ปัญหาวัยรุ่นติดโทรศัพท์มือถือสาเหตุหลักว่าทำไมวัยรุ่นมีโทรศัพท์มือถือ  การแปล - ปัญหาวัยรุ่นติดโทรศัพท์มือถือสาเหตุหลักว่าทำไมวัยรุ่นมีโทรศัพท์มือถือ  ไทย วิธีการพูด

ปัญหาวัยรุ่นติดโทรศัพท์มือถือสาเหตุ

ปัญหาวัยรุ่นติดโทรศัพท์มือถือ
สาเหตุหลักว่าทำไมวัยรุ่นมีโทรศัพท์มือถือ

วัยรุ่นใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อที่จะติดต่อพ่อและคุณแม่ในกรณีที่พวกเขาคิดถึงคุณพ่อ คุณแม่หรือต้องการที่ติดต่อกิจธุระต่างๆและเพื่อความสะดวกในการติดต่อสื่อสารกับบุคคลใดๆ



สถิติการใช้มือถือของคนไทยในปัจจุบัน

เปิดเผยการสำรวจเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของครัวเรือนไทยว่า

ในช่วงปี 2546-2549 ว่า การใช้โทรศัพท์มือถือของคนไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา ระหว่างปี 2546-2549 โดยในปี 2549 จำนวนคนไทยใช้โทรศัพท์มือถือเพิ่มขึ้นจากปี 2546 เกือบเท่าตัว คือ จากประชากร 100 คน มีโทรศัพท์มือถือ ใช้ 23 คนในปี 2546 เพิ่มขึ้นเป็น 42 คนในปี 2549

โดยกลุ่มวัยรุ่น มีสัดส่วนผู้ใช้โทรศัพท์เพิ่มขึ้นประมาณเท่าตัว ซึ่งมากกว่าทุกกลุ่มอายุ วัยรุ่นไทยมีและใช้โทรศัพท์มือถือเป็นอันดับ 1ของเอเชีย และทำสถิติพูดคุยผ่านโทรศัพท์มือถือนานถึง 1.7 ชั่วโมงต่อวัน

วัยรุ่นใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อ ???

ในการใช้โทรศัพท์มือถือของวัยรุ่น นอกจากใช้ติดต่อสื่อสารแล้วยังใช้บริการอื่นอีก คือ เพื่อส่งข้อความและรูปภาพ มากที่สุด ร้อยละ 50.0 รองลงมาเป็นโหลดเพลง คิดเป็นร้อยละ 46.4 และเล่นเกมอีกร้อยละ 14.8ร้อยละ 4.8 เล่นอินเทอร์เน็ต / แชท วัยรุ่นไทยมีและใช้โทรศัพท์มือถือเป็นอันดับ 1ของเอเชีย และทำสถิติพูดคุยผ่านโทรศัพท์มือถือนานถึง 1.7 ชั่วโมงต่อวัน



ค่าใช้จ่ายในการใช้มือถือของวัยรุ่น

ค่าใช้จ่ายต่อเดือนเกี่ยวกับโทรศัพท์มือถือ คือ

น้อยกว่า 500 บาทร้อยละ 54.6

501 -1,000 บาทร้อยละ 35.1 1

1, 001 -1,500 บาทร้อยละ 7.5

มากกว่า 1,500 บาทร้อยละ 2.8

ขณะที่ความคิดเห็นเกี่ยวกับความจำเป็นของโทรศัพท์มือถือในชีวิตประจำวัน

คือเห็นว่าจำเป็นร้อยละ 87.4 เห็นว่าไม่จำเป็นร้อยละ 12.6

ผลเสียของการติดโทรศัพท์มือถือ

1. มีผลให้เรียนตกต่ำ ใจร้อน ขี้เหงา

2.มือถือทำให้เกิด “โรคด่วนได้” รอคอยไม่เป็น รออะไรไม่ได้ เพราะมือถือสามารถส่งข้อความสั้นได้ภายในไม่กี่นาที และได้รับคำตอบกลับมารวดเร็ว

3.ทำให้เกิดโรคเสพติดมือถือ เนื่องจากขาดมือถือไม่ได้ จนไม่เป็นอันเรียนหนังสือ

4.โทรศัพท์มือถือทำให้เกิดอันตราย จากการวิจัยจากมหาวิทยาลัยลุนด์ของสวีเดนกล่าวว่า “การที่สมองได้รับคลื่นไมโครเวฟจากโทรศัพท์มือถือนั้น” เป็น “การทดลองทางชีวภาพที่ยิ่งใหญ่ที่สุดเท่าที่มีของมนุษย์” และเขากำลังวิตกว่าเมื่อเทคโนโลยีไร้สายขยายตัวออกไปเรื่อย ๆ ผู้คนอาจ “จมอยู่ในทะเลคลื่นไมโครเวฟ”

พฤติกรรมแย่ๆจากการใช้มือถือนานๆ



– เห่อตามแฟชั่น

นิยมเปลี่ยนมือถือไปตามแฟชั่นเพื่อให้อินเทรนด์ ดูทันสมัย และบ้างก็เปลี่ยนเพื่อให้ดูเป็นคนมีระดับ มีฐานะ ทั้งที่ บางคนแทบจะไม่ได้ใช้เพิ่มเติม จากเดิมเลยก็ตาม

– ทรัพย์จาง จากการเห่อตามแฟชั่น

หลายคนต้องหาเงินเพิ่ม เพื่อหาซื้อมือถือรุ่นใหม่อยู่ตลอดเวลา จึงเกิดสภาวะทรัพย์จาง



– ขาดกาลเทศะ และมารยาท

จากการที่เราไม่ค่อยอดทนรอ ที่ว่านี่เอง ทำให้หลายๆ ครั้ง เมื่อนึกอะไรขึ้นมาได้ ก็จะกดโทรศัพท์ไปหาบุคคลที่เราอยากจะพูด อยากถามในทันที ซึ่งบางครั้ง อาจจะทำให้เขาไม่พอใจ หรือโกรธที่เราไปขัดจังหวะการกิน การนอน การพักผ่อน ฯลฯ ของเขาอยู่ก็ได้



– ขาดมนุษย์สัมพันธ์

วัยรุ่นอยู่บ้าน แทนที่จะพูดคุยกับพ่อแม่ผู้ปกครอง หรือทำร่วมกับญาติพี่น้อง ก็มักรีบหนีขึ้นห้องโทรไปหาเพื่อน และใช้เวลาเป็นชั่วโมงๆ พอนานๆ ไปความสัมพันธ์ในบ้านก็ห่างเหิน โดยไม่สนใจผู้อื่นอีกต่อไป
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ปัญหาวัยรุ่นติดโทรศัพท์มือถือสาเหตุหลักว่าทำไมวัยรุ่นมีโทรศัพท์มือถือ วัยรุ่นใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อที่จะติดต่อพ่อและคุณแม่ในกรณีที่พวกเขาคิดถึงคุณพ่อ คุณแม่หรือต้องการที่ติดต่อกิจธุระต่างๆและเพื่อความสะดวกในการติดต่อสื่อสารกับบุคคลใดๆ สถิติการใช้มือถือของคนไทยในปัจจุบัน เปิดเผยการสำรวจเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของครัวเรือนไทยว่าในช่วงปี 2546-2549 ว่า การใช้โทรศัพท์มือถือของคนไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา ระหว่างปี 2546-2549 โดยในปี 2549 จำนวนคนไทยใช้โทรศัพท์มือถือเพิ่มขึ้นจากปี 2546 เกือบเท่าตัว คือ จากประชากร 100 คน มีโทรศัพท์มือถือ ใช้ 23 คนในปี 2546 เพิ่มขึ้นเป็น 42 คนในปี 2549โดยกลุ่มวัยรุ่น มีสัดส่วนผู้ใช้โทรศัพท์เพิ่มขึ้นประมาณเท่าตัว ซึ่งมากกว่าทุกกลุ่มอายุ วัยรุ่นไทยมีและใช้โทรศัพท์มือถือเป็นอันดับ 1ของเอเชีย และทำสถิติพูดคุยผ่านโทรศัพท์มือถือนานถึง 1.7 ชั่วโมงต่อวันวัยรุ่นใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อ ??? ในการใช้โทรศัพท์มือถือของวัยรุ่น นอกจากใช้ติดต่อสื่อสารแล้วยังใช้บริการอื่นอีก คือ เพื่อส่งข้อความและรูปภาพ มากที่สุด ร้อยละ 50.0 รองลงมาเป็นโหลดเพลง คิดเป็นร้อยละ 46.4 และเล่นเกมอีกร้อยละ 14.8ร้อยละ 4.8 เล่นอินเทอร์เน็ต / แชท วัยรุ่นไทยมีและใช้โทรศัพท์มือถือเป็นอันดับ 1ของเอเชีย และทำสถิติพูดคุยผ่านโทรศัพท์มือถือนานถึง 1.7 ชั่วโมงต่อวัน ค่าใช้จ่ายในการใช้มือถือของวัยรุ่นค่าใช้จ่ายต่อเดือนเกี่ยวกับโทรศัพท์มือถือ คือน้อยกว่า 500 บาทร้อยละ 54.6501 -1,000 บาทร้อยละ 35.1 11, 001 -1,500 บาทร้อยละ 7.5มากกว่า 1,500 บาทร้อยละ 2.8ขณะที่ความคิดเห็นเกี่ยวกับความจำเป็นของโทรศัพท์มือถือในชีวิตประจำวันคือเห็นว่าจำเป็นร้อยละ 87.4 เห็นว่าไม่จำเป็นร้อยละ 12.6ผลเสียของการติดโทรศัพท์มือถือ 1. มีผลให้เรียนตกต่ำ ใจร้อน ขี้เหงา 2.มือถือทำให้เกิด “โรคด่วนได้” รอคอยไม่เป็น รออะไรไม่ได้ เพราะมือถือสามารถส่งข้อความสั้นได้ภายในไม่กี่นาที และได้รับคำตอบกลับมารวดเร็ว3.ทำให้เกิดโรคเสพติดมือถือ เนื่องจากขาดมือถือไม่ได้ จนไม่เป็นอันเรียนหนังสือ4.โทรศัพท์มือถือทำให้เกิดอันตราย จากการวิจัยจากมหาวิทยาลัยลุนด์ของสวีเดนกล่าวว่า “การที่สมองได้รับคลื่นไมโครเวฟจากโทรศัพท์มือถือนั้น” เป็น “การทดลองทางชีวภาพที่ยิ่งใหญ่ที่สุดเท่าที่มีของมนุษย์” และเขากำลังวิตกว่าเมื่อเทคโนโลยีไร้สายขยายตัวออกไปเรื่อย ๆ ผู้คนอาจ “จมอยู่ในทะเลคลื่นไมโครเวฟ”พฤติกรรมแย่ๆจากการใช้มือถือนานๆ – เห่อตามแฟชั่นนิยมเปลี่ยนมือถือไปตามแฟชั่นเพื่อให้อินเทรนด์ ดูทันสมัย และบ้างก็เปลี่ยนเพื่อให้ดูเป็นคนมีระดับ มีฐานะ ทั้งที่ บางคนแทบจะไม่ได้ใช้เพิ่มเติม จากเดิมเลยก็ตาม
– ทรัพย์จาง จากการเห่อตามแฟชั่น

หลายคนต้องหาเงินเพิ่ม เพื่อหาซื้อมือถือรุ่นใหม่อยู่ตลอดเวลา จึงเกิดสภาวะทรัพย์จาง



– ขาดกาลเทศะ และมารยาท

จากการที่เราไม่ค่อยอดทนรอ ที่ว่านี่เอง ทำให้หลายๆ ครั้ง เมื่อนึกอะไรขึ้นมาได้ ก็จะกดโทรศัพท์ไปหาบุคคลที่เราอยากจะพูด อยากถามในทันที ซึ่งบางครั้ง อาจจะทำให้เขาไม่พอใจ หรือโกรธที่เราไปขัดจังหวะการกิน การนอน การพักผ่อน ฯลฯ ของเขาอยู่ก็ได้



– ขาดมนุษย์สัมพันธ์

วัยรุ่นอยู่บ้าน แทนที่จะพูดคุยกับพ่อแม่ผู้ปกครอง หรือทำร่วมกับญาติพี่น้อง ก็มักรีบหนีขึ้นห้องโทรไปหาเพื่อน และใช้เวลาเป็นชั่วโมงๆ พอนานๆ ไปความสัมพันธ์ในบ้านก็ห่างเหิน โดยไม่สนใจผู้อื่นอีกต่อไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
2546-2549 ว่า ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาระหว่างปี 2546-2549 โดยในปี 2549 2546 เกือบเท่าตัวคือจากประชากร 100 คนมีโทรศัพท์มือถือใช้ 23 คนในปี 2546 เพิ่มขึ้นเป็น 42 คนในปี 2549 โดยกลุ่มวัยรุ่น ซึ่งมากกว่าทุกกลุ่มอายุ 1 ของเอเชีย 1.7 ??? ในการใช้โทรศัพท์มือถือของวัยรุ่น คือเพื่อส่งข้อความและรูปภาพมากที่สุด ร้อยละ 50.0 รองลงมาเป็นโหลดเพลงคิดเป็น ร้อยละ 46.4 และเล่นเกมอีกร้อยละ 14.8 ร้อยละ 4.8 เล่นอินเทอร์เน็ต / แชท 1 ของเอเชีย 1.7 คือน้อยตั้งขึ้นกว่า 500 บาทร้อยละ 54.6 501 -1,000 บาทร้อยละ 35.1 1 1 001 -1,500 บาทร้อยละ 7.5 มากกว่า 1,500 บาทร้อยละ 87.4 เห็นว่าไม่จำเป็นร้อยละ 12.6 ผลเสียของการติดโทรศัพท์มือถือ1 มีผลให้เรียนตกต่ำใจร้อนขี้เหงา2. มือถือทำให้เกิด "โรคด่วนได้" รอคอยไม่เป็นรออะไรไม่ได้ เนื่องจากขาดมือถือไม่ได้ เป็น ๆ ผู้คนอาจ ดูทันสมัย มีฐานะทั้งที่บางคนแทบจะ ไม่ได้ใช้เพิ่มเติมจากเดิมเลยก็ตาม - ทรัพย์จาง จึงเกิดสภาวะทรัพย์จาง- ขาดกาลเทศะ ที่ว่านี่เองทำให้หลาย ๆ ครั้งเมื่อ นึกอะไรขึ้นมาได้ อยากถามในทันทีซึ่งบางครั้งอาจ จะทำให้เขาไม่พอใจหรือโกรธที่เราไปขัดจังหวะการกินการนอนการพักผ่อน ฯลฯ ของเขาอยู่ก็ได้ - ขาดมนุษย์สัมพันธ์วัยรุ่นขณะนี้ร้านบ้านแทนที่จะพูดคุยกับพ่อคุณแม่คุณผู้ปกครองหรือทำร่วมกับญาติ พี่น้องก็มักรีบหนีขึ้นห้องโทร ไปหาเพื่อนและใช้เวลาเป็นชั่วโมง ๆ พอนาน ๆ ไปความสัมพันธ์ในบ้านก็ห่างเหินโดยไม่สนใจผู้อื่นอีกต่อไป




































































การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: