บทที่ ๔ผลการศึกษาค้นคว้า ผลการศึกษาค้นคว้า ผลการศึกษาค้นคว้า เรื่อง กา การแปล - บทที่ ๔ผลการศึกษาค้นคว้า ผลการศึกษาค้นคว้า ผลการศึกษาค้นคว้า เรื่อง กา ไทย วิธีการพูด

บทที่ ๔ผลการศึกษาค้นคว้า ผลการศึกษา

บทที่ ๔
ผลการศึกษาค้นคว้า

ผลการศึกษาค้นคว้า
ผลการศึกษาค้นคว้า เรื่อง การสานมวย จากอินเทอร์เน็ต ปรากฏการศึกษา ดังต่อไปนี้
มวยอุปกรณ์ในการสาน
การตัดไม้ไม้ไผ่ 1 ลำใช้ประโยชน์ได้ 4 ช่วง
1.1 - ใช้เลื่อยลันดาตัดไม้ไผ่เพื่อจักตอกสานทีละปล้องยาวประมาณ 30-35 เซนติเมตร
1.2 - ใช้เลื่อยลันดาตัดไม้เพื่อจักตอกเสียบหรือตอกยั่งที่ละปล้องยาวประมาณ 15-20 เซนติเมตร
1.3 - ใช้เลื่อยลันดาตัดไม้ไผ่เพื่อทำขอบมวยตัดทำขอบบนประมาณ 3 ปล้องหรือประมาณ 100-110 เซนติเมตรสำหรับขอบล่างยาวประมาณเกือบ 2 ปล้องหรือประมาณ 50-60 เซนติเมตร
1.4 - ใช้เลื่อยลันดาตัดไม้ไผ่ปล้องที่ยาวที่สุดสำหรับจักตอกสานชั้นที่สาม
2. มีดใช้มีดอีโต้ลับให้คมเพื่อใช้ในการผ่าไม้ไผ่ให้เป็นแผ่นบางๆเพื่อจักตอกสานจักตอกเสียบและทำขอบมวย
3. หินลับมีดเตรียมมาเพื่อใช้ลับมีดเวลาที่จักตอกส่วนต่างๆเมื่อมีดลดความคมลงจะได้ลับมีดทันที
4. เลื่อยใช้เลื่อยลันดาเพื่อใช้ตัดไม้เป็นท่อนๆเพื่อที่จะนำมาจักตอกสานตอกเสียบหรือตอกยั้งตอกสานชั้นสามและทำขอบ
5. เชือกในล่อนเส้นใหญ่จะใช้ในการรัดตัวมวยชั้นที่สองให้แน่นก่อนที่จะเย็บขอบล่างของมวย
6. ด้าย 80 เบอร์ 9 ใช้เย็บขอบล่างและขอบมวยบนของมวยและเย็บก้นมวยโยงเป็นใยแมงมุมเพื่อรองรับฝาแตะบางครั้งจะใช้เชือกในล่อนเล็กเย็บขอบแต่ไม่ทนไฟจึงนิยมใช้ด้ายเย็บแทนเดิมใช้หวายแต่เนื่องจากราคาเเพงและหายากจึงเลิกใช้กัน
7. เข็มใช้เข็มขนาดใหญ่เพื่อใช้เย็บขอบล่างขอบบนของมวยและใช้เย็บก้นมวยเป็นใยเเมงมุม
ขั้นตอนการสานมวย
1. การจักตอกสานชั้นในและชั้นที่สอง
เลือกไม้ส่วนที่เหลือจากการทำตอกเสียบหรือไม้ตรงกลางยาวประมาณ 30-35 เซนติเมตรนำมาผ่าออกเป็นซีกกว้างประมาณ 2 เซนติเมตรปล้องหนึ่งผ่าเป็นซีกแล้วจะได้ประมาณ 15 -18 ซีกแล้วเหลาปลายข้างหนึ่งให้มีความเรียวประมาณ 1 เซนติเมตร (ภาษาถิ่นเรียกว่าการส่วยไม้) แล้วใช้มีดอีโต้ที่คมจักตอกโดยผ่าเป็นผ่าเปิ้นให้เป็นเส้นบางๆไม้ไผ่ซีกหนึ่งจะได้ตอกประมาณ 20-25 เส้นตอกที่ได้เรียกว่าตอกสานเมื่อจักตอกเสร็จจะนำตอกไปผึ่งแดดเพื่อให้ตอกอยู่ตัว
2. การจักตอกเสียบหรือตอกยั้ง
นำไม้ไผ่ที่ตัดไว้ซึ่งเป็นไม้ไผ่จากโคนต้นมาผ่าเป็นซีกกว้างประมาณยาวประมาณ 25-30 เซนติเมตรแล้วเหลาปลายข้างหนึ่งให้เรียวประมาณ 0.5 เซนติเมตร (ทำเหมือนการส่วยไม้ทำตอกสานแต่จะเล็กกว่า) จักแล้วให้บางตามลายเปิ้นเรียกว่าตอกเสียบตอกยั้งเมื่อจักตอกเสร็จแล้วก็นำตอกไปผึ่งแดดเพื่อให้ตอกอยู่ตัว
3. การจักตอกสานชั้นสามตัดไม้ไผ่ส่วนต่อจากตอกสานและใช้ปล้องที่ยาวที่สุดตัดส่วนข้อออกและผ่าเป็นซีกหนาประมาณ 0.5 เซนติเมตรและจักตอกตะเเคงทำเป็นเส้นบางๆเล็กๆจะนำมาสานกับตอกเสียบหลังจากจักตอกเสร็จแล้วให้นำไปผึ่งแดด
4. ไม้ทำขอบนำไม้ไผ่ส่วนปลายที่ตักเป็นท่อนๆท่อนละประมาณ 3 ปล้องหรือประมาณ 100-110 เซนติเมตรสำหรับทำขอบบนยาวประมาณ 50 เซนติเมตรสำหรับขอบล่างนำมาผ่าเป็นซีกกว้างประมาณ2 เซนติเมตรนำมาเหลาให้เรียบแล้วผ่าจักออกเป็นสองข้างเหลาให้บางกว่าส่วนอื่นเผือเวลานำมาประกอบเป็นวงกลมจะทำให้ไม่หนากว่าส่วนอื่น
การเริ่มต้นสานมวย
5. การจักตอกสานฝาแตะนำไม่ไผ่ที่ตัดไว้แล้วยาวประมาณ 20-25 เซนติเมตรนำมาผ่าเป็นเปิ้นซีกหนายาวประมาณ 0.5 เซนติเมตรจักตะแคงเป็นเส้นเล็กๆเหมือนกับจักตอกสานชั้นที่สามหรือจะใช้ตอกสานชั้นที่สามมาสานเลยก็ได้เพราะวิธีการจักเเบบเดียวกัน
6. การสานมวยชั้นในและชั้นที่สองนำตอกสานที่เตรียมไว้แล้วมาสานเป็นลายสองเวียนในการสานจะเริ่มที่ขอบล่างก่อน (ก้นมวย) และสานเวียนไปเรื่อยๆชั้นที่หนึ่งจะใช้ตอกประมาณ 45 คู่แล้วนำมาประกอบกันเป็นวงกลมซึ่งเป็นรูปร่างก้นมวยเมื่อประกบเรียบร้อยแล้วก็สานต่อด้วยลายสองเหมือนเดิมจนเสร็จเป็นตัวมวยขั้นตอนนี้จะสานสองครั้งเมื่อเสร็จเเล้วให้นำมวยมาซ้อนกันจะเป็นมวยชั้นที่สองแล้วใช้เชือกในล่อนมารัดส่วนบนและส่วนล่างให้แน่นเพื่อให้ได้รูปทรงของมวยตามที่ต้องการหลังจากทำขั้นตอนนี้เสร็จเเล้วให้นำมวยไปผึ่งเเดดประมาณ 2 แดด (2 วัน)
7. การเข้าขอบล่าง (ก้นมวย) ก่อนที่จะเข้าขอบล่างให้ใช้เชือกในล่อนรัดขอบบนให้แน่นก่อนแล้วใส่ขอบบนไว้แต่ยังไม่เย็บให้โค้งขอบเป็นวงกลมไว้เฉยๆแล้วใช้เชือกรัดมาที่ขอบล่างให้แน่นแล้วเข้าขอบล่างวิธีการเข้าขอบล่างคือการนำไม้ที่เตรียมไว้แล้วมาใส่โดยการแยกไม้ที่ผ่าไว้มาวางทาบที่ขอบด้านนอกก่อนโดยใช้ติวไม้และทำให้เป็นวงกลมไปตามขอบมวยส่วนไม้ที่เหลือให้วงทาบที่ขอบมวยด้านในแล้วใช้ด้ายเย็บให้แน่นห่างกันประมาณ 1.5 เซนติเมตรเย็บให้รอบขอบล่าง
8. ในการสานชั้นที่สามนี้จะเริ่มสานจากขอบล่างประมาณ 10-12 เซนติเมตรสานตอกเริ่มทีละเส้นถ้าเส้นที่หนึ่งหมดให้เริ่มสานเส้นที่สองโดยสานกลับไปเส้นละด้านถ้าไม่ถึงขอบปากอีกให้ต่อเส้นสานไปจนถึงขอบปากมวยจึงถือว่าทำเสร็จขั้นตอนนี้
9. การเข้าขอบบน (ปากมวย) เมื่อสานมวยชั้นที่สามเสร็จแล้วนำมวยมาตัดขอบปากมวยให้เสมอกันหลังจากนั้นใช้ขอบมวยที่สานไว้แล้วมาวางทาบที่ขอบบนจะทำแบบเดียวกันกับวิธีเข้าขอบล่าง (ก้นมวย) เสร็จแล้วเย็บขอบบนให้ห่างกันประมาณ 1.5 เซนติเมตรจนรอบขอบบน
10. การเย็บก้นหวดสำหรับรองฝาแตะใช้วิธีการเย็บแบบโยงไปมาตรงข้ามกันหรือเรียกว่าเย็บแบบโยงใยแมงมุมเมื่อทำตามขั้นตอนทั้งหมดแล้วก็จะได้มวยที่สมบูรณ์แบบประโยชน์ของมวย
11. การแตะสานฝา (ที่รองข้าวเหนียวเวลานึ่ง)
นำตอกที่เตรียมไว้มาสานด้วยลายสองให้ได้แผ่นสี่เหลี่ยมจัตุรัสกว้างยาวประมาณ 18-20 เซนติเมตรใช้ภาชนะกลมๆเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 15 - 16 เซนติเมตรมาวางทาบลงแล้วใช้สีลาดตามขอบภาชนะแล้วนำมาตัดตามรอยเป็นรูปวงกลมใช้ผ้ายืดสีขาวที่ตัดเป็นผ้าเฉลียงนำมาต่อกันยาวๆมาหุ้มตามริมฝาแตะที่ตัดเป็นวงกลมเย็บให้ติดกันจนรอบถ้าไม่เย็บมือจะใช้จักรเย็บก็ได้


0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทที่ ๔ผลการศึกษาค้นคว้า ผลการศึกษาค้นคว้า ผลการศึกษาค้นคว้าเรื่องการสานมวยจากอินเทอร์เน็ตปรากฏการศึกษาดังต่อไปนี้มวยอุปกรณ์ในการสานช่วงการตัดไม้ไม้ไผ่ 1 ลำใช้ประโยชน์ได้ 4 1.1 - ใช้เลื่อยลันดาตัดไม้ไผ่เพื่อจักตอกสานทีละปล้องยาวประมาณ 30-35 เซนติเมตร 1.2 - ใช้เลื่อยลันดาตัดไม้เพื่อจักตอกเสียบหรือตอกยั่งที่ละปล้องยาวประมาณ 15-20 เซนติเมตร1.3 - ใช้เลื่อยลันดาตัดไม้ไผ่เพื่อทำขอบมวยตัดทำขอบบนประมาณ 3 ปล้องหรือประมาณ 100-110 เซนติเมตรสำหรับขอบล่างยาวประมาณเกือบ 2 ปล้องหรือประมาณ 50-60 เซนติเมตร1.4 - ใช้เลื่อยลันดาตัดไม้ไผ่ปล้องที่ยาวที่สุดสำหรับจักตอกสานชั้นที่สาม2. มีดใช้มีดอีโต้ลับให้คมเพื่อใช้ในการผ่าไม้ไผ่ให้เป็นแผ่นบางๆเพื่อจักตอกสานจักตอกเสียบและทำขอบมวย3. หินลับมีดเตรียมมาเพื่อใช้ลับมีดเวลาที่จักตอกส่วนต่างๆเมื่อมีดลดความคมลงจะได้ลับมีดทันที4. เลื่อยใช้เลื่อยลันดาเพื่อใช้ตัดไม้เป็นท่อนๆเพื่อที่จะนำมาจักตอกสานตอกเสียบหรือตอกยั้งตอกสานชั้นสามและทำขอบ 5. เชือกในล่อนเส้นใหญ่จะใช้ในการรัดตัวมวยชั้นที่สองให้แน่นก่อนที่จะเย็บขอบล่างของมวย6. ด้าย 80 เบอร์ 9 ใช้เย็บขอบล่างและขอบมวยบนของมวยและเย็บก้นมวยโยงเป็นใยแมงมุมเพื่อรองรับฝาแตะบางครั้งจะใช้เชือกในล่อนเล็กเย็บขอบแต่ไม่ทนไฟจึงนิยมใช้ด้ายเย็บแทนเดิมใช้หวายแต่เนื่องจากราคาเเพงและหายากจึงเลิกใช้กัน 7. เข็มใช้เข็มขนาดใหญ่เพื่อใช้เย็บขอบล่างขอบบนของมวยและใช้เย็บก้นมวยเป็นใยเเมงมุม ขั้นตอนการสานมวย1. การจักตอกสานชั้นในและชั้นที่สองเส้นตอกที่ได้เรียกว่าตอกสานเมื่อจักตอกเสร็จจะนำตอกไปผึ่งแดดเพื่อให้ตอกอยู่ตัวแล้วใช้มีดอีโต้ที่คมจักตอกโดยผ่าเป็นผ่าเปิ้นให้เป็นเส้นบางๆไม้ไผ่ซีกหนึ่งจะได้ตอกประมาณ 20-25 เซนติเมตร (ภาษาถิ่นเรียกว่าการส่วยไม้) ซีกแล้วเหลาปลายข้างหนึ่งให้มีความเรียวประมาณ 1 ของเลือกไม้ส่วนที่เหลือจากการทำตอกเสียบหรือไม้ตรงกลางยาวประมาณ 30-35 เซนติเมตรนำมาผ่าออกเป็นซีกกว้างประมาณ 2 เซนติเมตรปล้องหนึ่งผ่าเป็นซีกแล้วจะได้ประมาณ 15 -182. การจักตอกเสียบหรือตอกยั้งนำไม้ไผ่ที่ตัดไว้ซึ่งเป็นไม้ไผ่จากโคนต้นมาผ่าเป็นซีกกว้างประมาณยาวประมาณ 25-30 เซนติเมตรแล้วเหลาปลายข้างหนึ่งให้เรียวประมาณ 0.5 เซนติเมตร (ทำเหมือนการส่วยไม้ทำตอกสานแต่จะเล็กกว่า) จักแล้วให้บางตามลายเปิ้นเรียกว่าตอกเสียบตอกยั้งเมื่อจักตอกเสร็จแล้วก็นำตอกไปผึ่งแดดเพื่อให้ตอกอยู่ตัว3. เซนติเมตรและจักตอกตะเเคงทำเป็นเส้นบางๆเล็กๆจะนำมาสานกับตอกเสียบหลังจากจักตอกเสร็จแล้วให้นำไปผึ่งแดดการจักตอกสานชั้นสามตัดไม้ไผ่ส่วนต่อจากตอกสานและใช้ปล้องที่ยาวที่สุดตัดส่วนข้อออกและผ่าเป็นซีกหนาประมาณ 0.54. ไม้ทำขอบนำไม้ไผ่ส่วนปลายที่ตักเป็นท่อนๆท่อนละประมาณ 3 ปล้องหรือประมาณ 100-110 เซนติเมตรสำหรับทำขอบบนยาวประมาณ 50 เซนติเมตรสำหรับขอบล่างนำมาผ่าเป็นซีกกว้างประมาณ2 เซนติเมตรนำมาเหลาให้เรียบแล้วผ่าจักออกเป็นสองข้างเหลาให้บางกว่าส่วนอื่นเผือเวลานำมาประกอบเป็นวงกลมจะทำให้ไม่หนากว่าส่วนอื่นการเริ่มต้นสานมวย5. การจักตอกสานฝาแตะนำไม่ไผ่ที่ตัดไว้แล้วยาวประมาณ 20-25 เซนติเมตรจักตะแคงเป็นเส้นเล็กๆเหมือนกับจักตอกสานชั้นที่สามหรือจะใช้ตอกสานชั้นที่สามมาสานเลยก็ได้เพราะวิธีการจักเเบบเดียวกันเซนติเมตรนำมาผ่าเป็นเปิ้นซีกหนายาวประมาณ 0.56. การสานมวยชั้นในและชั้นที่สองนำตอกสานที่เตรียมไว้แล้วมาสานเป็นลายสองเวียนในการสานจะเริ่มที่ขอบล่างก่อน (ก้นมวย) และสานเวียนไปเรื่อยๆชั้นที่หนึ่งจะใช้ตอกประมาณ 45 คู่แล้วนำมาประกอบกันเป็นวงกลมซึ่งเป็นรูปร่างก้นมวยเมื่อประกบเรียบร้อยแล้วก็สานต่อด้วยลายสองเหมือนเดิมจนเสร็จเป็นตัวมวยขั้นตอนนี้จะสานสองครั้งเมื่อเสร็จเเล้วให้นำมวยมาซ้อนกันจะเป็นมวยชั้นที่สองแล้วใช้เชือกในล่อนมารัดส่วนบนและส่วนล่างให้แน่นเพื่อให้ได้รูปทรงของมวยตามที่ต้องการหลังจากทำขั้นตอนนี้เสร็จเเล้วให้นำมวยไปผึ่งเเดดประมาณ 2 แดด (2 วัน)7. การเข้าขอบล่าง (ก้นมวย) ก่อนที่จะเข้าขอบล่างให้ใช้เชือกในล่อนรัดขอบบนให้แน่นก่อนแล้วใส่ขอบบนไว้แต่ยังไม่เย็บให้โค้งขอบเป็นวงกลมไว้เฉยๆแล้วใช้เชือกรัดมาที่ขอบล่างให้แน่นแล้วเข้าขอบล่างวิธีการเข้าขอบล่างคือการนำไม้ที่เตรียมไว้แล้วมาใส่โดยการแยกไม้ที่ผ่าไว้มาวางทาบที่ขอบด้านนอกก่อนโดยใช้ติวไม้และทำให้เป็นวงกลมไปตามขอบมวยส่วนไม้ที่เหลือให้วงทาบที่ขอบมวยด้านในแล้วใช้ด้ายเย็บให้แน่นห่างกันประมาณ 1.5 เซนติเมตรเย็บให้รอบขอบล่าง8. ในการสานชั้นที่สามนี้จะเริ่มสานจากขอบล่างประมาณ 10-12 เซนติเมตรสานตอกเริ่มทีละเส้นถ้าเส้นที่หนึ่งหมดให้เริ่มสานเส้นที่สองโดยสานกลับไปเส้นละด้านถ้าไม่ถึงขอบปากอีกให้ต่อเส้นสานไปจนถึงขอบปากมวยจึงถือว่าทำเสร็จขั้นตอนนี้9. การเข้าขอบบน (ปากมวย) เมื่อสานมวยชั้นที่สามเสร็จแล้วนำมวยมาตัดขอบปากมวยให้เสมอกันหลังจากนั้นใช้ขอบมวยที่สานไว้แล้วมาวางทาบที่ขอบบนจะทำแบบเดียวกันกับวิธีเข้าขอบล่าง (ก้นมวย) เสร็จแล้วเย็บขอบบนให้ห่างกันประมาณ 1.5 เซนติเมตรจนรอบขอบบน10. การเย็บก้นหวดสำหรับรองฝาแตะใช้วิธีการเย็บแบบโยงไปมาตรงข้ามกันหรือเรียกว่าเย็บแบบโยงใยแมงมุมเมื่อทำตามขั้นตอนทั้งหมดแล้วก็จะได้มวยที่สมบูรณ์แบบประโยชน์ของมวย11. การแตะสานฝา (ที่รองข้าวเหนียวเวลานึ่ง)เซนติเมตรมาวางทาบลงแล้วใช้สีลาดตามขอบภาชนะแล้วนำมาตัดตามรอยเป็นรูปวงกลมใช้ผ้ายืดสีขาวที่ตัดเป็นผ้าเฉลียงนำมาต่อกันยาวๆมาหุ้มตามริมฝาแตะที่ตัดเป็นวงกลมเย็บให้ติดกันจนรอบถ้าไม่เย็บมือจะใช้จักรเย็บก็ได้เซนติเมตรใช้ภาชนะกลมๆเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 15-16 นำตอกที่เตรียมไว้มาสานด้วยลายสองให้ได้แผ่นสี่เหลี่ยมจัตุรัสกว้างยาวประมาณ 18-20
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
บทที่ เรื่องการสานมวยจากอินเทอร์เน็ตปรากฏการ ศึกษา 1 ลำใช้ประโยชน์ได้ 4 ช่วง1.1 - 30-35 เซนติเมตร1.2 - 15-20 เซนติเมตร1.3 - 3 ปล้องหรือประมาณ 100-110 2 ปล้องหรือประมาณ 50-60 เซนติเมตร1.4 - ด้าย 80 เบอร์ 9 30-35 2 15 -18 1 เซนติเมตร (ภาษาถิ่นเรียกว่าการส่วยไม้) 20-25 25-30 0.5 เซนติเมตร 0.5 3 ปล้องหรือประมาณ 100-110 เซนติเมตรสำหรับทำขอบบนยาวประมาณ 50 20-25 0.5 (ก้นมวย) 45 2 แดด (2 วัน) 7 การเข้าขอบล่าง (ก้นมวย) 1.5 เซนติเมตรเย็บให้รอบขอบล่าง8 10-12 การเข้าขอบบน (ปากมวย) (ก้นมวย) 1.5 เซนติเมตรจนรอบขอบบน10 การแตะสานฝา 18-20 15-16


































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
บทที่โตเกียวผลการศึกษาค้นคว้าผลการศึกษาค้นคว้าผลการศึกษาค้นคว้าเรื่องการสานมวยจากอินเทอร์เน็ตปรากฏการศึกษาดังต่อไปนี้มวยอุปกรณ์ในการสานการตัดไม้ไม้ไผ่ 1 ลำใช้ประโยชน์ได้ 4 ช่วง1.1 - ใช้เลื่อยลันดาตัดไม้ไผ่เพื่อจักตอกสานทีละปล้องยาวประมาณ 30-35 เซนติเมตร1.2 - ใช้เลื่อยลันดาตัดไม้เพื่อจักตอกเสียบหรือตอกยั่งที่ละปล้องยาวประมาณ 15-20 เซนติเมตร1.3 - ใช้เลื่อยลันดาตัดไม้ไผ่เพื่อทำขอบมวยตัดทำขอบบนประมาณ 3 ปล้องหรือประมาณ 100-110 เซนติเมตรสำหรับขอบล่างยาวประมาณเกือบ 2 ปล้องหรือประมาณ 50-60 เซนติเมตร1.4 - ใช้เลื่อยลันดาตัดไม้ไผ่ปล้องที่ยาวที่สุดสำหรับจักตอกสานชั้นที่สาม2 . มีดใช้มีดอีโต้ลับให้คมเพื่อใช้ในการผ่าไม้ไผ่ให้เป็นแผ่นบางๆเพื่อจักตอกสานจักตอกเสียบและทำขอบมวย3 . หินลับมีดเตรียมมาเพื่อใช้ลับมีดเวลาที่จักตอกส่วนต่างๆเมื่อมีดลดความคมลงจะได้ลับมีดทันที4 . เลื่อยใช้เลื่อยลันดาเพื่อใช้ตัดไม้เป็นท่อนๆเพื่อที่จะนำมาจักตอกสานตอกเสียบหรือตอกยั้งตอกสานชั้นสามและทำขอบ5 . เชือกในล่อนเส้นใหญ่จะใช้ในการรัดตัวมวยชั้นที่สองให้แน่นก่อนที่จะเย็บขอบล่างของมวย6 . ด้าย 80 เบอร์ 9 ใช้เย็บขอบล่างและขอบมวยบนของมวยและเย็บก้นมวยโยงเป็นใยแมงมุมเพื่อรองรับฝาแตะบางครั้งจะใช้เชือกในล่อนเล็กเย็บขอบแต่ไม่ทนไฟจึงนิยมใช้ด้ายเย็บแทนเดิมใช้หวายแต่เนื่องจากราคาเเพงและหายากจึงเลิกใช้กัน7 . เข็มใช้เข็มขนาดใหญ่เพื่อใช้เย็บขอบล่างขอบบนของมวยและใช้เย็บก้นมวยเป็นใยเเมงมุมขั้นตอนการสานมวย1 . การจักตอกสานชั้นในและชั้นที่สองเลือกไม้ส่วนที่เหลือจากการทำตอกเสียบหรือไม้ตรงกลางยาวประมาณ 30-35 เซนติเมตรนำมาผ่าออกเป็นซีกกว้างประมาณ 2 เซนติเมตรปล้องหนึ่งผ่าเป็นซีกแล้วจะได้ประมาณ 15 - 18 ซีกแล้วเหลาปลายข้างหนึ่งให้มีความเรียวประมาณ 1 เซนติเมตร ( ภาษาถิ่นเรียกว่าการส่วยไม้ ) แล้วใช้มีดอีโต้ที่คมจั กตอกโดยผ่าเป็นผ่าเปิ้นให้เป็นเส้นบางๆไม้ไผ่ซีกหนึ่งจะได้ตอกประมาณ 20-25 เส้นตอกที่ได้เรียกว่าตอกสานเมื่อจักตอกเสร็จจะนำตอกไปผึ่งแดดเพื่อให้ตอกอยู่ตัว2 . การจักตอกเสียบหรือตอกยั้งนำไม้ไผ่ที่ตั
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: