ประวติศาสตร์สากล ตามหลักสากล ยุคประวัติศาสตร์จะเริ่มนับตรงที่มนุษย์เริ การแปล - ประวติศาสตร์สากล ตามหลักสากล ยุคประวัติศาสตร์จะเริ่มนับตรงที่มนุษย์เริ ไทย วิธีการพูด

ประวติศาสตร์สากล ตามหลักสากล ยุคประ

ประวติศาสตร์สากล

ตามหลักสากล ยุคประวัติศาสตร์จะเริ่มนับตรงที่มนุษย์เริ่มมีการจดบันทึกเหตุการณ์อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ส่วนก่อนหน้านั้นก็จะเรียกว่ายุคก่อนประวัติศาสตร์
ยุคก่อนประวัติศาสตร์ตราบจนถึงทุกวันนี้ก็ยังไม่มีอะไรแน่นอน ยังมีข้อถกเถียงกันอยู่เยอะมาก เพราะมีเพียงแค่หลักฐานทางวัตถุบางชิ้น และก็ไม่ค่อยจะสมบูรณ์เท่าไหร่ด้วย
ส่วนยุคประวัติศาสตร์นั้น ค่อนข้างชัดเจนกว่า แต่ก็ใช่ว่าจะทั้งหมด เพราะเมื่อมีการศึกษาประวัติศาสตร์กันมากขึ้น ก็ทำให้รู้ว่าเราเคยเข้าใจผิดอะไรหลาย ๆ อย่างมานาน และต้องเปลี่ยนความเข้าใจทางประวัติศาสตร์กันใหม่อยู่หลายครั้งก็มี
การแบ่งสมัยในยุคประวัติศาสตร์จะแบ่งโดยใช้เหตุการณ์สำคัญที่ถือเป็นจุดเปลี่ยนของยุคสมัยเป็นตัวแบ่ง ซึ่งมีคนแบ่งเอาไว้หลายแนวทาง เพราะมันไม่มีเส้นแบ่งที่ชัดเจนให้เราเห็น แต่ส่วนใหญ่จะแบ่งออกเป็น
ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ (Ancient History) สมัยนี้นักประวัติศาสตร์มักจะรวมเอาเหตุการณ์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์เข้าไปด้วย สมัยนี้ส่วนมากมักจะให้สิ้นสุดลงพร้อมกับการล่มสลายของอาณาจักรโรมันตะวันตก ซึ่งเสียให้แก่เยอรมันในปีค.ศ. 476
ประวัติศาสตร์สมัยกลาง (Medieval History) เริ่มเมื่อปีค.ศ. 476 แต่ระยะเวลาสิ้นสุดนั้น บางกลุ่มถือเอาตอนที่กรุงสแตนติโนเปิลตกเป็นของพวกเติร์ก ในปีค.ศ.1453 แต่บางกลุ่มก็ถือว่าสิ้นสุดเมื่อมีการค้นพบทวีปอเมริกา ในปีค.ศ. 1492 และบางกลุ่มก็ถือว่าสิ้นสุดลงพร้อมกับการเริ่มต้นการปฏิรูปต่างๆ ในยุโรป
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ (Modern History) เริ่มตั้งแต่การสิ้นสุดของประวัติศาสตร์สมัยกลางจนถึงปัจจุบัน แต่ก็มีบางกลุ่มที่ถือว่าสมัยนี้สิ้นสุดในราวค.ศ. 1900 และได้แบ่งออกเป็นอีกสมัยหนึ่งคือ ประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน เริ่มตั้งแต่สิ้นสุดประวัติศาสตร์สมัยใหม่จนถึงปัจจุบัน เพราะระยะช่วงนี้เกิดเหตุการณ์ที่สำคัญ ๆ ขึ้นมากมาย มีรายละเอียดที่มากจนสามารถแบ่งออกเป็นอีกสมัยหนึ่งได้
ส่วนเรื่องของหลักฐานทางประวัติศาตร์นั้น มีการแบ่งหลักฐานทางประวัติศาสตร์ออกเป็น 2 ประเภทคือ หลักฐานที่เป็นวัตถุ (Material Remains) กับหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร (Written accounts)
ก่อน 4,000 ปีมาแล้ว หรือในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ก็จะมีแต่หลักฐานแบบแรกเพียงอย่างเดียว ก็ต้องใช้การสันนิษฐานประกอบเข้าไปจึงจะมองเห็นสภาพของยุคนั้นได้ ในยุคต่อมาคือยุคประวัติศาสตร์ถึงจะมีหลักฐานแบบที่สอง ซึ่งจะชัดเจนถูกต้องหรือไม่ก็ต้องขึ้นอยู่กับผู้จดบันทึกด้วย
หลักฐานทั้ง 2 ประเภทถ้าเราสามารถหามาประกอบกันได้ก็จะยิ่งทำให้เราสันนิษฐานสภาพทั่วไปและเหตุการณ์ที่เกิดในยุคสมัยนั้นได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
ยุคก่อนประวัติศาสตร์
ยุคหิน
ยุคหินเก่า (Paleolithic Age หรือ Old Stone Age)
1. อายุประมาณ 2 ล้านปีก่อนคริสต์ศักราช
2. ดำรงชีพด้วยการล่าสัตว์และเก็บผลไม้ป่า
3. อาศัยตามถ้ำหรือที่พักหยาบๆ
4. พึ่งพาธรรมชาติและไม่เข้าใจปรากฎการณ์ธรรมชาติ
5. รู้จักใช้ไฟ
6. ประกอบพิธีฝังศพอันเป็นจุดเริ่มต้นของศาสนา
7. ภาพจิตรกรรมผนังถ้ำตามความเชื่อและพิธีกรรม
ยุคหินกลาง (Mesolithic Age หรือ Middle Stone Age)
1. อายุประมาณ 8 พันปีก่อนคริสต์ศักราช
2. เริ่มรู้จักเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์แบบง่ายๆ
3. ภาพจิตรกรรมผนังถ้ำมีความซับซ้อนมากขึ้น จุดมุ่งหมายเพื่อพิธีกรรมความเชื่อเรื่องวิญญาณ
4. มีพิธีกรรมเกี่ยวกับพระ

ยุคหินใหม่
1. อายุประมาณ 4 พันปีก่อนคริสต์ศักราช
2. ผลิตอาหารได้เอง รู้จักเก็บกักอาหาร หยุดเร่ร่อน
3. เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำด้วยหินประณีตขึ้น
4. รู้จักการทอผ้า เครื่องปั้นดินเผา ทำเครื่องทุ่นแรง เช่น การเสียดสีให้เกิดไฟ การประดิษฐ์เรือ
5. รวมกลุ่มเกษตรกรรมเป็นหมู่บ้าน มีการจัดระเบียบเพื่อควบคุมสังคม มีหัวหน้าชุมชน
6. อนุสาวรีย์หิน (Stonechenge) ซึ่งถือเป็นการเริ่มต้นงานสถาปัตยกรรมของมนุษย์ เชื่อว่าสร้างเพื่อคำนวณทางดาราศาสตร์ พิธีกรรมทางศาสนาที่เกี่ยว ข้องกับการเกษตรหรือบูชาพระอาทิตย์
ยุค โบราณ
กรีก
กรีก เป็นเชื้อสายอินโด ยูโรเปี้ยน เรียกวัฒนธรรมตนเองว่า เฮเลนนีส (Hellenes) เรียกบ้านเมืองตนเองว่า เฉลลัส (Hellas)
ยุคเฮเลนิค (Hellenic Civilization)
- มีศูนย์กลางอยู่ที่เอเธนส์ มีการปกครองแบบนครรัฐ ศูนย์กลางของนครรัฐอยู่ที่ อะโครโปลิส " มีความเจริญรุ่งเรืองทางการค้ามาก การเดินทางไปค้าขายกับดินอดนต่างๆ ทำให้ชาวกรีกมีโลกทัศน์กว้างขวางและรับวัฒนธรรมจากดินแดนต่างๆ ทำให้ชาวกรีกเป็นคนอยากรู้อยากเห็น เชื่อมั่นในเหตุผล เชื่อในดุลพินิจของตน ส่งผลต่อแนวคิดมนุษย์นิยม (Humanism)
- สนใจในธรรมชาตินิยม (Naturalism) นับถือเทพเจ้าหลายองค์ แต่มีอิสรภาพทางความคิด เพราะศาสนาไม่มีอิทธิพลวิถีเหนือชีวิตของคนในสังคมมากนัก
- แนวคิดประชาธิปไตย มนุษย์ปกครองแบบนครรัฐอิสระ เช่น นครรัฐเอเธนส์ ปกครองแบบประชาธิปไตยทางตรง โดยพลเมืองชายที่เป็นเจ้าของที่ดินและเกิดในนครรัฐจะมีสิทธิในการปกครอง มีสิทธิในการเข้าประชุมสภาราษฎร
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวติศาสตร์สากล ตามหลักสากลยุคประวัติศาสตร์จะเริ่มนับตรงที่มนุษย์เริ่มมีการจดบันทึกเหตุการณ์อย่างเป็นลายลักษณ์อักษรส่วนก่อนหน้านั้นก็จะเรียกว่ายุคก่อนประวัติศาสตร์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ตราบจนถึงทุกวันนี้ก็ยังไม่มีอะไรแน่นอนยังมีข้อถกเถียงกันอยู่เยอะมากเพราะมีเพียงแค่หลักฐานทางวัตถุบางชิ้นและก็ไม่ค่อยจะสมบูรณ์เท่าไหร่ด้วยส่วนยุคประวัติศาสตร์นั้นค่อนข้างชัดเจนกว่าแต่ก็ใช่ว่าจะทั้งหมดเพราะเมื่อมีการศึกษาประวัติศาสตร์กันมากขึ้นก็ทำให้รู้ว่าเราเคยเข้าใจผิดอะไรหลายๆ อย่างมานานและต้องเปลี่ยนความเข้าใจทางประวัติศาสตร์กันใหม่อยู่หลายครั้งก็มีการแบ่งสมัยในยุคประวัติศาสตร์จะแบ่งโดยใช้เหตุการณ์สำคัญที่ถือเป็นจุดเปลี่ยนของยุคสมัยเป็นตัวแบ่งซึ่งมีคนแบ่งเอาไว้หลายแนวทางเพราะมันไม่มีเส้นแบ่งที่ชัดเจนให้เราเห็นแต่ส่วนใหญ่จะแบ่งออกเป็นประวัติศาสตร์สมัยโบราณ (สมัยโบราณ) สมัยนี้นักประวัติศาสตร์มักจะรวมเอาเหตุการณ์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์เข้าไปด้วยสมัยนี้ส่วนมากมักจะให้สิ้นสุดลงพร้อมกับการล่มสลายของอาณาจักรโรมันตะวันตกซึ่งเสียให้แก่เยอรมันในปีค.ศ 476เริ่มเมื่อปีค.ศประวัติศาสตร์สมัยกลาง (ยุคกลางประวัติศาสตร์) 476 แต่ระยะเวลาสิ้นสุดนั้นบางกลุ่มถือเอาตอนที่กรุงสแตนติโนเปิลตกเป็นของพวกเติร์ก ในปีค.ศ.1453 แต่บางกลุ่มก็ถือว่าสิ้นสุดเมื่อมีการค้นพบทวีปอเมริกาในปีค.ศ 1492 และบางกลุ่มก็ถือว่าสิ้นสุดลงพร้อมกับการเริ่มต้นการปฏิรูปต่าง ๆ ในยุโรปประวัติศาสตร์สมัยใหม่ (สมัยประวัติศาสตร์) เริ่มตั้งแต่การสิ้นสุดของประวัติศาสตร์สมัยกลางจนถึงปัจจุบันแต่ก็มีบางกลุ่มที่ถือว่าสมัยนี้สิ้นสุดในราวค.ศ 1900 และได้แบ่งออกเป็นอีกสมัยหนึ่งคือประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบันเริ่มตั้งแต่สิ้นสุดประวัติศาสตร์สมัยใหม่จนถึงปัจจุบันเพราะระยะช่วงนี้เกิดเหตุการณ์ที่สำคัญๆ ขึ้นมากมายมีรายละเอียดที่มากจนสามารถแบ่งออกเป็นอีกสมัยหนึ่งได้ส่วนเรื่องของหลักฐานทางประวัติศาตร์นั้นมีการแบ่งหลักฐานทางประวัติศาสตร์ออกเป็น 2 ประเภทคือหลักฐานที่เป็นวัตถุ (วัสดุยังคง) กับหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร (เขียนบัญชี)ก่อน 4000 ปีมาแล้วหรือในยุคก่อนประวัติศาสตร์ก็จะมีแต่หลักฐานแบบแรกเพียงอย่างเดียวก็ต้องใช้การสันนิษฐานประกอบเข้าไปจึงจะมองเห็นสภาพของยุคนั้นได้ในยุคต่อมาคือยุคประวัติศาสตร์ถึงจะมีหลักฐานแบบที่สองซึ่งจะชัดเจนถูกต้องหรือไม่ก็ต้องขึ้นอยู่กับผู้จดบันทึกด้วยประเภทถ้าเราสามารถหามาประกอบกันได้ก็จะยิ่งทำให้เราสันนิษฐานสภาพทั่วไปและเหตุการณ์ที่เกิดในยุคสมัยนั้นได้ชัดเจนยิ่งขึ้นหลักฐานทั้ง 2ยุคก่อนประวัติศาสตร์ยุคหินยุคหินเก่า (ท่ายุคหินยุค Paleolithic หรือเก่า) 1. อายุประมาณ 2 ล้านปีก่อนคริสต์ศักราช 2. ดำรงชีพด้วยการล่าสัตว์และเก็บผลไม้ป่า 3. อาศัยตามถ้ำหรือที่พักหยาบ ๆ 4. พึ่งพาธรรมชาติและไม่เข้าใจปรากฎการณ์ธรรมชาติ 5. รู้จักใช้ไฟ 6. ประกอบพิธีฝังศพอันเป็นจุดเริ่มต้นของศาสนา 7. ภาพจิตรกรรมผนังถ้ำตามความเชื่อและพิธีกรรมยุคหินกลาง (Mesolithic อายุหรือยุคหินกลาง)1. อายุประมาณ 8 พันปีก่อนคริสต์ศักราช2. เริ่มรู้จักเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์แบบง่าย ๆ 3. ภาพจิตรกรรมผนังถ้ำมีความซับซ้อนมากขึ้นจุดมุ่งหมายเพื่อพิธีกรรมความเชื่อเรื่องวิญญาณ 4. มีพิธีกรรมเกี่ยวกับพระยุคหินใหม่1. อายุประมาณ 4 พันปีก่อนคริสต์ศักราช 2. ผลิตอาหารได้เองรู้จักเก็บกักอาหารหยุดเร่ร่อน 3. เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำด้วยหินประณีตขึ้น 4. รู้จักการทอผ้าเครื่องปั้นดินเผาทำเครื่องทุ่นแรงเช่นการเสียดสีให้เกิดไฟการประดิษฐ์เรือ 5. รวมกลุ่มเกษตรกรรมเป็นหมู่บ้านมีการจัดระเบียบเพื่อควบคุมสังคมมีหัวหน้าชุมชน 6. อนุสาวรีย์หิน (Stonechenge) ซึ่งถือเป็นการเริ่มต้นงานสถาปัตยกรรมของมนุษย์เชื่อว่าสร้างเพื่อคำนวณทางดาราศาสตร์พิธีกรรมทางศาสนาที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรหรือบูชาพระอาทิตย์ยุคโบราณกรีกกรีกเป็นเชื้อสายอินโดยูโรเปี้ยนเรียกวัฒนธรรมตนเองว่าเฮเลนนีส (Hellenes) เรียกบ้านเมืองตนเองว่าเฉลลัส (เฮ) ยุคเฮเลนิค (Hellenic อารยธรรม) -มีศูนย์กลางอยู่ที่เอเธนส์มีการปกครองแบบนครรัฐศูนย์กลางของนครรัฐอยู่ที่อะโครโปลิส "มีความเจริญรุ่งเรืองทางการค้ามากการเดินทางไปค้าขายกับดินอดนต่าง ๆ ทำให้ชาวกรีกมีโลกทัศน์กว้างขวางและรับวัฒนธรรมจากดินแดนต่าง ๆ ทำให้ชาวกรีกเป็นคนอยากรู้อยากเห็นเชื่อมั่นในเหตุผลเชื่อในดุลพินิจของตนส่งผลต่อแนวคิดมนุษย์นิยม (มนุษยนิยม) -เพราะศาสนาไม่มีอิทธิพลวิถีเหนือชีวิตของคนในสังคมมากนักแต่มีอิสรภาพทางความคิดนับถือเทพเจ้าหลายองค์สนใจในธรรมชาตินิยม (Naturalism) -เช่นแนวคิดประชาธิปไตยมนุษย์ปกครองแบบนครรัฐอิสระนครรัฐเอเธนส์ปกครองแบบประชาธิปไตยทางตรงโดยพลเมืองชายที่เป็นเจ้าของที่ดินและเกิดในนครรัฐจะมีสิทธิในการปกครองรีมีสิทธิในการเข้าประชุมสภาราษฎร
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวติศาสตร์สากล

ตามหลักสากล ยุคประวัติศาสตร์จะเริ่มนับตรงที่มนุษย์เริ่มมีการจดบันทึกเหตุการณ์อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ส่วนก่อนหน้านั้นก็จะเรียกว่ายุคก่อนประวัติศาสตร์
ยุคก่อนประวัติศาสตร์ตราบจนถึงทุกวันนี้ก็ยังไม่มีอะไรแน่นอน ยังมีข้อถกเถียงกันอยู่เยอะมาก เพราะมีเพียงแค่หลักฐานทางวัตถุบางชิ้น และก็ไม่ค่อยจะสมบูรณ์เท่าไหร่ด้วย
ส่วนยุคประวัติศาสตร์นั้น ค่อนข้างชัดเจนกว่า แต่ก็ใช่ว่าจะทั้งหมด เพราะเมื่อมีการศึกษาประวัติศาสตร์กันมากขึ้น ก็ทำให้รู้ว่าเราเคยเข้าใจผิดอะไรหลาย ๆ อย่างมานาน และต้องเปลี่ยนความเข้าใจทางประวัติศาสตร์กันใหม่อยู่หลายครั้งก็มี
การแบ่งสมัยในยุคประวัติศาสตร์จะแบ่งโดยใช้เหตุการณ์สำคัญที่ถือเป็นจุดเปลี่ยนของยุคสมัยเป็นตัวแบ่ง ซึ่งมีคนแบ่งเอาไว้หลายแนวทาง เพราะมันไม่มีเส้นแบ่งที่ชัดเจนให้เราเห็น แต่ส่วนใหญ่จะแบ่งออกเป็น
ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ (Ancient History) สมัยนี้นักประวัติศาสตร์มักจะรวมเอาเหตุการณ์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์เข้าไปด้วย สมัยนี้ส่วนมากมักจะให้สิ้นสุดลงพร้อมกับการล่มสลายของอาณาจักรโรมันตะวันตก ซึ่งเสียให้แก่เยอรมันในปีค.ศ. 476
ประวัติศาสตร์สมัยกลาง (Medieval History) เริ่มเมื่อปีค.ศ. 476 แต่ระยะเวลาสิ้นสุดนั้น บางกลุ่มถือเอาตอนที่กรุงสแตนติโนเปิลตกเป็นของพวกเติร์ก ในปีค.ศ.1453 แต่บางกลุ่มก็ถือว่าสิ้นสุดเมื่อมีการค้นพบทวีปอเมริกา ในปีค.ศ. 1492 และบางกลุ่มก็ถือว่าสิ้นสุดลงพร้อมกับการเริ่มต้นการปฏิรูปต่างๆ ในยุโรป
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ (Modern History) เริ่มตั้งแต่การสิ้นสุดของประวัติศาสตร์สมัยกลางจนถึงปัจจุบัน แต่ก็มีบางกลุ่มที่ถือว่าสมัยนี้สิ้นสุดในราวค.ศ. 1900 และได้แบ่งออกเป็นอีกสมัยหนึ่งคือ ประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน เริ่มตั้งแต่สิ้นสุดประวัติศาสตร์สมัยใหม่จนถึงปัจจุบัน เพราะระยะช่วงนี้เกิดเหตุการณ์ที่สำคัญ ๆ ขึ้นมากมาย มีรายละเอียดที่มากจนสามารถแบ่งออกเป็นอีกสมัยหนึ่งได้
ส่วนเรื่องของหลักฐานทางประวัติศาตร์นั้น มีการแบ่งหลักฐานทางประวัติศาสตร์ออกเป็น 2 ประเภทคือ หลักฐานที่เป็นวัตถุ (Material Remains) กับหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร (Written accounts)
ก่อน 4,000 ปีมาแล้ว หรือในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ก็จะมีแต่หลักฐานแบบแรกเพียงอย่างเดียว ก็ต้องใช้การสันนิษฐานประกอบเข้าไปจึงจะมองเห็นสภาพของยุคนั้นได้ ในยุคต่อมาคือยุคประวัติศาสตร์ถึงจะมีหลักฐานแบบที่สอง ซึ่งจะชัดเจนถูกต้องหรือไม่ก็ต้องขึ้นอยู่กับผู้จดบันทึกด้วย
หลักฐานทั้ง 2 ประเภทถ้าเราสามารถหามาประกอบกันได้ก็จะยิ่งทำให้เราสันนิษฐานสภาพทั่วไปและเหตุการณ์ที่เกิดในยุคสมัยนั้นได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
ยุคก่อนประวัติศาสตร์
ยุคหิน
ยุคหินเก่า (Paleolithic Age หรือ Old Stone Age)
1. อายุประมาณ 2 ล้านปีก่อนคริสต์ศักราช
2. ดำรงชีพด้วยการล่าสัตว์และเก็บผลไม้ป่า
3. อาศัยตามถ้ำหรือที่พักหยาบๆ
4. พึ่งพาธรรมชาติและไม่เข้าใจปรากฎการณ์ธรรมชาติ
5. รู้จักใช้ไฟ
6. ประกอบพิธีฝังศพอันเป็นจุดเริ่มต้นของศาสนา
7. ภาพจิตรกรรมผนังถ้ำตามความเชื่อและพิธีกรรม
ยุคหินกลาง (Mesolithic Age หรือ Middle Stone Age)
1. อายุประมาณ 8 พันปีก่อนคริสต์ศักราช
2. เริ่มรู้จักเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์แบบง่ายๆ
3. ภาพจิตรกรรมผนังถ้ำมีความซับซ้อนมากขึ้น จุดมุ่งหมายเพื่อพิธีกรรมความเชื่อเรื่องวิญญาณ
4. มีพิธีกรรมเกี่ยวกับพระ

ยุคหินใหม่
1. อายุประมาณ 4 พันปีก่อนคริสต์ศักราช
2. ผลิตอาหารได้เอง รู้จักเก็บกักอาหาร หยุดเร่ร่อน
3. เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำด้วยหินประณีตขึ้น
4. รู้จักการทอผ้า เครื่องปั้นดินเผา ทำเครื่องทุ่นแรง เช่น การเสียดสีให้เกิดไฟ การประดิษฐ์เรือ
5. รวมกลุ่มเกษตรกรรมเป็นหมู่บ้าน มีการจัดระเบียบเพื่อควบคุมสังคม มีหัวหน้าชุมชน
6. อนุสาวรีย์หิน (Stonechenge) ซึ่งถือเป็นการเริ่มต้นงานสถาปัตยกรรมของมนุษย์ เชื่อว่าสร้างเพื่อคำนวณทางดาราศาสตร์ พิธีกรรมทางศาสนาที่เกี่ยว ข้องกับการเกษตรหรือบูชาพระอาทิตย์
ยุค โบราณ
กรีก
กรีก เป็นเชื้อสายอินโด ยูโรเปี้ยน เรียกวัฒนธรรมตนเองว่า เฮเลนนีส (Hellenes) เรียกบ้านเมืองตนเองว่า เฉลลัส (Hellas)
ยุคเฮเลนิค (Hellenic Civilization)
- มีศูนย์กลางอยู่ที่เอเธนส์ มีการปกครองแบบนครรัฐ ศูนย์กลางของนครรัฐอยู่ที่ อะโครโปลิส " มีความเจริญรุ่งเรืองทางการค้ามาก การเดินทางไปค้าขายกับดินอดนต่างๆ ทำให้ชาวกรีกมีโลกทัศน์กว้างขวางและรับวัฒนธรรมจากดินแดนต่างๆ ทำให้ชาวกรีกเป็นคนอยากรู้อยากเห็น เชื่อมั่นในเหตุผล เชื่อในดุลพินิจของตน ส่งผลต่อแนวคิดมนุษย์นิยม (Humanism)
- สนใจในธรรมชาตินิยม (Naturalism) นับถือเทพเจ้าหลายองค์ แต่มีอิสรภาพทางความคิด เพราะศาสนาไม่มีอิทธิพลวิถีเหนือชีวิตของคนในสังคมมากนัก
- แนวคิดประชาธิปไตย มนุษย์ปกครองแบบนครรัฐอิสระ เช่น นครรัฐเอเธนส์ ปกครองแบบประชาธิปไตยทางตรง โดยพลเมืองชายที่เป็นเจ้าของที่ดินและเกิดในนครรัฐจะมีสิทธิในการปกครอง มีสิทธิในการเข้าประชุมสภาราษฎร
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวติศาสตร์สากล

ตามหลักสากลยุคประวัติศาสตร์จะเริ่มนับตรงที่มนุษย์เริ่มมีการจดบันทึกเหตุการณ์อย่างเป็นลายลักษณ์อักษรส่วนก่อนหน้านั้นก็จะเรียกว่ายุคก่อนประวัติศาสตร์
ยุคก่อนประวัติศาสตร์ตราบจนถึงทุกวันนี้ก็ยังไม่มีอะไรแน่นอนยังมีข้อถกเถียงกันอยู่เยอะมากเพราะมีเพียงแค่หลักฐานทางวัตถุบางชิ้นและก็ไม่ค่อยจะสมบูรณ์เท่าไหร่ด้วย
ส่วนยุคประวัติศาสตร์นั้นค่อนข้างชัดเจนกว่าแต่ก็ใช่ว่าจะทั้งหมดเพราะเมื่อมีการศึกษาประวัติศาสตร์กันมากขึ้นก็ทำให้รู้ว่าเราเคยเข้าใจผิดอะไรหลายจะอย่างมานานการแบ่งสมัยในยุคประวัติศาสตร์จะแบ่งโดยใช้เหตุการณ์สำคัญที่ถือเป็นจุดเปลี่ยนของยุคสมัยเป็นตัวแบ่งซึ่งมีคนแบ่งเอาไว้หลายแนวทางเพราะมันไม่มีเส้นแบ่งที่ชัดเจนให้เราเห็นแต่ส่วนใหญ่จะแบ่งออกเป็น
ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ ( ประวัติศาสตร์ ) สมัยนี้นักประวัติศาสตร์มักจะรวมเอาเหตุการณ์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์เข้าไปด้วยสมัยนี้ส่วนมากมักจะให้สิ้นสุดลงพร้อมกับการล่มสลายของอาณาจักรโรมันตะวันตกศ . แล้ว
ประวัติศาสตร์สมัยกลาง ( ประวัติศาสตร์ยุคกลาง ) เริ่มเมื่อปีค . ศ . แต่แต่ระยะเวลาสิ้นสุดนั้นบางกลุ่มถือเอาตอนที่กรุงสแตนติโนเปิลตกเป็นของพวกเติร์กในปีค . ศ . 1189 แต่บางกลุ่มก็ถือว่าสิ้นสุดเมื่อมีการค้นพบทวีปอเมริกาในปีค . ศ .1 และบางกลุ่มก็ถือว่าสิ้นสุดลงพร้อมกับการเริ่มต้นการปฏิรูปต่างๆในยุโรป
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ( ประวัติศาสตร์ ) เริ่มตั้งแต่การสิ้นสุดของประวัติศาสตร์สมัยกลางจนถึงปัจจุบันแต่ก็มีบางกลุ่มที่ถือว่าสมัยนี้สิ้นสุดในราวค . ศ .
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: