กลุ่มรักษ์ท้องถิ่นบ่อนอกกับโรงไฟฟ้าบ่อนอก อำเภอเมืองฯ จังหวัดประจวบคีร การแปล - กลุ่มรักษ์ท้องถิ่นบ่อนอกกับโรงไฟฟ้าบ่อนอก อำเภอเมืองฯ จังหวัดประจวบคีร ไทย วิธีการพูด

กลุ่มรักษ์ท้องถิ่นบ่อนอกกับโรงไฟฟ้า

กลุ่มรักษ์ท้องถิ่นบ่อนอกกับโรงไฟฟ้าบ่อนอก อำเภอเมืองฯ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
1. สภาพทั่วไปของกรณีศึกษา
บ่อนอกเป็นตำบลหนึ่งในเขตอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อยู่ห่างจากตัวอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ ประมาณ 24 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่อื่นๆ ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลกุยเหนือ,กุยบุรี และตำบลหาดขาด อำเภอกุยบุรี
- ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลอ่าวน้อย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อ่าวไทย
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ประเทศสหภาพเมียนมาร์
ตำบลบ่อนอกมีพื้นที่ประมาณ 189 ตารางกิโลเมตร หรือ 141,980 ไร่ สภาพพื้นที่มีลักษณะลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปสู่อ่าวไทยทางทิศตะวันออก มีถนนเพชรเกษมตัดผ่านระหว่างพื้นที่ตะวันตกกับทิศตะวันออกของตำบล พื้นที่ทางทิศตะวันตกมีคุณภาพของดินเหมาะแก่การเพราะปลูก ส่วนพื้นที่ฝั่งตะวันออกมีสภาพเป็นดินร่วนปนทราย ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมงชายฝั่ง การเพาะเลี้ยงกุ้ง และการปศุสัตว์
1.1 ลักษณะการปกครอง
ลักษณะการปกครอง ตำบลบ่อนอก อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ แบ่งการปกครองเป็น 14 หมู่บ้าน มีจำนวนครัวเรือน 1,883 ครอบครัว จำนวนประชากร ชาย 3,443 คน หญิง 3,609 คน รวมประชากรทั้งตำบล 7,052 คน
1.2 สภาพทางเศรษฐกิจ
สภาพทางเศรษฐกิจประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ ทำนา ปลูกพืชไร่ เช่น สับปะรด ว่านหางจระเข้ ปลูกพืชสวน เช่น มะพร้าว มะม่วง ขนุน การประมงชายฝั่ง การปศุสัตว์ เช่นการเลี้ยงโคขุน โคนม สุกร เป็ด ไก่ ปลา กุ้งกุลาดำ เพาะเลี้ยงลูกกุ้ง ดังนั้นสภาพเศรษฐกิจขึ้นอยู่กับภาคเกษตรกรรม
1.3 ศักยภาพของชุมชน
ศักยภาพของชุมชนในพื้นที่ก่อนที่จะมีโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าบ่อนอก มีการรวมกลุ่มกันของประชาชนในพื้นที่เพื่อร่วมกันพัฒนาอาชีพ ช่วยเหลือสังคมดังนี้ กลุ่มอาชีพปลูกสับปะรด กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กลุ่มสตรีบ่อนอก และกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร
จุดเด่นของพื้นที่ตำบลบ่อนอก ด้านทิศตะวันออกติดชายทะเลตลอดแนว เหมาะแก่การส่งเสริมการท่องเที่ยว การทำประมงชายฝั่ง และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ด้านทิศตะวันตกเป็นพื้นที่การเกษตรซึ่งมีศักยภาพที่ควรแก่การพัฒนาด้านเกษตรแผนใหม่ ที่สอดคล้องกับเศรษฐกิจชุมชนพึ่งพาตนเอง
แนวนโยบายของรัฐบาลกับการก่อสร้างโรงไฟฟ้าบ่อนอก
โรงไฟฟ้าบ่อนอก เกิดจากนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการจะให้ภาคเอกชนเป็นผู้ลงทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้าและจำหน่ายกระแสไฟฟ้าให้กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(กฟผ.) เพื่อลดภาระในการลงทุนและการกู้ยืมเงินของรัฐบาล โดยจะนำเงินดังกล่าวไปพัฒนา ชนบทแทน โรงไฟฟ้าบ่อนอกดำเนินการโดยบริษัทกัลฟ์ เพาเวอร์ เจเนอเรชั่น จำกัด ตั้งอยู่ที่ตำบลบ่อนอก อำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โรงไฟฟ้าบ่อนอก มีความสามารถที่จะผลิตไฟฟ้าได้ถึง 734 เมกะวัตต์ และ ครอบคุลมพื้นที่ตลอดแนวชายฝั่งยาวถึง 162 เฮคตาร์ โรงไฟฟ้าแห่งนี้ถูกเสนอขึ้นโดยการร่วมทุนของหลายบริษัทซึ่งรวมไปถึงบริษัท Edison Mission Energy จากแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ผ่านมาโครงการสร้างโรงไฟฟ้าแห่งนี้ ไม่เคยผ่านการทำกระ บวนการประชาพิจารณ์ที่ถูกต้อง ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการคอรัปชั่นตลอดระยะเวลาของนำเสนอโครงการจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้รัฐบาลสหรัฐอเมริกายังได้พยายามกดดันรัฐบาลไทยให้อนุมัติโครงการโดยเพิกเฉยต่อความต้องการที่แท้จริงของชาวบ้านด้วย
เหตุที่ต้องเลือกสร้างโรงไฟฟ้าที่บ่อนอกเพราะว่าตำบลบ่อนอกมีความเหมะสมในการสร้างโรงไฟฟ้า ในหลายๆกรณี เช่น สามารถส่งจ่ายกระแสไฟฟ้าไปใช้ที่ภาคกลาง ซึ่งมีการใช้ไฟฟ้าสูง และใช้ในจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ หรือส่งลงภาคใต้ได้ มีชายฝั่งทะเลที่เหมาะกับการสร้างท่าเรือน้ำลึก ที่นำเข้าถ่านหินชั้นดีจากต่างประเทศ
คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2535 เห็นชอบตามข้อเสนอของคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ เรื่องแนวทางในการดำเนินงานในอนาคตของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) โดยกำหนดขั้นตอนและแนวทางให้เอกชนเข้ามามีบทบาทเพิ่มขึ้นในกิจการไฟฟ้าในประเทศ ภายใต้โครงการผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ (Independent Power Producer, IPP) และโครงการผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายย่อย (Small Power Producer, SPP)
ต่อมาคณะรัฐมนตรี ได้มีมติเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2537 ให้ กฟผ. และสำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (สพช.) ร่วมกันร่างประกาศรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ ตามนโยบายของรัฐบาล ซึ่ง กฟผ. ได้ออกประกาศรับซื้อไฟฟ้าจาก IPP เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2537 มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการประเมินและคัดเลือกข้อเสนอการรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนเมื่อ 23 มกราคม 2538 โดยมีผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยเป็นประธาน ผู้แทน สพช. ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และผู้แทนสำนักงานเศรษฐกิจการคลังเป็นกรรมการ และเมื่อปิดรับข้อเสนอเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2538 มีผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนยื่นข้อเสนอทั้งสิ้น 32 ราย รวม 50 โครงการ
คณะอนุกรรมการฯ ได้พิจารณาคัดเลือกบริษัทผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนที่มีข้อเสนอดีที่สุด 7 ราย เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2539 เป็นโครงการที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง 4 ราย และใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง 3 ราย โครงการโรงไฟฟ้าที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ของบริษัท กัลฟ์ เพาเวอร์เจเนอเรชั่น (โรงไฟฟ้าบ่อนอก) และบริษัทยูเนี่ยน เพาเวอร์ ดิเวลลอปเมนท์ (โรงไฟฟ้าหินกรูด) เป็น 2 ใน 7 โครงการที่ได้รับการ คัดเลือก
เนื่องจากประชาชนบางส่วนในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ไม่เห็นด้วยกับโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ทั้ง 2 แห่งที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จึงได้รวมตัวกันคัดค้านและนำไปสู่การชุมนุมประท้วงและปิดกั้นการจราจรบนถนนเพชรเกษมในระหว่างวันที่ 8-10 ธันวาคม 2541 คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2541 ให้จัดทำประชาพิจารณ์เพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในฐานะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดำเนินโครงการก่อสร้างที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ทั้ง 2 แห่งดังกล่าว โดยแต่งตั้งคณะกรรมการประชาพิจารณ์ เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2542
คณะกรรมการประชาพิจารณ์โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าที่จังหวั
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
กลุ่มรักษ์ท้องถิ่นบ่อนอกกับโรงไฟฟ้าบ่อนอกอำเภอเมืองฯ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์1. สภาพทั่วไปของกรณีศึกษา บ่อนอกเป็นตำบลหนึ่งในเขตอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์อยู่ห่างจากตัวอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ประมาณ 24 กิโลเมตรมีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่อื่น ๆ ดังนี้ -ทิศเหนือติดต่อกับตำบลกุยเหนือ กุยบุรีและตำบลหาดขาดอำเภอกุยบุรี -ทิศใต้ติดต่อกับตำบลอ่าวน้อยอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ -ทิศตะวันออกติดต่อกับอ่าวไทย -ทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศสหภาพเมียนมาร์ ตำบลบ่อนอกมีพื้นที่ประมาณ 189 ตารางกิโลเมตรหรือ 141,980 ไร่สภาพพื้นที่มีลักษณะลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปสู่อ่าวไทยทางทิศตะวันออกมีถนนเพชรเกษมตัดผ่านระหว่างพื้นที่ตะวันตกกับทิศตะวันออกของตำบลพื้นที่ทางทิศตะวันตกมีคุณภาพของดินเหมาะแก่การเพราะปลูกส่วนพื้นที่ฝั่งตะวันออกมีสภาพเป็นดินร่วนปนทรายประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมงชายฝั่งการเพาะเลี้ยงกุ้งและการปศุสัตว์ 1.1 ลักษณะการปกครอง ลักษณะการปกครองตำบลบ่อนอกอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์แบ่งการปกครองเป็น 14 หมู่บ้านมีจำนวนครัวเรือน 1,883 ครอบครัวจำนวนประชากรชาย 3,443 คนหญิง 3,609 คนรวมประชากรทั้งตำบล 7,052 คน 1.2 สภาพทางเศรษฐกิจ สภาพทางเศรษฐกิจประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมได้แก่ทำนาปลูกพืชไร่เช่นสับปะรดว่านหางจระเข้ปลูกพืชสวนเช่นมะพร้าวมะม่วงขนุนการประมงชายฝั่งการปศุสัตว์เช่นการเลี้ยงโคขุนโคนมสุกรเป็ดไก่ปลากุ้งกุลาดำเพาะเลี้ยงลูกกุ้งดังนั้นสภาพเศรษฐกิจขึ้นอยู่กับภาคเกษตรกรรม 1.3 ศักยภาพของชุมชน ศักยภาพของชุมชนในพื้นที่ก่อนที่จะมีโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าบ่อนอกมีการรวมกลุ่มกันของประชาชนในพื้นที่เพื่อร่วมกันพัฒนาอาชีพช่วยเหลือสังคมดังนี้กลุ่มอาชีพปลูกสับปะรดกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตกลุ่มสตรีบ่อนอกและกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร จุดเด่นของพื้นที่ตำบลบ่อนอกด้านทิศตะวันออกติดชายทะเลตลอดแนวเหมาะแก่การส่งเสริมการท่องเที่ยวการทำประมงชายฝั่งและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำด้านทิศตะวันตกเป็นพื้นที่การเกษตรซึ่งมีศักยภาพที่ควรแก่การพัฒนาด้านเกษตรแผนใหม่ที่สอดคล้องกับเศรษฐกิจชุมชนพึ่งพาตนเอง แนวนโยบายของรัฐบาลกับการก่อสร้างโรงไฟฟ้าบ่อนอก โรงไฟฟ้าบ่อนอกเกิดจากนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการจะให้ภาคเอกชนเป็นผู้ลงทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้าและจำหน่ายกระแสไฟฟ้าให้กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(กฟผ.)เพื่อลดภาระในการลงทุนและการกู้ยืมเงินของรัฐบาลโดยจะนำเงินดังกล่าวไปพัฒนาชนบทแทนโรงไฟฟ้าบ่อนอกดำเนินการโดยบริษัทกัลฟ์เพาเวอร์เจเนอเรชั่นจำกัดตั้งอยู่ที่ตำบลบ่อนอกอำเภอเมืองจังหวัดประจวบคีรีขันธ์โรงไฟฟ้าบ่อนอกมีความสามารถที่จะผลิตไฟฟ้าได้ถึง 734 เมกะวัตต์และครอบคุลมพื้นที่ตลอดแนวชายฝั่งยาวถึง 162 เฮคตาร์โรงไฟฟ้าแห่งนี้ถูกเสนอขึ้นโดยการร่วมทุนของหลายบริษัทซึ่งรวมไปถึงบริษัทเอดิสันภารกิจพลังงานจากแคลิฟอร์เนียประเทศสหรัฐอเมริกาที่ผ่านมาโครงการสร้างโรงไฟฟ้าแห่งนี้ไม่เคยผ่านการทำกระบวนการประชาพิจารณ์ที่ถูกต้องซึ่งแสดงให้เห็นถึงการคอรัปชั่นตลอดระยะเวลาของนำเสนอโครงการจนถึงปัจจุบันนอกจากนี้รัฐบาลสหรัฐอเมริกายังได้พยายามกดดันรัฐบาลไทยให้อนุมัติโครงการโดยเพิกเฉยต่อความต้องการที่แท้จริงของชาวบ้านด้วย เหตุที่ต้องเลือกสร้างโรงไฟฟ้าที่บ่อนอกเพราะว่าตำบลบ่อนอกมีความเหมะสมในการสร้างโรงไฟฟ้าในหลายๆกรณีเช่นสามารถส่งจ่ายกระแสไฟฟ้าไปใช้ที่ภาคกลางซึ่งมีการใช้ไฟฟ้าสูงและใช้ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์หรือส่งลงภาคใต้ได้มีชายฝั่งทะเลที่เหมาะกับการสร้างท่าเรือน้ำลึกที่นำเข้าถ่านหินชั้นดีจากต่างประเทศ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2535 เห็นชอบตามข้อเสนอของคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติเรื่องแนวทางในการดำเนินงานในอนาคตของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) โดยกำหนดขั้นตอนและแนวทางให้เอกชนเข้ามามีบทบาทเพิ่มขึ้นในกิจการไฟฟ้าในประเทศภายใต้โครงการผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ IPP) และโครงการผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายย่อย (ผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก เบียส) ต่อมาคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2537 ให้กฟผ และสำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (สพช.) ร่วมกันร่างประกาศรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระตามนโยบายของรัฐบาลซึ่งกฟผ ได้ออกประกาศรับซื้อไฟฟ้าจาก IPP เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ๒๕๓๗ มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการประเมินและคัดเลือกข้อเสนอการรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนเมื่อ 23 มกราคม 2538 โดยมีผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยเป็นประธานผู้แทนสพช ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและผู้แทนสำนักงานเศรษฐกิจการคลังเป็นกรรมการและเมื่อปิดรับข้อเสนอเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2538 มีผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนยื่นข้อเสนอทั้งสิ้น 32 รายรวม 50 โครงการ คณะอนุกรรมการฯ ได้พิจารณาคัดเลือกบริษัทผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนที่มีข้อเสนอดีที่สุด 7 รายเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2539 เป็นโครงการที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง 4 รายและใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง 3 รายโครงการโรงไฟฟ้าที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ของบริษัทกัลฟ์ (โรงไฟฟ้าบ่อนอก) เพาเวอร์เจเนอเรชั่นและบริษัทยูเนี่ยนเพาเวอร์ดิเวลลอปเมนท์ (โรงไฟฟ้าหินกรูด) เป็น 2 ใน 7 โครงการที่ได้รับการคัดเลือก เนื่องจากประชาชนบางส่วนในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ไม่เห็นด้วยกับโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าทั้ง 2 แห่งที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จึงได้รวมตัวกันคัดค้านและนำไปสู่การชุมนุมประท้วงและปิดกั้นการจราจรบนถนนเพชรเกษมในระหว่างวันที่ 8-10 ธันวาคม 2541 คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2541 ให้จัดทำประชาพิจารณ์เพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในฐานะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดำเนินโครงการก่อสร้างที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ทั้ง 2 แห่งดังกล่าวโดยแต่งตั้งคณะกรรมการประชาพิจารณ์เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2542 คณะกรรมการประชาพิจารณ์โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าที่จังหวั
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
อำเภอเมืองฯ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
1
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประมาณ 24 กิโลเมตรมีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่อื่น ๆ ดังนี้
- ทิศเหนือติดต่อกับตำบลกุยเหนือ, กุยบุรีและตำบลหาดขาดอำเภอกุยบุรี
- ทิศใต้ติดต่อกับตำบลอ่าวน้อยอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์
- ทิศตะวันออกติดต่อกับอ่าวไทย
- ทิศตะวันตกติดต่อกับ
189 ตารางกิโลเมตรหรือ 141,980 ไร่ การเพาะเลี้ยงกุ้งและการปศุสัตว์
1.1 ลักษณะการปกครอง
ลักษณะการปกครองตำบลบ่อนอกอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์แบ่งการปกครองเป็น 14 หมู่บ้านมีจำนวนครัวเรือน 1,883 ครอบครัวจำนวนประชากรชาย 3,443 คนหญิง 3,609 คนรวมประชากรทั้งตำบล 7,052 คน
1.2
ได้แก่ ทำนาปลูกพืชไร่เช่นสับปะรดว่านหางจระเข้ปลูกพืชสวนเช่นมะพร้าวมะม่วงขนุนการประมงชายฝั่งการปศุสัตว์เช่นการเลี้ยงโคขุนโคนมสุกรเป็ดไก่ปลากุ้งกุลาดำเพาะเลี้ยงลูกกุ้ง ช่วยเหลือสังคมดังนี้กลุ่มอาชีพปลูกสับปะรดกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตกลุ่มสตรีบ่อนอก ด้านทิศตะวันออกติดชายทะเลตลอดแนวเหมาะแก่การส่งเสริมการท่องเที่ยวการทำประมงชายฝั่งและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โดยจะนำเงินดังกล่าวไปพัฒนาชนบทแทน เพาเวอร์เจเนอเรชั่น จำกัด ตั้งอยู่ที่ตำบลบ่อนอกอำเภอเมืองจังหวัดประจวบคีรีขันธ์โรงไฟฟ้าบ่อนอกมีความสามารถที่จะผลิตไฟฟ้าได้ถึง 734 เมกะวัตต์และ 162 เฮคตาร์ เอดิสันภารกิจพลังงานจากแคลิฟอร์เนียประเทศสหรัฐอเมริกา ไม่เคยผ่านการทำกระบวนการประชาพิจารณ์ที่ถูกต้อง ในหลาย ๆ กรณีเช่น ซึ่งมีการใช้ไฟฟ้าสูงและใช้ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์หรือส่งลงภาคใต้ได้ ได้มีมติเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2535 (กฟผ.) ภายใต้โครงการผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ, IPP) (ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก, เอสพีพี) ต่อมาคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2537 ให้กฟผ (สพช.) ตามนโยบายของรัฐบาลซึ่งกฟผ ได้ออกประกาศรับซื้อไฟฟ้าจากไอพีพีเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2537 23 มกราคม 2538 ผู้แทนสพช และเมื่อปิดรับข้อเสนอเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2538 32 รายรวม 50 โครงการคณะอนุกรรมการฯ 7 รายเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2539 4 รายและใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง 3 ราย กัลฟ์เพาเวอร์เจเนอเรชั่น (โรงไฟฟ้าบ่อนอก) และ บริษัท ยูเนี่ยนเพาเวอร์ดิเวลลอปเมนท์ (โรงไฟฟ้าหินกรูด) เป็น 2 ใน 7 โครงการที่ได้รับการ ทั้ง 2 แห่งที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 8-10 ธันวาคม 2541 คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2541 2 แห่งดังกล่าวโดยแต่งตั้งคณะกรรมการประชาพิจารณ์เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์










การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
กลุ่มรักษ์ท้องถิ่นบ่อนอกกับโรงไฟฟ้าบ่อนอกอำเภอเมืองฯจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
1 สภาพทั่วไปของกรณีศึกษา
บ่อนอกเป็นตำบลหนึ่งในเขตอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์อยู่ห่างจากตัวอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ประมาณ 24 กิโลเมตรมีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่อื่นๆดังนี้
- ทิศเหนือตำบลกุยเหนือติดต่อกับ ,กุยบุรีและตำบลหาดขาดอำเภอกุยบุรี
- ทิศใต้ติดต่อกับตำบลอ่าวน้อยอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์
- ทิศตะวันออกติดต่อกับอ่าวไทย
-
ทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศสหภาพเมียนมาร์ตำบลบ่อนอกมีพื้นที่ประมาณ 189 ตารางกิโลเมตรค็อค 141980 ไร่สภาพพื้นที่มีลักษณะลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปสู่อ่าวไทยทางทิศตะวันออกมีถนนเพชรเกษมตัดผ่านระหว่างพื้นที่ตะวันตกกับทิศตะวันออกของตำบลพื้นที่ทางทิศตะวันตกมีคุณภาพของดินเหมาะแก่การเพราะปลูกประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมงชายฝั่งการเพาะเลี้ยงกุ้งและการปศุสัตว์
1.1 ลักษณะการปกครอง
ลักษณะการปกครองตำบลบ่อนอกอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์แบ่งการปกครองเป็น 14 หมู่บ้านมีจำนวนครัวเรือน 1883 ครอบครัวจำนวนประชากรชาย 3443 คนหญิง 3609 คนรวมประชากรทั้งตำบล 7052 คน 1.2 สภาพทางเศรษฐกิจ

สภาพทางเศรษฐกิจประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมได้แก่ทำนาปลูกพืชไร่เช่นสับปะรดว่านหางจระเข้ปลูกพืชสวนเช่นมะพร้าวมะม่วงขนุนการประมงชายฝั่งการปศุสัตว์เช่นการเลี้ยงโคขุนโคนมสุกรเป็ดไก่ปลาเพาะเลี้ยงลูกกุ้งดังนั้นสภาพเศรษฐกิจขึ้นอยู่กับภาคเกษตรกรรม
1.3 ศักยภาพของชุมชน
ศักยภาพของชุมชนในพื้นที่ก่อนที่จะมีโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าบ่อนอกมีการรวมกลุ่มกันของประชาชนในพื้นที่เพื่อร่วมกันพัฒนาอาชีพช่วยเหลือสังคมดังนี้กลุ่มอาชีพปลูกสับปะรดกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร
จุดเด่นของพื้นที่ตำบลบ่อนอกด้านทิศตะวันออกติดชายทะเลตลอดแนวเหมาะแก่การส่งเสริมการท่องเที่ยวการทำประมงชายฝั่งและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่สอดคล้องกับเศรษฐกิจชุมชนพึ่งพาตนเอง
แนวนโยบายของรัฐบาลกับการก่อสร้างโรงไฟฟ้าบ่อนอก
โรงไฟฟ้าบ่อนอกเกิดจากนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการจะให้ภาคเอกชนเป็นผู้ลงทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้าและจำหน่ายกระแสไฟฟ้าให้กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ( กฟผ .
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: