การศึกษาประสิทธิภาพในการป้องกันรังสี UV ของสารสกัดแคโรทีนอยด์จากดอกดาว การแปล - การศึกษาประสิทธิภาพในการป้องกันรังสี UV ของสารสกัดแคโรทีนอยด์จากดอกดาว ไทย วิธีการพูด

การศึกษาประสิทธิภาพในการป้องกันรังส

การศึกษาประสิทธิภาพในการป้องกันรังสี UV ของสารสกัดแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรือง มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1. ศึกษาประสิทธิภาพของตัวทำละลายที่ใช้ในการสกัดสารสกัดจากดอกดาวเรือง 2. ศึกษาการสกัดแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรือง และ 3. ศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัด แคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองในการป้องกันรังสี UV
ตัวทำละลายที่ใช้ในการสกัดหยาบจากดอกดาวเรืองได้แก่ Acetone , Hexane และ Ethanol เมื่อได้ตัวทำละลายที่เหมาะสมจึงนำไปสกัดสารแคโรทีนอยด์โดยวิธี Ben – Amotz and fishler method และนำสารสกัดแคโรทีนอยด์ที่ได้ไปทดสอบการป้องกันรังสี UV กับ cell culture ชนิด fibroblast และวัดนับจำนวน cell ที่ยังมีชีวิตอยู่เพื่อดูประสิทธิภาพในการป้องกัน cell จากรังสี UV
ผลการศึกษาสารสกัดหยาบจากดอกดาวเรือง พบว่าตัวทำละลายที่สามารถสกัดสารจากดอกดาวเรืองออกมาได้ปริมาณมากที่สุดคือ Hexane และเมื่อนำสารสกัดที่ได้จากการสกัดด้วยวิธี Ben – Amotz and fishler method ไปตรวจสอบหาแคโรทีนอยด์โดยวัดค่าการดูดกลืนแสงพบว่า ดอกดาวเรืองที่สกัดด้วย ตัวทำละลาย Acetone และ Ethanol มีแคโรทีนอยด์อยู่จริง และเมื่อนำไปทดสอบการป้องกันรังสี UV กับ cell culture และนับจำนวน cell ที่ยังมีชีวิตอยู่เพื่อดูประสิทธิภาพในการป้องกัน cell จากรังสี UV พบว่าสารสกัดแคโรทีนอยด์จากตัวทำละลาย Acetone สามารถป้องกันรังสี UV ได้ดีที่สุด โดยมีจำนวนเซลล์ที่ยังมีชีวิตเหลืออยู่ 9,051 เซลล์จากทั้งหมด 10,000 เซลล์
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การศึกษาประสิทธิภาพในการป้องกันรังสี UV ของสารสกัดแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรือง มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1. ศึกษาประสิทธิภาพของตัวทำละลายที่ใช้ในการสกัดสารสกัดจากดอกดาวเรือง 2. ศึกษาการสกัดแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรือง และ 3. ศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัด แคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองในการป้องกันรังสี UVตัวทำละลายที่ใช้ในการสกัดหยาบจากดอกดาวเรืองได้แก่ Acetone , Hexane และ Ethanol เมื่อได้ตัวทำละลายที่เหมาะสมจึงนำไปสกัดสารแคโรทีนอยด์โดยวิธี Ben – Amotz and fishler method และนำสารสกัดแคโรทีนอยด์ที่ได้ไปทดสอบการป้องกันรังสี UV กับ cell culture ชนิด fibroblast และวัดนับจำนวน cell ที่ยังมีชีวิตอยู่เพื่อดูประสิทธิภาพในการป้องกัน cell จากรังสี UVผลการศึกษาสารสกัดหยาบจากดอกดาวเรือง พบว่าตัวทำละลายที่สามารถสกัดสารจากดอกดาวเรืองออกมาได้ปริมาณมากที่สุดคือ Hexane และเมื่อนำสารสกัดที่ได้จากการสกัดด้วยวิธี Ben – Amotz and fishler method ไปตรวจสอบหาแคโรทีนอยด์โดยวัดค่าการดูดกลืนแสงพบว่า ดอกดาวเรืองที่สกัดด้วย ตัวทำละลาย Acetone และ Ethanol มีแคโรทีนอยด์อยู่จริง และเมื่อนำไปทดสอบการป้องกันรังสี UV กับ cell culture และนับจำนวน cell ที่ยังมีชีวิตอยู่เพื่อดูประสิทธิภาพในการป้องกัน cell จากรังสี UV พบว่าสารสกัดแคโรทีนอยด์จากตัวทำละลาย Acetone สามารถป้องกันรังสี UV ได้ดีที่สุด โดยมีจำนวนเซลล์ที่ยังมีชีวิตเหลืออยู่ 9,051 เซลล์จากทั้งหมด 10,000 เซลล์
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ยูวี มีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ 1 2 และ 3. ศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัด
อะซิโตนเฮกเซนและเอทานอล เบน - Amotz และวิธี fishler รังสียูวีกับการเพาะเลี้ยงเซลล์ชนิด fibroblast และวัดนับจำนวนเซลล์ เซลล์จากรังสี
เฮกเซน เบน - Amotz และวิธี fishler ดอกดาวเรืองที่สกัดด้วยตัวทำละลายอะซีโตนและเอทานอลมีแคโรทีนอยด์อยู่จริง และเมื่อนำไปทดสอบการป้องกันรังสี ยูวีกับการเพาะเลี้ยงเซลล์และนับจำนวนเซลล์ เซลล์จากรังสียูวี Acetone สามารถป้องกันรังสียูวีได้ดีที่สุด 9051 เซลล์จากทั้งหมด 10,000 เซลล์
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
การศึกษาประสิทธิภาพในการป้องกันรังสี UV ของสารสกัดแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองมีวัตถุประสงค์ 3 ประการความ 1 ศึกษาประสิทธิภาพของตัวทำละลายที่ใช้ในการสกัดสารสกัดจากดอกดาวเรือง 2 ศึกษาการสกัดแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองและ 3 ศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดแคโรทีนอยด์จากดอกดาวเรืองในการป้องกันรังสี ยูวีตัวทำละลายที่ใช้ในการสกัดหยาบจากดอกดาวเรืองได้แก่อะซิโตน เอทานอล น้ำและเมื่อได้ตัวทำละลายที่เหมาะสมจึงนำไปสกัดสารแคโรทีนอยด์โดยวิธีเบน– amotz fishler และนำสารสกัดแคโรทีนอยด์ที่ได้ไปทดสอบการป้องกันรังสี UV และวิธีเพาะเลี้ยงเซลล์ไฟโบรบลาสต์กับชนิดและวัดนับจำนวนที่ยังมีชีวิตอยู่เพื่อดูประสิทธิภเซลล์ าพในการป้องกันเซลล์จากรังสี ยูวีผลการศึกษาสารสกัดหยาบจากดอกดาวเรืองพบว่าตัวทำละลายที่สามารถสกัดสารจากดอกดาวเรืองออกมาได้ปริมาณมากที่สุดคือเฮกเซนและเมื่อนำสารสกัดที่ได้จากการสกัดด้วยวิธีเบน–และวิธีการ amotz fishler ไปตรวจสอบหาแคโรทีนอยด์โดยวัดค่าการดูดกลืนแสงพบว่าดอกดาวเรืองที่สกัดด้วยตัวทำละลายอะซิโตนและอี thanol มีแคโรทีนอยด์อยู่จริงและเมื่อนำไปทดสอบการป้องกันรังสี UV กับเซลล์เซลล์เซลล์และนับจำนวนที่ยังมีชีวิตอยู่เพื่อดูประสิทธิภาพในการป้องกันจากรังสี UV พบว่าสารสกัดแคโรทีนอยด์จากตัวทำละลายอะซิโตนสามารถป้องกันรังสี UV ได้ดีที่สุดโดยมีจำนวนเซลล์ที่ยังมีชีวิตเหลืออยู่ 9051 เซลล ์จากทั้งหมด 10000 เซลล์
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: