การต่อต้านการใช้ความรุนแรงต่อสตรีมีที่มาจากประเทศแคนาดา เมื่อปี ค.ศ.19 การแปล - การต่อต้านการใช้ความรุนแรงต่อสตรีมีที่มาจากประเทศแคนาดา เมื่อปี ค.ศ.19 ไทย วิธีการพูด

การต่อต้านการใช้ความรุนแรงต่อสตรีมี

การต่อต้านการใช้ความรุนแรงต่อสตรีมีที่มาจากประเทศแคนาดา เมื่อปี ค.ศ.1991 (พ.ศ. 2534) ภายหลังจากเกิดเหตุการณ์สังหารหมู่นักศึกษาหญิงของมหาวิทยาลัยมอนทรีออล จำนวน 14 คน มีกลุ่มนักศึกษาชายจำนวน 1 แสนคน ที่ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาความรุนแรงต่อสตรี และต้องการยุติปัญหาดังกล่าว จึงได้เรียกร้องให้ผู้ชายทั่วโลกร่วมรับผิดชอบต่อปัญหาความรุนแรงต่อสตรี รวมทั้งแสดงตนว่าจะไม่ทำความรุนแรงต่อสตรี โดยการติดสัญลักษณ์ริบบิ้นสีขาวที่ปกเสื้อ ซึ่งหมายถึง การยอมรับว่าจะไม่ทำร้ายหรือนิ่งเฉยต่อการใช้ความรุนแรงต่อสตรีในทุกรูปแบบ ต่อมาในปี 1999 (พ.ศ. 2542) องค์การสหประชาชาติได้รับรองให้วันที่ 25 พฤศจิกายนของทุกปี เป็นวัน “ขจัดความรุนแรงต่อสตรีสากล” และในประเทศไทยได้มีมติคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2542 กำหนดให้เดือนพฤศจิกายนของทุกปี เป็นเดือนรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็กและสตรี เพื่อมุ่งเน้นที่จะป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงทั้งต่อเด็กและสตรี โดยดำเนินการการรณรงค์ตลอดเดือนพฤศจิกายนให้สังคมได้ตระหนักและร่วมป้องกันขจัดความรุนแรงต่อเด็กสตรีให้หมดสิ้นไป (Ramkhamhaeng University library, 2014) ดังนั้นกลุ่มต่อต้านการใช้ความรุนแรงต่อสตรีในสังคมไทย จึงเป็นกลุ่มบุคคลที่มีอุดมการณ์โดยมีเป้าหมายในการเปลี่ยนแปลงแนวคิด และทัศนคติต่อบทบาทและหน้าที่ของสตรีในสังคมไทย ต้องการให้สตรีไทยทุกคนได้รับสิทธิและมีความเท่าเทียมกันในสังคม สามารถใช้ชีวิตอยู่ในสังคมไทยได้อย่างมีความสุข
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การต่อต้านการใช้ความรุนแรงต่อสตรีมีที่มาจากประเทศแคนาดาเมื่อปี ค.ศ.1991 (พ.ศ. 2534) ภายหลังจากเกิดเหตุการณ์สังหารหมู่นักศึกษาหญิงของมหาวิทยาลัยมอนทรีออลจำนวน 14 คนมีกลุ่มนักศึกษาชายจำนวน 1 แสนคนที่ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาความรุนแรงต่อสตรีและต้องการยุติปัญหาดังกล่าวจึงได้เรียกร้องให้ผู้ชายทั่วโลกร่วมรับผิดชอบต่อปัญหาความรุนแรงต่อสตรีรวมทั้งแสดงตนว่าจะไม่ทำความรุนแรงต่อสตรีโดยการติดสัญลักษณ์ริบบิ้นสีขาวที่ปกเสื้อซึ่งหมายถึงการยอมรับว่าจะไม่ทำร้ายหรือนิ่งเฉยต่อการใช้ความรุนแรงต่อสตรีในทุกรูปแบบต่อมาในปี 1999 (พ.ศ. 2542) องค์การสหประชาชาติได้รับรองให้วันที่ 25 พฤศจิกายนของทุกปีเป็นวัน "ขจัดความรุนแรงต่อสตรีสากล" และในประเทศไทยได้มีมติคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2542 กำหนดให้เดือนพฤศจิกายนของทุกปีเป็นเดือนรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็กและสตรีเพื่อมุ่งเน้นที่จะป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงทั้งต่อเด็กและสตรีโดยดำเนินการการรณรงค์ตลอดเดือนพฤศจิกายนให้สังคมได้ตระหนักและร่วมป้องกันขจัดความรุนแรงต่อเด็กสตรีให้หมดสิ้นไป (มหาวิทยาลัยรามคำแหงไลบรารี 2014) ดังนั้นกลุ่มต่อต้านการใช้ความรุนแรงต่อสตรีในสังคมไทยจึงเป็นกลุ่มบุคคลที่มีอุดมการณ์โดยมีเป้าหมายในการเปลี่ยนแปลงแนวคิดและทัศนคติต่อบทบาทและหน้าที่ของสตรีในสังคมไทยต้องการให้สตรีไทยทุกคนได้รับสิทธิและมีความเท่าเทียมกันในสังคมสามารถใช้ชีวิตอยู่ในสังคมไทยได้อย่างมีความสุข
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
เมื่อปี ค.ศ. 1991 (พ.ศ. 2534) จำนวน 14 คนมีกลุ่มนักศึกษาชายจำนวน 1 แสนคน และต้องการยุติปัญหาดังกล่าว ซึ่งหมายถึง ต่อมาในปี พ.ศ. 2542 (1999) 25 พฤศจิกายนของทุกปีเป็นวัน "ขจัดความรุนแรงต่อสตรีสากล" และในประเทศไทยได้มีมติคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2542 กำหนดให้เดือนพฤศจิกายนของทุกปี (ห้องสมุดมหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2014)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
การต่อต้านการใช้ความรุนแรงต่อสตรีมีที่มาจากประเทศแคนาดาเมื่อปีค . ศ . 2534 ( พ . ศ .2534 ) ภายหลังจากเกิดเหตุการณ์สังหารหมู่นักศึกษาหญิงของมหาวิทยาลัยมอนทรีออลจำนวน 14 คนมีกลุ่มนักศึกษาชายจำนวน 1 แสนคนที่ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาความรุนแรงต่อสตรีและต้องการยุติปัญหาดังกล่าวรวมทั้งแสดงตนว่าจะไม่ทำความรุนแรงต่อสตรีโดยการติดสัญลักษณ์ริบบิ้นสีขาวที่ปกเสื้อซึ่งหมายถึงการยอมรับว่าจะไม่ทำร้ายหรือนิ่งเฉยต่อการใช้ความรุนแรงต่อสตรีในทุกรูปแบบต่อมาในปี 1999 ( พ .ศ . 2542 องค์การสหประชาชาติได้รับรองให้วันที่ 25 พฤศจิกายนของทุกปีเป็นวัน " ขจัดความรุนแรงต่อสตรีสากล " และในประเทศไทยได้มีมติคณะรัฐมนตรี ( ครม .) เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2542 กำหนดให้เดือนพฤศจิกายนของทุกปีเป็นเดือนรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็กและสตรีเพื่อมุ่งเน้นที่จะป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงทั้งต่อเด็กและสตรีห้องสมุดมหาวิทยาลัย ( รามคำแหง ,2014 ) ดังนั้นกลุ่มต่อต้านการใช้ความรุนแรงต่อสตรีในสังคมไทยจึงเป็นกลุ่มบุคคลที่มีอุดมการณ์โดยมีเป้าหมายในการเปลี่ยนแปลงแนวคิดและทัศนคติต่อบทบาทและหน้าที่ของสตรีในสังคมไทยสามารถใช้ชีวิตอยู่ในสังคมไทยได้อย่างมีความสุข
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: