เสาชิงช้า เป็นสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบพิธีโล้ชิงช้า ในพระ การแปล - เสาชิงช้า เป็นสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบพิธีโล้ชิงช้า ในพระ ไทย วิธีการพูด

เสาชิงช้า เป็นสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ

เสาชิงช้า เป็นสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบพิธีโล้ชิงช้า ในพระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวายของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู โดยทั่วไปหมายถึงเสาชิงช้าที่ตั้งอยู่หน้าวัดสุทัศน์เทพวราราม และลานหน้าศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (ลานคนเมือง) ใกล้กับเทวสถานโบสถ์พราหมณ์ ในพื้นที่แขวงเสาชิงช้าและแขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของกรุงเทพมหานคร แม้พิธีโล้ชิงช้าได้เลิกไปแล้วตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ก็ตาม
นอกจากนี้ ในประเทศไทยยังมีเสาชิงช้าอีกแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ที่ หน้าหอพระอิศวร เมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งมีการประกอบพิธีโล้ชิงช้ามาแต่โบราณเช่นกัน แต่ได้เลิกไปก่อนที่จะมีการก่อสร้างขึ้นใหม่ในภายหลัง โดยจำลองแบบมาจากเสาชิงช้าที่กรุงเทพมหานคร
เสาชิงช้าที่กรุงเทพมหานครแห่งนี้ มีลักษณะเป็นเสาชิงช้าขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บนแท่นหินขนาดใหญ่ สูง 21.15 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลางฐานกลมประมาณ 10.50 เมตร ฐานกลมก่อเป็นฐานปัทม์ทำด้วยหินล้างสีขาว พื้นบนปูกระเบื้องดินเผาสีแดง มีบันได 2 ขั้น ทั้ง 2 ด้าน ตามแนวโค้งของฐานติดแผ่นจารึกประวัติเสาชิงช้า เสาไม้แกนกลางคู่และเสาตะเกียบ 2 คู่ เป็นเสาหัวเม็ด ล้วนทำด้วยไม้สักกลึงกลม โครงยึดหัวเสาทั้งคู่แกะสลักอย่างสวยงาม กระจังและหูช้างไม้เป็นลวดลายไทย ทั้งหมดทาสีแดงชาด ติดสายล่อฟ้าจากลวดลายกระจังด้านบนลงดิน
กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเสาชิงช้าเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 นับตั้งแต่สร้างครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2327 จนถึงการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งล่าสุดซึ่งเสาชิงช้าคู่เดิมถูกถอดเปลี่ยนเมื่อปี พ.ศ. 2549 เสาชิงช้ามีอายุรวมประมาณ 222 ปี
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เสาชิงช้าเป็นสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบพิธีโล้ชิงช้าในพระราชพิธีตรียัมพวายตรีปวายของศาสนาพราหมณ์ฮินดูโดยทั่วไปหมายถึงเสาชิงช้าที่ตั้งอยู่หน้าวัดสุทัศน์เทพวรารามและลานหน้าศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (ลานคนเมือง) ใกล้กับเทวสถานโบสถ์พราหมณ์ในพื้นที่แขวงเสาชิงช้าและแขวงวัดราชบพิธเขตพระนครกรุงเทพมหานครซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของกรุงเทพมหานครแม้พิธีโล้ชิงช้าได้เลิกไปแล้วตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 7 ก็ตามนอกจากนี้ในประเทศไทยยังมีเสาชิงช้าอีกแห่งหนึ่งตั้งอยู่ที่หน้าหอพระอิศวรเมืองนครศรีธรรมราชซึ่งมีการประกอบพิธีโล้ชิงช้ามาแต่โบราณเช่นกันแต่ได้เลิกไปก่อนที่จะมีการก่อสร้างขึ้นใหม่ในภายหลังโดยจำลองแบบมาจากเสาชิงช้าที่กรุงเทพมหานครเสาชิงช้าที่กรุงเทพมหานครแห่งนี้มีลักษณะเป็นเสาชิงช้าขนาดใหญ่ตั้งอยู่บนแท่นหินขนาดใหญ่สูง 21.15 เมตรเส้นผ่านศูนย์กลางฐานกลมประมาณ 10.50 เมตรฐานกลมก่อเป็นฐานปัทม์ทำด้วยหินล้างสีขาวพื้นบนปูกระเบื้องดินเผาสีแดงมีบันได 2 ขั้นทั้ง 2 ด้านตามแนวโค้งของฐานติดแผ่นจารึกประวัติเสาชิงช้าเสาไม้แกนกลางคู่และเสาตะเกียบ 2 คู่เป็นเสาหัวเม็ดล้วนทำด้วยไม้สักกลึงกลมโครงยึดหัวเสาทั้งคู่แกะสลักอย่างสวยงามกระจังและหูช้างไม้เป็นลวดลายไทยทั้งหมดทาสีแดงชาดติดสายล่อฟ้าจากลวดลายกระจังด้านบนลงดินกรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเสาชิงช้าเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายนพ.ศ. 2492 นับตั้งแต่สร้างครั้งแรกเมื่อปีพ.ศ. 2327 จนถึงการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งล่าสุดซึ่งเสาชิงช้าคู่เดิมถูกถอดเปลี่ยนเมื่อปีพ.ศ. ๒๕๔๙ เสาชิงช้ามีอายุรวมประมาณ 222 ปี
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
เสาชิงช้า ในพระราชพิธีตรียัมพวายตรีปวายของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู และลานหน้าศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (ลานคนเมือง) ใกล้กับเทวสถานโบสถ์พราหมณ์ เขตพระนครกรุงเทพมหานคร รัชกาลที่ 7
ก็ตามนอกจากนี้ ตั้งอยู่ที่หน้าหอพระอิศวรเมืองนครศรีธรรมราช
มีลักษณะเป็นเสาชิงช้าขนาดใหญ่ตั้งอยู่บนแท่นหินขนาดใหญ่สูง 21.15 เมตรเส้นผ่านศูนย์กลางฐานกลมประมาณ 10.50 เมตร พื้นบนปูกระเบื้องดินเผาสีแดงมีบันได 2 ขั้นทั้ง 2 ด้าน เสาไม้แกนกลางคู่และเสาตะเกียบ 2 คู่เป็นเสาหัวเม็ดล้วนทำด้วยไม้สักกลึงกลม กระจังและหูช้างไม้เป็นลวดลายไทยทั้งหมดทาสีแดงชาด
22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 นับตั้งแต่สร้างครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2327 พ.ศ. 2549 เสาชิงช้ามีอายุรวมประมาณ 222 ปี
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
เสาชิงช้าเป็นสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบพิธีโล้ชิงช้าในพระราชพิธีตรียัมพวายตรีปวายของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดูโดยทั่วไปหมายถึงเสาชิงช้าที่ตั้งอยู่หน้าวัดสุทัศน์เทพวราราม( ลานคนเมือง ) ใกล้กับเทวสถานโบสถ์พราหมณ์ในพื้นที่แขวงเสาชิงช้าและแขวงวัดราชบพิธเขตพระนครกรุงเทพมหานครซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของกรุงเทพมหานครรัชกาลที่ 7 ก็ตาม
นอกจากนี้ในประเทศไทยยังมีเสาชิงช้าอีกแห่งหนึ่งตั้งอยู่ที่หน้าหอพระอิศวรเมืองนครศรีธรรมราชซึ่งมีการประกอบพิธีโล้ชิงช้ามาแต่โบราณเช่นกันแต่ได้เลิกไปก่อนที่จะมีการก่อสร้างขึ้นใหม่ในภายหลังเสาชิงช้าที่กรุงเทพมหานครแห่งนี้มีลักษณะเป็นเสาชิงช้าขนาดใหญ่ตั้งอยู่บนแท่นหินขนาดใหญ่สูงเป็นเมตรเส้นผ่านศูนย์กลางฐานกลมประมาณ 1050 เมตรฐานกลมก่อเป็นฐานปัทม์ทำด้วยหินล้างสีขาวพื้นบนปูกระเบื้องดินเผาสีแดงมีบันได 2 ขั้นทั้ง 2 ด้านตามแนวโค้งของฐานติดแผ่นจารึกประวัติเสาชิงช้าเสาไม้แกนกลางคู่และเสาตะเกียบ 2 คู่เป็นเสาหัวเม็ดโครงยึดหัวเสาทั้งคู่แกะสลักอย่างสวยงามกระจังและหูช้างไม้เป็นลวดลายไทยทั้งหมดทาสีแดงชาดติดสายล่อฟ้าจากลวดลายกระจังด้านบนลงดิน
22 กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเสาชิงช้าเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติเมื่อวันที่พฤศจิกายนพ . ศ . 2492 นับตั้งแต่สร้างครั้งแรกเมื่อปีพ . ศ .1253 จนถึงการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งล่าสุดซึ่งเสาชิงช้าคู่เดิมถูกถอดเปลี่ยนเมื่อปีพ . ศ . 2549 เสาชิงช้ามีอายุรวมประมาณ 222 .
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: