งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย – ล การแปล - งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย – ล ไทย วิธีการพูด

งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถี

งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย – ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
• ฮีต หมายถึง จารีต
• สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
• เดือนอ้าย: บุญเข้ากรรม
ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
• เดือนยี่ : บุญคูณลาน
ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
• เดือนสาม : บุญข้าวจี่
ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
• เดือนสี่ : บุญพระเวส
ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน
• เดือนห้า : บุญสงกรานต์
ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
• เดือนหก : บุญบั้งไฟ
ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
• เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
• เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
• เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
การส่วงเฮือ
ส่วง หมายถึง แข่งขัน
เฮือ หมายถึง เรือ
เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
• เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
• เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
• เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
งานประเพณีต่างๆของชาวลาวนอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่และภาษาที่ไทย-ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้วงานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนักเกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่าฮีตสิบสอง•ฮีตหมายถึงจารีต•สิบสองหมายถึงเดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปีชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี•เดือนอ้าย: บุญเข้ากรรม ช่วงที่จัด: เดือนธันวาคมซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาวลักษณะงาน: จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุเข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัดเพื่อชำระจิตใจให้สะอาด•เดือนยี่: บุญคูณลานช่วงที่จัด: หลังฤดูเก็บเกี่ยวลักษณะงาน: ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าวจะมีการทำบุญขวัญข้าวมีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคลและเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น•เดือนสาม: บุญข้าวจี่ช่วงที่จัด: หลังงานมาฆะบูชาลักษณะงาน: ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้วปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือนำไปเสียบไม้ย่างจากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้วเพื่อเป็นการทำบุญ•เดือนสี่: บุญพระเวสช่วงที่จัด: เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้ลักษณะงาน: งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติเช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดกอันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถมีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน•เดือนห้า: บุญสงกรานต์ช่วงที่จัด: ตรุษสงกรานต์ลักษณะงาน: นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทยวันแรกของงานเรียกว่า "วันสงขารล่อง" ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้าเพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขงตกเย็นมีการลอยกระทงภายในกระทงบรรจุกล้วยขิงข้าวดำข้าวแดงดอกไม้ใบพลูธูปเทียนดอกดาวเรืองผมและเล็บของผู้ลอยอธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทงวันที่สองเรียกว่า "วันเนา" ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้วสิงห์คำช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอผู้เฒ่าผู้แก่หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้านขบวนพระสงฆ์นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำอวยพระให้ลูกหลานวันที่สามเรียกว่า "วันสังขารขึ้น" ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาดพากันเดินขึ้นภูษีภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบางระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุวิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษีมีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทานช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุนมีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุนวันที่สี่นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบางพระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบางปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำพระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืนจากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม•เดือนหก: บุญบั้งไฟ ช่วงที่จัด: เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึงย่างเข้าฤดูฝนลักษณะงาน: คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสานจุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมืองและขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาลปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่าง ๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้วนับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ•เดือนเจ็ด: บุญซำฮะช่วงที่จัด: เดือนเจ็ดลักษณะงาน: งานเล็ก ๆ แต่สำคัญจุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไรที่จะเกิดกับบ้านเมืองเพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข•เดือนแปด: บุญเข้าพรรษาช่วงที่จัด: วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 8ลักษณะงาน: เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทยพระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัตินับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่าง ๆ•เดือนเก้า: บุญห่อข้าวประดับดินการส่วงเฮือและการล่องเฮือไฟช่วงที่จัด: เดือนเก้าลักษณะงาน: บุญห่อข้าวประดับดินเป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษและวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาวบุหรี่หมากพลูใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้านรั้ววัดการส่วงเฮือส่วงหมายถึงแข่งขันเฮือหมายถึงเรือเป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้าทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขันในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง•เดือนสิบ: บุญข้าวสากช่วงที่จัด: วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 10ลักษณะงาน: อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตนจุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรตห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน•เดือนสิบเอ็ด: บุญออกพรรษาช่วงที่จัด: วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11ลักษณะงาน: เป็นงานตักบาตรเทโวมีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณรมีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวายมีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้งโดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาทตกแต่งสวยงามจัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ•เดือนสิบสอง: บุญกฐินช่วงที่จัด: แรม 1 ค่ำเดือน 11 – เดือนเพ็ญเดือน 12ลักษณะงาน: เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษานับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
งานประเพณีต่างๆของชาวลาวนอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่และภาษาที่ไทย - ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว ฮีตสิบสอง
•ฮีตหมายถึงจารีต
•สิบสองหมายถึงเดือนทั้ง 12 เดือนอ้าย: บุญเข้ากรรมช่วงที่จัด: เดือนธันวาคมซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาวลักษณะงาน: เพื่อรับชำระจิตใจให้สะอาด•เดือนยี่: บุญคูณลานช่วงที่จัด: หลังฤดูเก็บเกี่ยวลักษณะงาน: จะมีการทำบุญขวัญข้าว เดือนสาม: บุญข้าวจี่ช่วงที่จัด: หลังงานมาฆะบูชาลักษณะงาน: ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือนำไปเสียบไม้ย่าง เพื่อรับเป็นการทำบุญ•เดือนสี่: บุญพระเวสช่วงที่จัด: : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน•เดือนห้า: บุญสงกรานต์ช่วงที่จัด: ตรุษสงกรานต์ลักษณะงาน: "วันสงขารล่อง" ตกเย็นมีการลอยกระทงภายในกระทงบรรจุกล้วยขิงข้าวดำข้าวแดงดอกไม้ใบพลูธูปเทียนดอกดาวเรืองผมและเล็บของผู้ลอย เรียกว่า "วันเนา" สิงห์คำ ผู้เฒ่าผู้แก่หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้านขบวนพระสงฆ์นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำอวยพระให้ลูกหลานวันที่สามเรียกว่าได้ "วันสังขารขึ้น" พากันเดินขึ้นภูษีภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง 3 วัน 3 คืน เดือนหก: บุญบั้งไฟช่วงที่จัด: เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึงย่างเข้าฤดูฝนลักษณะงาน: คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสานจุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมืองและขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล นับเป็นงานที่กระทำกันมา แต่โบราณ•เดือนเจ็ด: บุญซำฮะช่วงที่จัด: เดือนเจ็ดลักษณะงาน: งานเล็ก ๆ แต่สำคัญ ที่จะเกิดกับบ้านเมืองเพื่อรับให้บ้านเมืองมีความสงบสุข•เดือนแปด: บุญเข้าพรรษาช่วงที่จัด: วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 8 ลักษณะงาน: พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ เดือนเก้า: บุญห่อข้าวประดับดินการส่วงเฮือและการล่องเฮือไฟช่วงที่จัด: เดือนเก้าลักษณะงาน: บุญห่อข้าวประดับดิน ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาวบุหรี่หมากพลู รั้ววัดการส่วงเฮือส่วงหมายถึงแข่งขันเฮือหมายถึง ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน เดือนสิบ: บุญข้าวสากช่วงที่จัด: วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 10 ลักษณะงาน: ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน เดือนสิบเอ็ด: บุญออกพรรษาช่วงที่จัด: วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 ลักษณะงาน: เป็นงานตักบาตรเทโวมีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณรมีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาทตกแต่งสวยงาม เดือนสิบสอง: บุญกฐินช่วงที่จัด: แรม 1 ค่ำเดือน 11 - เดือนเพ็ญเดือน 12 ลักษณะงาน:













































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The second day is called "this round bamboo basket." the morning parade and grandfather grandma yoe yoe Figurine manipulation and Leo glass Leo words. Afternoon parade which brings by the grandfather grandmother yoe yoe. The elders, the village chief, each village, the monks, Songkran (her water).งานประเพณีต่างๆของชาวลาวนอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่และภาษาที่ไทย–ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้วงานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนักฮีตสิบสอง
จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุเข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัดเพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
-
เดือนยี่ : บุญคูณลานช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
ลักษณะงาน :ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าวจะมีการทำบุญขวัญข้าวมีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคลและเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
-
เดือนสาม : บุญข้าวจี่ช่วงที่จัด :บริการฮีตหมายถึงจารีต
- สิบสองหมายถึงเดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
-
เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรมช่วงที่จัด : เดือนธันวาคมซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
ลักษณะงาน :หลังงานมาฆะบูชา
ลักษณะงาน :ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้วปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือนำไปเสียบไม้ย่างจากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้เพื่อเป็นการทำบุญ
บริการเดือนสี่ : บุญพระเวส
ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
ลักษณะงาน :งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติเช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดกอันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน
วันแรกของงานเรียกว่า " วันสงขารล่อง " ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้าเพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขงตกเย็นมีการลอยกระทงภายในกระทงบรรจุกล้วยขิงข้าวดำข้าวแดงดอกไม้ใบพลูธูปเทียนผมและเล็บของผู้ลอยอธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
บริการเดือนห้า : บุญสงกรานต์
ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์ลักษณะงานนับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย

:
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: