งานวิจัยน
ี้
แบงออกเปนสองสวน งานวิจัยสวนท
ี่
หนึ่ง เปนการศึกษาชนิดและปริมาณของ
สารประกอบของเหล็กในตัวอยางการกัดกรอนในทอสงกาซธรรมชาติโดยระบบการสกัดลําดับข
ั้นแบบไหล
ตอเน
ื่
องการสกัดลําดับข
ั้นประกอบดวยสี่ขั้นตอน คือการสกัดเฟสที่
ละลายน
้ําได (เหล็กซัลเฟต) เฟสที่ละลายได
ในสภาวะกรด (เหล็กคารบอเนต) เฟสที่ละลายไดในสภาวะรีดิวซ (เหล็ก(ออกซิไฮดร)ออกไซด) และเฟสที่
ละลาย
ไดในสภาวะออกซิไดซ (เหล็กซัลไฟด) ตามลําดับ ความจําเพาะของสารสกัดท
ี่ใชในการสกัดแตละข
ั้นไดทําการ
ประเมินโดยการตรวจวัดอนุมูลลบของเหล็กท
ี่
สกัดไดในแตละเฟส จากการวิเคราะหพบเหล็กในรูปฟอรมท
ี่
ละลาย
ไดในสภาวะรีดิวซในปริมาณสูง (61-99%) ชี้ใหเห็นวาเหล็ก(ออกซิไฮดร)ออกไซดเปนองคประกอบหลักและ
ตัวอยางการกัดกรอนเหลาน
ี้เปนผลจากออกซิเจน (กาซปนเป
อน) และน้ําขอมูลของเหล็กในแตละฟอรมสามารถ
ใชเพ
ื่
อทําความเขาใจแหลงกําเนิดและกลไกของการกัดกรอน เพ
ื่
อท
ี่จะปองกันหรือแกปญหาการกัดกรอนใน
อุตสาหกรรมน
้ํ
ามันปโตรเลียมและกาซธรรมชาติ
ในสวนท
ี่
สองของงานวิจัยน
ี้
การสกัดลําดับขั้น (น้ํา, ดิสซิเลสและโปรทิเอส) และการสกัดดวย
ของเหลวท
ี่
เลียนแบบการยอยในกระเพาะอาหารและลําไสถูกใชเพ
ื่
อแสดงการจับกันและความสามารถในการดูด
ซึมไดของโครเมียมในอาหารเสริมท
ี่ไดจากการนําโครเมียมเติมลงไปในยีสต ประมาณ 10-20%โครเมียมสามารถ
ถูกสกัดโดยใชน้ํา, ดิสซิเลส หรือของเหลวจําลองของกระเพาะอาหาร ในขณะที่
มากกวา 50% สามารถสกัดไดโดย
ใชโปรทิเอสหรือของเหลวจําลองของลําไสการวิเคราะหดวยเทคนิคไซเอกครูชั่น-ริเวิรดเฟส ไฮเพอร
ฟอรมานลิควิคโครมาโทรกราฟ-อินดักทีพลีคอพเพิลพลาสมา แมสสเปกโทรเมตรีทําใหไดขอมูลเก
ี่
ยวกับรูป
ฟอรมและการเกาะจับกันของสารประกอบโครเมียม อยางไรก็ตามการระบุรูปฟอรมของโครเมียมดวยเทคนิค
มอลดิทอฟ แมสสเปกโทรเมตรีและอิเลกโทรสเปร แมสสเปกโทรเมตรี/แมสสเปกโทรเมตรีไมประสบ
ความสําเร็จ จําเปนตองมีการศึกษาตอไป ขอมูลท
ี่ไดสามารถใชประเมินคุณคาของอาหารเสริม และจําแนกความ
แตกตางของผลิตภัณฑจากแตละผูผลิต