เคนอิจิ โอมาเอะ (Kenichi Ohmae) นักคิด นักวิชาการ และที่ปรึกษาทางธุรกิ การแปล - เคนอิจิ โอมาเอะ (Kenichi Ohmae) นักคิด นักวิชาการ และที่ปรึกษาทางธุรกิ ไทย วิธีการพูด

เคนอิจิ โอมาเอะ (Kenichi Ohmae) นัก

เคนอิจิ โอมาเอะ (Kenichi Ohmae) นักคิด นักวิชาการ และที่ปรึกษาทางธุรกิจ ชาวญี่ปุ่นได้ศึกษาวิเคราะห์และคาดการณ์ผลของการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ ทางเศรษฐกิจและสังคมไว้ในหนังสือ "โลกไร้พรมแดน: The Borderless World" มีใจความสรุปได้ว่า โลกในอนาคตจะเป็นโลกที่พรมแดนจะหมดความหมายลง การเคลื่อนย้ายของเงินทุน การกระจายของข่าวสารข้อมูลสารสนเทศทั้งทางการค้า และการลงทุนจะเกิดขึ้นอย่างแพร่หลายและไม่ถูกสะกัดกั้นด้วยเส้นแบ่งพรมแดนระหว่างประเทศอีกต่อไป การเคลื่อนย้ายปัจจัยทางการผลิตสามารถกระทำได้อย่างเสรี และแนะนำให้องค์การธุรกิจปรับปรุงโครงสร้างและระบบการจัดการใหม่3 เพื่อให้การดำเนินงานสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ปรากฏว่าสิ่งที่เขาคาดการณ์ไว้ได้เกิดขึ้นอย่างแม่นยำ ทำให้ทุกคนเริ่มให้ความสนใจ และให้ความสำคัญกับความคิดของเขามากขึ้น

เคนอิจิชิ โอมาเอะ ได้แต่งหนังสืออีกเล่มชื่อ "การสิ้นสุดของความเป็นรัฐชาติ: The End of the Nation State" ซึ่งเป็นแนวคิดที่พัฒนาต่อเนื่องจาก การเกิดขึ้นของโลกไร้พรมแดน โดยคาดการณ์ว่าจากสิ่งแวดล้อมและสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในช่วงเวลาผ่านมา เป็นผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ในทศวรรษนี้คือ ปรากฏการณ์ที่บทบาทของรัฐชาติ (Nation State) ในด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุนจะลดความสำคัญลง โดยจะมีสิ่งเกิดขึ้นมาทดแทนใหม่และมีอิทธิพลอย่างมากคือ ภูมิภาครัฐ (Region State) ซึ่งเป็นการรวมตัวกันเพื่อร่วมมือทางเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ในการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ ตัวอย่างเช่น การเกิดขึ้นของ สหภาพยุโรป หรือเรียกชื่อย่อว่า กลุ่มอียู ที่ปัจจุบันมีเงินสกุลยูโร (Euro) ใช้ร่วมกันอย่างเป็นทางการ โดยกำหนดให้เป็นเงินสกุลหลักสกุลเดียวที่ใช้ภายในประเทศสมาชิก การเคลื่อนไหวล่าสุดมีการจัดประชุมเพื่อขยายจำนวนสมาชิกเพิ่มขึ้นอีก สิบประเทศ ทำให้มีประชากรรวมกันมากกว่า 430 ล้านคน ซึ่งจะเป็นตลาดที่มีขนาดใหญ่ โดยมีกลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่เป็นประชากรที่มีกำลังซื้อสูงมาก การรวมตัวดัง กล่าวส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในหลายด้าน เช่น ความเสี่ยงที่เกิดจากอัตราแลกเปลี่ยนที่มีในอดีตจะไม่ปรากฎอีกต่อไป ปริมาณการค้าระหว่างประเทศสมาชิกของกลุ่มอียูจะมีเพิ่มมากขึ้น การเคลื่อนย้ายเงินลงทุนระหว่างประเทศทำได้สะดวกมากขึ้น เป็นผลทำให้มีการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญทั้งในภาครัฐบาล เอกชน และประชาชนในฐานะผู้บริโภค การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทำให้ศตวรรษที่ 21 เป็นการก้าวเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจที่เป็นเศรษฐกิจโลก (Global Economy) อย่างแท้จริง

ระบบเศรษฐกิจที่เป็นเศรษฐกิจโลกนี้ จะมีปัจจัยที่มีพลังขับเคลื่อนและผลักดันสำคัญ 4 ประการ ซึ่งนักบริหารควรนำมาศึกษาวิเคราะห์เพื่อประกอบการตัดสินใจ คือ

1. การลงทุน (Investment) การเคลื่อนย้ายของสินค้า และ เงินทุนจะไม่ถูกสกัดกั้นด้วยข้อจำกัดของรัฐชาติอีกต่อไป กฎ ระเบียบ ข้อบังคับและการกีดกันต่างๆ จะถูกยกเลิกการเปิดเสรีทางการค้าและการลงทุนจะเป็นปรากฏการณ์ที่ชัดเจนยิ่งขึ้น สังเกตได้จากการขยายตัวของอุตสาหกรรมภายในประเทศต่างๆที่เกิดขึ้นจากการลงทุนทางตรง การเคลื่อนย้ายของเงินลงทุน และปัจจัยในการผลิตที่มีความเสรีมากขึ้น ทำให้การไหลเวียนของเงินทุนเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีความคล่องตัวมากขึ้น จากธรรมชาติของเงินทุนที่เคลื่อนย้ายตลอดเวลา จากจุดที่มีผลตอบแทนต่ำไปยัง จุดที่มีผลประโยชน์ตอบแทนสูงกว่า ซึ่งแตกต่างจากน้ำที่จะไหลจากที่สูงไปหาที่ต่ำ ดังนั้นการจัดการไม่ว่าจะกระทำในฐานะบทบาทของรัฐบาล หรือ ธุรกิจ สิ่งสำคัญที่จำเป็นต้องทำเพื่อดึงดูดเงินลงทุนทางตรงให้เข้ามาในประเทศคือ การเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการให้ธุรกิจสามารถสร้างผลตอบแทนในการลงทุนได้สูงกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับองค์การ และประเทศอื่น ซึ่งอาจกระทำได้ด้วยการส่งเสริมให้มีการพัฒนารูปแบบธุรกิจที่สามารถแข่งขันได้ในอนาคต มีการพัฒนาทางการจัดการที่เหมาะสมไปพร้อมกับการสร้างให้เกิดพลวัตในการแข่งขัน โดยศึกษากลยุทธ์ของคู่แข่งขันเพื่อพัฒนาตัวเองให้ก้าวล้ำหน้ากว่า ด้วยการปรับปรุงเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันตลอดเวลา การดำเนินการดังกล่าวทั้งหมดมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างให้เกิดผลตอบแทนในการ ลงทุนที่สูงกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับองค์การอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน ผลจากการกระทำคือ จะมีเงินลงทุนไหลเข้ามาลงทุนในประเทศ และองค์การนั้นตลอดเวลา มีสิ่งที่น่าสังเกตอย่างหนึ่งคือ เงินทุนเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นเงินทุนของภาคเอกชน ซึ่งเป็นเงินที่สำรองไว้เพื่อการลงทุนด้วยการหาผลประโยชน์ ในรูปของกองทุนบำเหน็จบำนาญ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพของพนักงานในองค์การของประเทศอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ ที่แสวงหาผลตอบแทนในการลงทุนที่สูงกว่าในตลาดเงินและตลาดทุนทั่วโลก ปรากฏการณ์เช่นนี้แตกต่างจากในอดีตมากคือ ในอดีตเงินลงทุนส่วนใหญ่จะเป็นเงินที่มาจากภาครัฐบาลซึ่งมักจะอยู่ในรูปของการติดต่อระหว่างรัฐบาลกับรัฐบาล เน้นในเรื่องการช่วยเหลือ สนับสนุน และส่งเสริมการพัฒนาประเทศมากกว่า ซึ่งไม่คำนึงถึงผลตอบแทนจากการลงทุนมากนัก ทำให้การเคลื่อนย้ายของเงินทุนมีน้อยเมื่อเทียบกับปัจจุบัน ดังนั้นการพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพของประเทศ จึงควรมุ่งแก้ปัญหาที่ทำให้เงินทุนไหลออกนอกประเทศ ซึ่งมีสาเหตุหลักสำคัญคือ ผลตอบแทนในการลงทุนที่ลดลง โดยแก้ไขได้ด้วยการพัฒนาให้เกิดความมุ่งมั่นในการเพิ่มผลิตภาพ และประสิทธิภาพขององค์การธุรกิจเพื่อให้มีผลประกอบการโดยรวมสูงขึ้น ทั้งนี้ควรมีหน่วยงานภาครัฐช่วยทำหน้าที่เป็นกลไกในการผลักดันและส่งเสริม ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวนอกจากเป็นการสร้างให้ธุรกิจมีความเข้มแข็งมากขึ้นแล้ว ยังสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุนด้วย ซึ่งในท้ายที่สุดจะเป็นการสร้างให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขันแบบยั่งยืน
2. อุตสาหกรรม (Industry) อุตสาหกรรมจะเข้ามามีอิทธิพลมากขึ้นโดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่สร้างให้เกิดคุณค่าเพิ่ม การมุ่งเน้นงานวิจัย และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สร้างให้เกิดคุณค่า เป็นสิ่งที่องค์การธุรกิจต้องคำนึงถึงเป็นสิ่งแรก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เคนอิจิโอมาเอะ (Kenichi Ohmae) นักคิดนักวิชาการและที่ปรึกษาทางธุรกิจชาวญี่ปุ่นได้ศึกษาวิเคราะห์และคาดการณ์ผลของการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ทางเศรษฐกิจและสังคมไว้ในหนังสือ "โลกไร้พรมแดน: โลกไร้ขอบ" มีใจความสรุปได้ว่าโลกในอนาคตจะเป็นโลกที่พรมแดนจะหมดความหมายลงการเคลื่อนย้ายของเงินทุนการกระจายของข่าวสารข้อมูลสารสนเทศทั้งทางการค้าและการลงทุนจะเกิดขึ้นอย่างแพร่หลายและไม่ถูกสะกัดกั้นด้วยเส้นแบ่งพรมแดนระหว่างประเทศอีกต่อไปการเคลื่อนย้ายปัจจัยทางการผลิตสามารถกระทำได้อย่างเสรีและแนะนำให้องค์การธุรกิจปรับปรุงโครงสร้างและระบบการจัดการใหม่3 เพื่อให้การดำเนินงานสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นปรากฏว่าสิ่งที่เขาคาดการณ์ไว้ได้เกิดขึ้นอย่างแม่นยำทำให้ทุกคนเริ่มให้ความสนใจและให้ความสำคัญกับความคิดของเขามากขึ้นเคนอิจิชิโอมาเอะได้แต่งหนังสืออีกเล่มชื่อ "การสิ้นสุดของความเป็นรัฐชาติ: จุดสิ้นสุดของรัฐชาติ" ซึ่งเป็นแนวคิดที่พัฒนาต่อเนื่องจากการเกิดขึ้นของโลกไร้พรมแดนโดยคาดการณ์ว่าจากสิ่งแวดล้อมและสถานการณ์ทางเศรษฐกิจการเมืองและสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในช่วงเวลาผ่านมาเป็นผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ในทศวรรษนี้คือปรากฏการณ์ที่บทบาทของรัฐชาติ (รัฐชาติ) ในด้านเศรษฐกิจการค้าและการลงทุนจะลดความสำคัญลงโดยจะมีสิ่งเกิดขึ้นมาทดแทนใหม่และมีอิทธิพลอย่างมากคือภูมิภาครัฐ (Reกิอนสภาพ) ซึ่งเป็นการรวมตัวกันเพื่อร่วมมือทางเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ในการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจตัวอย่างเช่นการเกิดขึ้นของสหภาพยุโรปหรือเรียกชื่อย่อว่ากลุ่มอียูที่ปัจจุบันมีเงินสกุลยูโร (ยูโร) ใช้ร่วมกันอย่างเป็นทางการโดยกำหนดให้เป็นเงินสกุลหลักสกุลเดียวที่ใช้ภายในประเทศสมาชิกการเคลื่อนไหวล่าสุดมีการจัดประชุมเพื่อขยายจำนวนสมาชิกเพิ่มขึ้นอีกสิบประเทศทำให้มีประชากรรวมกันมากกว่า 430 ล้านคนซึ่งจะเป็นตลาดที่มีขนาดใหญ่โดยมีกลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่เป็นประชากรที่มีกำลังซื้อสูงมากการรวมตัวดังกล่าวส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในหลายด้านเช่นความเสี่ยงที่เกิดจากอัตราแลกเปลี่ยนที่มีในอดีตจะไม่ปรากฎอีกต่อไปปริมาณการค้าระหว่างประเทศสมาชิกของกลุ่มอียูจะมีเพิ่มมากขึ้นการเคลื่อนย้ายเงินลงทุนระหว่างประเทศทำได้สะดวกมากขึ้นเป็นผลทำให้มีการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญทั้งในภาครัฐบาลเอกชนและประชาชนในฐานะผู้บริโภคการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทำให้ศตวรรษที่ 21 เป็นการก้าวเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจที่เป็นเศรษฐกิจโลก (เศรษฐกิจโลก) อย่างแท้จริงระบบเศรษฐกิจที่เป็นเศรษฐกิจโลกนี้ จะมีปัจจัยที่มีพลังขับเคลื่อนและผลักดันสำคัญ 4 ประการ ซึ่งนักบริหารควรนำมาศึกษาวิเคราะห์เพื่อประกอบการตัดสินใจ คือ1. การลงทุน (Investment) การเคลื่อนย้ายของสินค้า และ เงินทุนจะไม่ถูกสกัดกั้นด้วยข้อจำกัดของรัฐชาติอีกต่อไป กฎ ระเบียบ ข้อบังคับและการกีดกันต่างๆ จะถูกยกเลิกการเปิดเสรีทางการค้าและการลงทุนจะเป็นปรากฏการณ์ที่ชัดเจนยิ่งขึ้น สังเกตได้จากการขยายตัวของอุตสาหกรรมภายในประเทศต่างๆที่เกิดขึ้นจากการลงทุนทางตรง การเคลื่อนย้ายของเงินลงทุน และปัจจัยในการผลิตที่มีความเสรีมากขึ้น ทำให้การไหลเวียนของเงินทุนเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีความคล่องตัวมากขึ้น จากธรรมชาติของเงินทุนที่เคลื่อนย้ายตลอดเวลา จากจุดที่มีผลตอบแทนต่ำไปยัง จุดที่มีผลประโยชน์ตอบแทนสูงกว่า ซึ่งแตกต่างจากน้ำที่จะไหลจากที่สูงไปหาที่ต่ำ ดังนั้นการจัดการไม่ว่าจะกระทำในฐานะบทบาทของรัฐบาล หรือ ธุรกิจ สิ่งสำคัญที่จำเป็นต้องทำเพื่อดึงดูดเงินลงทุนทางตรงให้เข้ามาในประเทศคือ การเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการให้ธุรกิจสามารถสร้างผลตอบแทนในการลงทุนได้สูงกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับองค์การ และประเทศอื่น ซึ่งอาจกระทำได้ด้วยการส่งเสริมให้มีการพัฒนารูปแบบธุรกิจที่สามารถแข่งขันได้ในอนาคต มีการพัฒนาทางการจัดการที่เหมาะสมไปพร้อมกับการสร้างให้เกิดพลวัตในการแข่งขัน โดยศึกษากลยุทธ์ของคู่แข่งขันเพื่อพัฒนาตัวเองให้ก้าวล้ำหน้ากว่า ด้วยการปรับปรุงเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันตลอดเวลา การดำเนินการดังกล่าวทั้งหมดมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างให้เกิดผลตอบแทนในการ ลงทุนที่สูงกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับองค์การอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน ผลจากการกระทำคือ จะมีเงินลงทุนไหลเข้ามาลงทุนในประเทศ และองค์การนั้นตลอดเวลา มีสิ่งที่น่าสังเกตอย่างหนึ่งคือ เงินทุนเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นเงินทุนของภาคเอกชน ซึ่งเป็นเงินที่สำรองไว้เพื่อการลงทุนด้วยการหาผลประโยชน์ ในรูปของกองทุนบำเหน็จบำนาญ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพของพนักงานในองค์การของประเทศอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ ที่แสวงหาผลตอบแทนในการลงทุนที่สูงกว่าในตลาดเงินและตลาดทุนทั่วโลก ปรากฏการณ์เช่นนี้แตกต่างจากในอดีตมากคือ ในอดีตเงินลงทุนส่วนใหญ่จะเป็นเงินที่มาจากภาครัฐบาลซึ่งมักจะอยู่ในรูปของการติดต่อระหว่างรัฐบาลกับรัฐบาล เน้นในเรื่องการช่วยเหลือ สนับสนุน และส่งเสริมการพัฒนาประเทศมากกว่า ซึ่งไม่คำนึงถึงผลตอบแทนจากการลงทุนมากนัก ทำให้การเคลื่อนย้ายของเงินทุนมีน้อยเมื่อเทียบกับปัจจุบัน ดังนั้นการพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพของประเทศ จึงควรมุ่งแก้ปัญหาที่ทำให้เงินทุนไหลออกนอกประเทศ ซึ่งมีสาเหตุหลักสำคัญคือ ผลตอบแทนในการลงทุนที่ลดลง โดยแก้ไขได้ด้วยการพัฒนาให้เกิดความมุ่งมั่นในการเพิ่มผลิตภาพ และประสิทธิภาพขององค์การธุรกิจเพื่อให้มีผลประกอบการโดยรวมสูงขึ้น ทั้งนี้ควรมีหน่วยงานภาครัฐช่วยทำหน้าที่เป็นกลไกในการผลักดันและส่งเสริม ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวนอกจากเป็นการสร้างให้ธุรกิจมีความเข้มแข็งมากขึ้นแล้ว ยังสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุนด้วย ซึ่งในท้ายที่สุดจะเป็นการสร้างให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขันแบบยั่งยืน2. อุตสาหกรรม (Industry) อุตสาหกรรมจะเข้ามามีอิทธิพลมากขึ้นโดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่สร้างให้เกิดคุณค่าเพิ่ม การมุ่งเน้นงานวิจัย และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สร้างให้เกิดคุณค่า เป็นสิ่งที่องค์การธุรกิจต้องคำนึงถึงเป็นสิ่งแรก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
เคนอิจิโอมาเอะ (Kenichi Ohmae) นักคิดนักวิชาการและที่ปรึกษาทางธุรกิจ ทางเศรษฐกิจและสังคมไว้ในหนังสือ "โลกไร้พรมแดน: โลกไร้พรมแดน" มีใจความสรุปได้ว่า การเคลื่อนย้ายของเงินทุน ทำให้ทุกคนเริ่มให้ความสนใจ โอมาเอะได้แต่งหนังสืออีกเล่มชื่อ "การสิ้นสุดของความเป็นรัฐชาติ: จุดจบของประเทศของรัฐ" การเกิดขึ้นของโลกไร้พรมแดน การเมือง ปรากฏการณ์ที่บทบาทของรัฐชาติ (Nation รัฐ) ในด้านเศรษฐกิจการค้าและการลงทุนจะลดความสำคัญลง ภูมิภาครัฐ (ภาครัฐ) ในการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจตัวอย่างเช่นการเกิดขึ้นของสหภาพยุโรปหรือเรียกชื่อย่อว่ากลุ่มอียูที่ปัจจุบันมีเงินสกุลยูโร (Euro) ใช้ร่วมกันอย่างเป็นทางการ สิบประเทศทำให้มีประชากรรวมกันมากกว่า 430 ล้านคนซึ่งจะเป็นตลาดที่มีขนาดใหญ่ การรวมตัวดัง เช่น เอกชนและประชาชนในฐานะผู้บริโภค 21 (เศรษฐกิจโลก) 4 ประการ คือ1 การลงทุน (Investment) การเคลื่อนย้ายของสินค้าและ กฎระเบียบข้อบังคับและการกีดกันต่างๆ การเคลื่อนย้ายของเงินลงทุน และมีความคล่องตัวมากขึ้น จากจุดที่มีผลตอบแทนต่ำไปยังจุดที่มีผลประโยชน์ตอบแทนสูงกว่า หรือธุรกิจ และประเทศอื่น เพื่อสร้างให้เกิดผลตอบแทนในการ ผลจากการกระทำคือ และองค์การนั้นตลอดเวลามีสิ่งที่น่าสังเกตอย่างหนึ่งคือ ในรูปของกองทุนบำเหน็จบำนาญ ขนาดใหญ่ เน้นในเรื่องการช่วยเหลือสนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาประเทศมากกว่า ซึ่งมีสาเหตุหลักสำคัญคือผลตอบแทนในการลงทุนที่ลดลง อุตสาหกรรม (อุตสาหกรรม) การมุ่งเน้นงานวิจัย






การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: