำว่า Bartender ในภาษาอังกฤษนั้นใช้ได้ทั้งพนักงานชายและหญิง ในเมืองไทยถ้าเป็นพนักงานหญิง มีการเรียกเป็น “บาร์เทนตี้” ซึ่งเป็นการเข้าใจผิด เพราะคำว่า Bartendee นี้ไม่มีใช้ในภาษาอังกฤษ

พนักงานประจำบาร์เหล้าต้องมีความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับพวกสุราต่างๆ ซึ่งต้องเรียนรู้ แต่วิธีเรียนรู้ที่ดีที่สุดก็โดยการฝึกปฏิบัติและอาศัยประสบการณ์ เช่น ต้องรู้วิธีรินเบียร์โดยไม่ให้มีฟองมาก วิธีค่อย ๆ รินเหล้าไวน์โดยไม่ให้มีตะกอนไหลลงมาด้วย วิธีผสมเครื่องดื่มประเ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
แผนกบริการอาหารและเครื่องดื่ม (อาหารและเครื่องดื่มบริการ) พนักงานแผนกบริการอาหารและเครื่องดื่มจะแตกต่างจากพนักงานแผนกครัวอยู่อย่างหนึ่งคือแผนกบริการมีโอกาสติดต่อกับแขกโดยตรงในขณะที่แผนกครัวส่วนใหญ่จะไม่มีโอกาสเลยการบริการหรือวิธีเสิร์ฟมีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ารสชาติหรือคุณภาพของอาหารทีเดียวและมีบางคนถึงกับคิดว่าค่าบริการนั้นสำคัญยิ่งกว่าตัวอาหารเสียอีกแต่ถึงอย่างไรทั้งสองอย่างก็ต้องดีควบคู่กันไปคืออาหารก็ต้องอร่อยบริการก็ต้องดีด้วยห้องอาหารนั้นจึงจะเป็นที่พอใจของแขก พนักงานที่มีความสุภาพเป็นกันเองและหน้าตายิ้มแย้มเป็นนิตย์ถือได้ว่าเป็นทรัพย์สินที่มีค่ามากที่สุดของห้องอาหารทีเดียว พนักงานเสิร์ฟ (ชายพนักงานเสิร์ฟ/หญิง/พนักงานเสิร์ฟ) พนักงานเสิร์ฟที่ดีจำเป็นต้องมีทักษะจำเพาะหรือความชำนาญในงานที่ทำอยู่บ้างตัวอย่างเช่นการตักอาหารให้แขกโดยตักจากชามใหญ่และหนักโดยใช้ช้อนส้อมและการถือจาน 3-4 ใบที่มีอาหารอยู่ด้วยโดยไม่ให้อาหารหกเป็นต้น นอกจากนี้พนักงานเสิร์ฟยังต้องมีทักษะในการติดต่อกับคนเพราะต้องพูดจาติดต่อกับแขกที่มาใช้บริการของห้องอาหารกล่าวกันว่าพนักงานเสิร์ฟทั้งหลายเปรียบเหมือนเป็น "กองกำลังหรือหน่วยขายอาหาร" (Salesforce อาหาร) ทีเดียวเนื่องจากมีหน้าที่แนะนำหรือขายสินค้าอันได้แก่อาหารที่แผนกครัวทำขึ้นมาแก่ลูกค้าพนักงานเสิร์ฟจะชนะใจลูกค้าได้ด้วยการรู้จักกาละเทศะมีเสน่ห์น่าพูดคุยด้วยทำงานคล่องแคล่วและรอบรู้ในงานที่ตัวเองทำอยู่ (คือสามารถให้คำแนะนำแก่ลูกค้าว่าควรเลือกสั่งอาหารอะไรและยังสามารถอธิบายใในขณะที่ลูกค้าไม่ต้องการบริการอะไรห้ลูกค้าฟังว่าอาหารจานนั้นมีวิธีปรุงอย่างไรด้วย) พนักงานเสิร์ฟจะต้องพร้อมที่จะให้บริการเมื่อแขกต้องการและถอยห่างออกมายืนอยู่เงียบๆ การบริหารที่ดียังหมายรวมถึงจังหวะที่เหมาะสมในการให้บริการด้วยเช่นเมื่อแขกต้องการอะไรก็รีบสนองตอบอย่างรวดเร็วทันใจเป็นต้นพนักงานเสิร์ฟควรจะล่วงรู้ว่าแขกกำลังต้องการอะไรก่อนที่แขกจะเอ่ยปากขอนอกจากนี้พนักงานเสิร์ฟควรจะเตรียมงานล่วงหน้าไป 1 ขั้นเสมอเช่นการรีบไปบอกแผนกครัวว่ามีแขกกลุ่มใหญ่เข้ามาแล้วเพื่อให้ฝ่ายนั้นรู้ตัวและสามารถเตรียมการล่วงหน้าได้เป็นต้น ในกรณีของห้องอาหารเล็กๆ ที่มีพนักเสิร์ฟเพียง 2-3 คนงานในความรับผิดชอบของพนักงานเสิร์ฟจะมีขอบข่ายกว้างมากหน้าที่หลักๆ จะเป็นดังนี้·ตกแต่งหรือจัดแจงห้องอาหารให้ดูดีและสะดวกสบาย·จัดวางโต๊ะเก้าอี้และอุปกรณ์เครื่องใช้บนโต๊ะ·รับจองโต๊ะจากลูกค้าที่โทรศัพท์เข้ามาสั่งจอง·ต้อนรับลูกค้า·รับออเดอร์หรือคำสั่งเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มจากลูกค้า·นำอาหารและเครื่องดื่มไปเสิร์ฟ·เก็บโต๊ะเมื่อลูกค้ารับประทานอาหารเสร็จแล้ว·กล่าวขอบคุณเมื่อแขกจะกลับหรือส่งแขก·ทำความสะอาดห้องอาหาร สำหรับกรณีของห้องอาหารขนาดใหญ่จะมีเจ้าหน้าที่มากดังนั้นหน้าที่ความรับผิดชอบจึงแบ่งกระจายกันออกไปเป็นดังนี้1.ผู้จัดการห้องอาหาร (ผู้จัดการส้วม)วางดูแลรับผิดชอบห้องอาหารในทุกเรื่อง/กำหนดมาตรฐานของการบริการวางแผนตารางเวลาและการทำงานของพนักงานฝึกสอนงานแก่พนักงานรับจองโต๊ะต้อนรับลูกค้าพาลูกค้าไปที่โต๊ะและจัดการกรณีที่ลูกค้าต่อว่า2.หัวหน้าพนักงานเสิร์ฟ (ชายหัวหน้าพนักงานเสิร์ฟหญิง/หัวหน้าพนักงานเสิร์ฟหรือMaltre d'Hotel หรือที่นิยมเรียกกันว่า Maltre D.)เป็นตำแหน่งรองจากผู้จัดการห้องอาหารถ้าเป็นห้องอาหารขนาดเล็กก็จะเป็นผู้ที่ดูแลห้องอาหารทั้งหมดในกรณีที่เป็นห้องอาหารถ้าเป็นห้องอาหารขนาดใหญ่จะมีหัวหน้าหลายคนโดยคนหนึ่งจะดูแล 3-4 Station (เขตบริการหรือเขตความรับผิดชอบในห้องอาหารที่พนักงานแต่ละคนจะต้องคอยดูแลให้บริการแก่ลูกค้าที่นั่งโต๊ะ) สถานีหนึ่งจะมีหลายโต๊ะหัวหน้าพนักงานเสิร์ฟมีหน้าที่ดูแลควบคุมการทำงานของพนักงานเสิร์ฟในเขตความรับผิดชอบของตนช่วยพาลูกค้าไปนั่งโต๊ะและรับคำสั่งจากลูกค้าที่ต้องการสั่งอาหาร ในเมืองไทยบางโรงแรมอาจแบ่งเป็นซอยตำแหน่งให้มีมากกว่านี้โดยมีแต่ที่นิยมใช้กันมากคือตำแหน่งหรือหัวหน้าเขตคอยดูแลบริการเฉพาะในเขตความรับผิดชอบของตนหัวหน้าสถานีตำแหน่งกัปตันต่อไปนี้นั่นเองซึ่งโดยแท้จริงก็คือพนักงานเสิร์ฟอาวุโสในตำแหน่งที่ 3 หรือหัวหน้าหนักงานเสิร์ฟระดับต้น (หรือกัปตันตามที่เรียกกันแบบไทยๆ แต่ในภาษาอังกฤษจริงๆ ต้องอ่านว่า "แค็พทิน" หรือ "แค็พเทิน")-พนักงานเสิร์ฟอาวุโสประจำเขต (พนักงานเสิร์ฟพนักงานเสิร์ฟ/สถานีรถไฟหรือเชฟเดอรัง)มีหน้าที่เสิร์ฟหรือให้บริการแก่ลูกค้าหลายโต๊ะในสถานีหรือเขตของตนซึ่งโดยทั่วไปจะมีลูกค้ารวมกันประมาณ 20 ที่นั่งหรือ 20 คนเมื่อลูกค้าสั่งอาหารแล้วก็จะคอยปรับเปลี่ยนอุปกรณ์บนโต๊ะเช่นมีดช้อนส้อมให้เหมาะกับอาหารที่ลูกค้าสั่งและจำนวนคนนำอาหารไปเสิร์ฟให้ลูกค้าเมื่ออาหารพร้อมและเคลียร์โต๊ะเมื่อลูกค้ารับประทานอาหารเสร็จแล้ว-ผู้ช่วยพนักงานเสิร์ฟ (พนักงานเสิร์ฟเสิร์ฟ Commis/Commis)มีหน้าที่ช่วยบริการด้านอาหารจัดโต๊ะเคลียร์โต๊ะโดยทั่วไปผู้ช่วยพนักงานเสิร์ฟจะเป็นคนยกอาหารที่ทำเสร็จแล้วจากครัวมาที่ห้องอาหารและนำพวกถ้วยจานและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ลูกค้าใช้แล้วกลับไปในครัวเพื่อให้แผนกสจ๊วตล้างทำความสะอาดอาหารหน้าที่นี้ในเมืองไทยนิยมเรียกกันว่า Bus รถบัสบอยสาวมีหน้าที่ "เคลียโต๊ะและวิ่ง"-พนักงานเสิร์ฟเหล้า (ไวน์ไวน์เสิร์ฟพนักงานเสิร์ฟหรือ Sommellierซอมเมอลิเยร์)ทำหน้าที่รับคำสั่งหรือออเดอร์เกี่ยวกับเหล้าหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ไม่เกี่ยวกับเครื่องดื่มประเภทชากาแฟ3. พนักงานเก็บเงินหรือแคชเชียร์ (แคชเชียร์)รับผิดชอบในการออกใบเสร็จและเก็บเงิน แต่คนที่นำใบเสร็จไปให้ลูกค้าได้แก่พนักงานเสิร์ฟ4. พนักงานประจำบาร์ขายเหล้า (Barperson,Barman/Barmaid,Bartender)คำว่า Bartender ในภาษาอังกฤษนั้นใช้ได้ทั้งพนักงานชายและหญิง ในเมืองไทยถ้าเป็นพนักงานหญิง มีการเรียกเป็น “บาร์เทนตี้” ซึ่งเป็นการเข้าใจผิด เพราะคำว่า Bartendee นี้ไม่มีใช้ในภาษาอังกฤษ พนักงานประจำบาร์เหล้าต้องมีความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับพวกสุราต่างๆ ซึ่งต้องเรียนรู้ แต่วิธีเรียนรู้ที่ดีที่สุดก็โดยการฝึกปฏิบัติและอาศัยประสบการณ์ เช่น ต้องรู้วิธีรินเบียร์โดยไม่ให้มีฟองมาก วิธีค่อย ๆ รินเหล้าไวน์โดยไม่ให้มีตะกอนไหลลงมาด้วย วิธีผสมเครื่องดื่มประเ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
แผนกบริการอาหารและเครื่องดื่ม (อาหารและเครื่องดื่ม คือ แต่ถึงอย่างไรทั้งสองอย่างก็ต้องดีควบคู่กันไปคืออาหารก็ต้องอร่อยบริการก็ต้องดีด้วย เป็นกันเองและหน้าตายิ้มแย้มเป็นนิตย์ (ชาย ตัวอย่างเช่น และการถือจาน 3-4 เป็นต้นนอกจากนี้ กล่าวกันว่า "กองกำลังหรือหน่วยขายอาหาร" (Salesforce ของอาหาร) ทีเดียว มีเสน่ห์น่าพูดคุยด้วยทำงานคล่องแคล่วและรอบรู้ในงานที่ตัวเองทำอยู่ และถอยห่างออกมายืนอยู่เงียบ ๆ เช่น เป็นต้น 1 ขั้นเสมอ เป็นต้นในกรณีของห้องอาหารเล็ก ๆ ที่มีพนักเสิร์ฟเพียง 2-3 คน หน้าที่หลัก ๆ และสะดวกสบาย·จัดวางโต๊ะเก้าอี้ จะมีเจ้าหน้าที่มากดังนั้น (Resturant ฝึกสอนงานแก่พนักงานรับจองโต๊ะต้อนรับลูกค้า (หัวหน้าบริกรชาย / หญิงหัวหน้าพนักงานเสิร์ฟหรือMaltre d'โรงแรมหรือที่นิยมเรียกกันว่า Maltre ในกรณีที่เป็นห้องอาหารถ้าเป็นห้องอาหารขนาดใหญ่จะมีหัวหน้าหลายคนโดยคนหนึ่งจะดูแลสถานี 3-4 (เขตบริการหรือ สถานีหนึ่งจะมีหลายโต๊ะหัวหน้าบริกร โดยมีตำแหน่งหัวหน้าสถานี แต่ที่นิยมใช้กันมากคือตำแหน่งกัปตัน (หรือกัปตันตามที่เรียกกันแบบไทย ๆ แต่ในภาษาอังกฤษจริง ๆ ต้องอ่านว่า "แค็พทิน" หรือ "แค็พเทิน") หรือหัวหน้าหนักงานเสิร์ฟระดับต้น 3 ต่อไปนี้นั่นเอง- พนักงานเสิร์ฟอาวุโสประจำเขต (สถานีบริกร / พนักงานเสิร์ฟหรือสถานีChef de สถานีหรือเขตของตน 20 ที่นั่งหรือ 20 คนเมื่อลูกค้าสั่งอาหารแล้วก็จะคอยปรับเปลี่ยนอุปกรณ์บนโต๊ะเช่นมีดช้อนส้อม ผู้ช่วยพนักงานเสิร์ฟ (Commis บริกร / พนักงานเสิร์ฟ Commis) มีหน้าที่ช่วยบริการด้านอาหารจัดโต๊ะเคลียร์โต๊ะ และนำพวกถ้วยจานและอุปกรณ์ต่าง ๆ บอยรถบัส / รถสาวมีหน้าที่ "เคลียโต๊ะและวิ่ง" อาหาร- พนักงานเสิร์ฟเหล้า (ไวน์บริกร / พนักงานเสิร์ฟไวน์หรือ ไม่เกี่ยวกับเครื่องดื่มประเภทชากาแฟ3. พนักงานเก็บเงินหรือแคชเชียร์ พนักงานประจำบาร์ขายเหล้า (Barperson, Barman / บาร์, Bartender) คำว่า Bartender ในเมืองไทยถ้าเป็นพนักงานหญิงมีการเรียกเป็น "บาร์เทนตี้" ซึ่งเป็นการเข้าใจผิดเพราะคำว่า Bartendee ซึ่งต้องเรียนรู้ เช่น วิธีค่อย ๆ วิธีผสมเครื่องดื่มประเ

















































































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
เราต้องต่อสู้กับ gyeongmo
เปลี่ยนต่อ คิม ,เราต้องต่อสู้กับ gyeongmo
เปลี่ยนต่อ คิม ,เราต้องต่อสู้กับ gyeongmo
เปลี่ยนต่อ คิม ,เราต้องต่อสู้กับ gyeongmo
เปลี่ยนต่อ คิม ,เราต้องต่อสู้กับ gyeongmo
เปลี่ยนต่อ คิม ,เราต้องต่อสู้กับ gyeongmo
เปลี่ยนต่อ คิม ,เราต้องต่อสู้กับ gyeongmo
เปลี่ยนต่อ คิม ,เราต้องต่อสู้กับ gyeongmo
เปลี่ยนต่อ คิม ,เราต้องต่อสู้กับ gyeongmo
เปลี่ยนต่อ คิม ,เราต้องต่อสู้กับ gyeongmo
เปลี่ยนต่อ คิม ,เราต้องต่อสู้กับ gyeongmo
เปลี่ยนต่อ คิม ,เราต้องต่อสู้กับ gyeongmo
เปลี่ยนต่อ คิม ,เราต้องต่อสู้กับ gyeongmo
เปลี่ยนต่อ คิม ,เราต้องต่อสู้กับ gyeongmo
เปลี่ยนต่อ คิม ,เราต้องต่อสู้กับ gyeongmo
เปลี่ยนต่อ คิม ,
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: