สำนักกฎหมายแต่ละสำนักมีความแนวความคิดกับกฎหมายอย่างไร กฎหมายถือเป็นศาส การแปล - สำนักกฎหมายแต่ละสำนักมีความแนวความคิดกับกฎหมายอย่างไร กฎหมายถือเป็นศาส ไทย วิธีการพูด

สำนักกฎหมายแต่ละสำนักมีความแนวความค

สำนักกฎหมายแต่ละสำนักมีความแนวความคิดกับกฎหมายอย่างไร

กฎหมายถือเป็นศาสตร์แขนงหนึ่ง ซึ่งจะมีวิวัฒนาการและการพัฒนาตามปัจจัยแวดล้อม และสังคม โดยแต่ละยุคแต่ละสมัยก็จะมีนักคิด นักกฎหมาย ที่มีความเห็นแตกต่างกันในแต่ละสำนักและจะอาศัยอ้างอิงจากแนวความคิดทั่วไปบ้าง จากแนวความคิดในทางศีลธรรมบ้าง หรือจากแนวความคิดที่มุ่งประสงค์ให้เกิดความสงบเรียบร้อยของสังคมบ้าง จึงเกิดแนวทฤษฎีกฎหมายใหญ่ๆ ดังนี้

สำนักกฎหมายธรรมชาติหรือสำนักธรรมนิยม (Natural Law School)[1] โดยในสำนักกฎหมายนี้ จะมีลักษณะทสำคัญสองประการด้วยกัน คือ
ประการแรก จะต้องเป็นกฎเกณฑ์ทั่วไป กล่าวคือ เป็นจริงใจทุกสถานที่ หลักเกณฑ์ที่เป็นจริงในสถานที่หนึ่งต้องเป็นจริงในอีกสถานที่หนึ่งด้วย

ประการที่สอง จะต้องมีลักษณะนิรันดร กล่าวคือ เป็นจริงตลอดไป หมายความว่าเมื่อเป็นจริงในสมัยหนึ่งอีกสมัยหนึ่งก็ต้องเป็นจริงด้วย

บุคคลที่มีความคิดเกี่ยวกับสำนักกฎหมายธรรมชาติในสมัยกรีก-โรมัน

- Aristotle ได้แบ่งกฎหมายออกเป็น 2 ประเภท คือ (1)กฎหมายธรรมชาติ (Natural Law) เป็นกฎเกณฑ์ที่กำหนดแบบแผนการปฏิบัติของมนุษย์ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ไม่ได้เกิดจากการจำนงจงใจของผู้ใด เช่น กฎเกณฑ์ที่ไม่ให้มนุษย์ทำอันตรายผู้อื่น เป็นกฎเกณฑ์สากลที่เป็นกฎหมายธรรมชาติ หรือที่เรียกในทางกฎหมายอาญาว่าเป็นความผิดในตัวเอง(Mala in se) (2)กฎหมายที่มนุษย์กำหนดขึ้น เป็นกฎเกณฑ์ที่กำหนดแบบแผนการปฏิบัติของมนุษย์ซึ่งผู้ปกครองเป็นผู้กำหนดขึ้น หรือเกิดจากแนวปฏิบัติเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพื่อแก้ไขข้อขัดข้องบางประการที่เกิดจากความเจริญของสังคม เช่น กฎจราจร คือกฎแห่งความปลอดภัยในการคมนาคม กฎหมายที่มนุษย์กำหนดขึ้นจึงมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละสังคม และผันแปรเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ซึ่งเป็นกฎข้อบังคับกำหนดให้กระทำหรือห้ามมิให้กระทำ หรือที่เรียกในกฎหมายอาญาว่าเป็นความผิดเพราะกฎหมายห้าม(Mala prohibita)

- Cicero มีความเห็นเกี่ยวกับสำนักกฎหมายธรรมชาติว่า กฎหมายที่แท้จริงคือเหตุผลที่ถูกต้อง กลมกลืนสอดคล้องกับธรรมชาติ แผ่ซ่านในทุกสิ่งทุกอย่าง สม่ำเสมอ นิรันดร เป็นกฎหมายที่ก่อให้เกิดหน้าที่โดยคำสั่งให้กระทำและงดเว้นจากความชั่ว เป็นกฎหมายประการเดียวที่เป็นนิรันดร ไม่เปลี่ยนแปลงและมีผลผูกพันทุกชาติทุกภาษา ทุกยุคทุกสมัยตลอดกาล

บุคคลที่มีความคิดเกี่ยวกับสำนักกฎหมายธรรมชาติสมัยกลาง ซึ่งเป็นสมัยที่ยุโรปกลางที่ศาสนาคริสเตียนมีอำนาจครอบงำทางการเมืองการปกครอง กฎหมายจึงถูกอ้างอิงไปตามความประสงค์ของพระผู้เป็นเจ้า

- St. Thomas Aquinas สอนว่า กฎเกณฑ์ของจักรวาลและโลกมนุษย์มีอยู่ 4 ประเภท คือ

(1)กฎหมายนิรันดร (Eternal Law) คือแบบแผนการปกครองขององค์ผู้ปกครองใหญ่ หรือแผนของพระผู้เป็นเจ้า เป็นแบบแผนที่เป็นเหตุผลและปัญญาอันศักดิ์สิทธิ์ที่กำกับความเคลื่อนไหวและการกระทำทั้งปวงในจักรวาลสรรพสิ่งที่ดำเนินไปภายใต้ลิขิตอันศักดิ์สิทธิ์ของพระผู้เป็นเจ้า ล้วนอยู่ภายใต้บังคับและกำกับการของกฎหมายนิรันดร กฎหมายนิรันดรจึงเป็นสิ่งที่มีสารัตถะทางสติปัญญา หรือเหตุผลไม่ใช่เป็นเรื่องเจตจำนง

(2)กฎหมายธรรมชาติ (Natural Law) คือกฎหมายนิรันดร (Lex aeterna) แต่เป็นเฉพาะบางส่วนที่มนุษย์สามารถเข้าถึงได้ด้วยเหตุผลของมนุษย์ที่มีอยู่ในตัวทุกคน ความว่า เหตุผลรู้ผิดชอบชั่วดีของมนุษย์ เพราะเป็นเหตุผลที่ดำรงอยู่ในธรรมชาติของความเป็นคน

(3)กฎหมายศักดิ์สิทธิ์ (Lex divina) คือกฎเกณฑ์ที่มนุษย์รับรู้ด้วยการชี้ทางสวรรค์ มันเป็นกฎเกณฑ์ทางความเชื่อทางศาสนาหรือทางศีลธรรมที่ชี้ขาดกันด้วยเหตุผลไม่ได้

(4)กฎหมายมนุษย์ (Lex humana) คือบัญชาของเหตุผลเพื่อความดีงามร่วมกันที่บัญญัติขึ้นโดยผู้มีหน้าที่ในการดูแลรักษาประชาคม

บุคคลที่มีความคิดเกี่ยวกับสำนักกฎหมายธรรมชาติสมัยใหม่ หรือยุคRenaissance ซึ่งเป็นยุคทองของกฎหมายธรรมชาติ ที่เน้นธรรมชาติของมนุษย์(Human Nature) ว่ามีสติปัญญาหรือเหตุผล(Reason) และเหตุผลในธรรมชาติมนุษย์ที่เป็นรากฐานของกฎหมายธรรมชาติ ในยุคนี้ความคิดแบบปัจเจกชนนิยม(Individualism) ได้เริ่มก่อตัวและแพร่หลายมากขึ้น ด้วยเหตุนี้ในยุคนี้จึงเกิดปัญหาในทางความคิดว่าสังคมจะดำรงอยู่อย่างไร เพราะต่างคนต่างอยู่ ดังนั้นนักคิดในสมัยนี้จึงเสนอทฤษฎีสัญญาประชาคม(Social Contract Theory)

- John Locke ได้เสนอความคิดที่มีเหตุผล สภาวะตามธรรมชาติของมนุษย์จึงเป็นสภาวะที่มนุษย์มีเสรีภาพโดยสมบูรณ์ไม่มีข้อจำกัด ด้วยเหตุนี้สิทธิเสรีภาพตามธรรมชาติจึงขาดความแน่นอนและไม่มีหลักประกัน ดังนั้นเพื่อป้องกันข้อพิพาทและเพื่อให้เกิดความยุติธรรมและความสงบสุข จึงมีการตกลงทำสัญญาเข้าอยู่ร่วมกันเป็นสังคมที่เรียกว่า สัญญาประชาคม(Social Contract) โดยจะก่อตั้งอำนาจกลางหรือรัฐบาลขึ้นเพื่อทำหน้าที่ให้ความยุติธรรมและรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม ซึ่งสัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาประชาคมแบบ สัญญาสหภาพ(Pactum Unionis) เป็นสัญญาที่ประชาชนแต่ละคนตกลงโอนอำนาจบางส่วนของตนให้แก่รัฐบาลหรือรัฐ แต่ทุกคนยังคงสงวนไว้ซึ่งสิทธิในชีวิต ทรัพย์สินและเสรีภาพอันเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานตามธรรมชาติของมนุษย์

- Montesquieu ความคิดของMontesquieuที่สำคัญได้ปรากฎอยู่ในหนังสือชื่อ เจตนารมณ์แห่งกฎหมาย(The Spirit of the Laws) ซึ่งได้อธิบายแนวความคิดเรื่องการแบ่งแยกอำนาจ กล่าวคือ จะต้องแยกอำนาจตรากฎหมาย(อำนาจนิติบัญญัติ) ออกจากอำนาจบังคับการตามกฎหมาย(อำนาจบริหาร) และให้อำนาจพิจารณาพิพากษาคดี(อำนาจตุลาการ) แยกเป็นอิสระจากอำนาจออกกฎหมายและบังคับการตามกฎหมายและให้แต่ละฝ่ายคอยตรวจสอบและถ่วงดุลซึ่งกันและกัน(Checks and Balance) เรียกว่า หลักการแบ่งแยกอำนาจ ถ้าไม่มีการแบ่งแยกอำนาจ การใช้กฎหมายจะเลื่อนลอยไม่ศักดิ์สิทธิ์ เพราะอำนาจทั้งหลายรวมศูนย์อยู่ที่คนเดียวหรือองค์กรเดียว

- Jean Jacques Rousseau มีทัศนะว่า ในสภาวะธรรมชาติมนุษย์มีสิทธิเสรีภาพอย่างไม่จำกัด แต่ไม่มีความมั่นคงในสิทธิเสรีภาพตามธรรมชาติ เพื่อให้เกิดหลักประกันในสิทธิเสรีภาพ มนุษย์จึงตกลงทำสัญญาประชาคมสละสิทธิเสรีภาพที่ไม่จำกัดเมื่อมาอยู่ร่วมกันเป็นสังคม ซึ่งมีสิทธิเสรีภาพที่ถูกจำกัดภายใต้กฎหมาย และแต่ละคนต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของส่วนรวม ด้วยเหตุนี้ทุกคนไม่ได้โอนสิทธิเสรีภาพให้แก่ใคร ประชาชนจึงเป็นทั้งผู้ปกครองและอยู่ภายใต้การปกครองในขณะเดียวกัน





2. สำ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
สำนักกฎหมายแต่ละสำนักมีความแนวความคิดกับกฎหมายอย่างไร กฎหมายถือเป็นศาสตร์แขนงหนึ่งซึ่งจะมีวิวัฒนาการและการพัฒนาตามปัจจัยแวดล้อมและสังคมโดยแต่ละยุคแต่ละสมัยก็จะมีนักคิดนักกฎหมายที่มีความเห็นแตกต่างกันในแต่ละสำนักและจะอาศัยอ้างอิงจากแนวความคิดทั่วไปบ้างจากแนวความคิดในทางศีลธรรมบ้างหรือจากแนวความคิดที่มุ่งประสงค์ให้เกิดความสงบเรียบร้อยของสังคมบ้างจึงเกิดแนวทฤษฎีกฎหมายใหญ่ ๆ ดังนี้คือสำนักกฎหมายธรรมชาติหรือสำนักธรรมนิยม (โรงเรียนกฎหมายธรรมชาติ) [1] โดยในสำนักกฎหมายนี้จะมีลักษณะทสำคัญสองประการด้วยกันประการแรกจะต้องเป็นกฎเกณฑ์ทั่วไปกล่าวคือเป็นจริงใจทุกสถานที่หลักเกณฑ์ที่เป็นจริงในสถานที่หนึ่งต้องเป็นจริงในอีกสถานที่หนึ่งด้วยประการที่สองจะต้องมีลักษณะนิรันดรกล่าวคือเป็นจริงตลอดไปหมายความว่าเมื่อเป็นจริงในสมัยหนึ่งอีกสมัยหนึ่งก็ต้องเป็นจริงด้วยบุคคลที่มีความคิดเกี่ยวกับสำนักกฎหมายธรรมชาติในสมัยกรีก-โรมัน-อริสโตเติลได้แบ่งกฎหมายออกเป็น 2 ประเภทคือ (1) กฎหมายธรรมชาติ (ธรรมดา) เป็นกฎเกณฑ์ที่กำหนดแบบแผนการปฏิบัติของมนุษย์ที่มีอยู่ตามธรรมชาติไม่ได้เกิดจากการจำนงจงใจของผู้ใดเช่นกฎเกณฑ์ที่ไม่ให้มนุษย์ทำอันตรายผู้อื่นเป็นกฎเกณฑ์สากลที่เป็นกฎหมายธรรมชาติหรือที่เรียกในทางกฎหมายอาญาว่าเป็นความผิดในตัวเอง (มาลาใน se) กฎหมายที่มนุษย์กำหนดขึ้น (2) เป็นกฎเกณฑ์ที่กำหนดแบบแผนการปฏิบัติของมนุษย์ซึ่งผู้ปกครองเป็นผู้กำหนดขึ้นหรือเกิดจากแนวปฏิบัติเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพื่อแก้ไขข้อขัดข้องบางประการที่เกิดจากความเจริญของสังคมเช่นกฎจราจรคือกฎแห่งความปลอดภัยในการคมนาคมกฎหมายที่มนุษย์กำหนดขึ้นจึงมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละสังคมและผันแปรเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาซึ่งเป็นกฎข้อบังคับกำหนดให้กระทำหรือห้ามมิให้กระทำหรือที่เรียกในกฎหมายอาญาว่าเป็นความผิดเพราะกฎหมายห้าม (มาลา prohibita)-คิเคโรมีความเห็นเกี่ยวกับสำนักกฎหมายธรรมชาติว่ากฎหมายที่แท้จริงคือเหตุผลที่ถูกต้องกลมกลืนสอดคล้องกับธรรมชาติแผ่ซ่านในทุกสิ่งทุกอย่างสม่ำเสมอนิรันดรเป็นกฎหมายที่ก่อให้เกิดหน้าที่โดยคำสั่งให้กระทำและงดเว้นจากความชั่วเป็นกฎหมายประการเดียวที่เป็นนิรันดรไม่เปลี่ยนแปลงและมีผลผูกพันทุกชาติทุกภาษาทุกยุคทุกสมัยตลอดกาลบุคคลที่มีความคิดเกี่ยวกับสำนักกฎหมายธรรมชาติสมัยกลางซึ่งเป็นสมัยที่ยุโรปกลางที่ศาสนาคริสเตียนมีอำนาจครอบงำทางการเมืองการปกครองกฎหมายจึงถูกอ้างอิงไปตามความประสงค์ของพระผู้เป็นเจ้า-อไควนัส Thomas เซนต์สอนว่ากฎเกณฑ์ของจักรวาลและโลกมนุษย์มีอยู่ 4 ประเภทคือกฎหมายนิรันดร (นิรันดร์กฎหมาย) (1) คือแบบแผนการปกครองขององค์ผู้ปกครองใหญ่หรือแผนของพระผู้เป็นเจ้าล้วนอยู่ภายใต้บังคับและกำกับการของกฎหมายนิรันดรเป็นแบบแผนที่เป็นเหตุผลและปัญญาอันศักดิ์สิทธิ์ที่กำกับความเคลื่อนไหวและการกระทำทั้งปวงในจักรวาลสรรพสิ่งที่ดำเนินไปภายใต้ลิขิตอันศักดิ์สิทธิ์ของพระผู้เป็นเจ้ากฎหมายนิรันดรจึงเป็นสิ่งที่มีสารัตถะทางสติปัญญาหรือเหตุผลไม่ใช่เป็นเรื่องเจตจำนง(2) กฎหมายธรรมชาติ (ธรรมดา) คือกฎหมายนิรันดร (สตราเล็กซ์ทัวร์) แต่เป็นเฉพาะบางส่วนที่มนุษย์สามารถเข้าถึงได้ด้วยเหตุผลของมนุษย์ที่มีอยู่ในตัวทุกคนความว่าเหตุผลรู้ผิดชอบชั่วดีของมนุษย์เพราะเป็นเหตุผลที่ดำรงอยู่ในธรรมชาติของความเป็นคน(3) กฎหมายศักดิ์สิทธิ์ (เล็กซ์ทัวร์ divina) คือกฎเกณฑ์ที่มนุษย์รับรู้ด้วยการชี้ทางสวรรค์มันเป็นกฎเกณฑ์ทางความเชื่อทางศาสนาหรือทางศีลธรรมที่ชี้ขาดกันด้วยเหตุผลไม่ได้(4) กฎหมายมนุษย์ (เล็กซ์ทัวร์ humana) คือบัญชาของเหตุผลเพื่อความดีงามร่วมกันที่บัญญัติขึ้นโดยผู้มีหน้าที่ในการดูแลรักษาประชาคมบุคคลที่มีความคิดเกี่ยวกับสำนักกฎหมายธรรมชาติสมัยใหม่ หรือยุคRenaissance ซึ่งเป็นยุคทองของกฎหมายธรรมชาติที่เน้นธรรมชาติของมนุษย์ (ธรรมชาติของมนุษย์) ว่ามีสติปัญญาหรือเหตุผล(Reason) และเหตุผลในธรรมชาติมนุษย์ที่เป็นรากฐานของกฎหมายธรรมชาติ ในยุคนี้ความคิดแบบปัจเจกชนนิยม(Individualism) ได้เริ่มก่อตัวและแพร่หลายมากขึ้นด้วยเหตุนี้ในยุคนี้จึงเกิดปัญหาในทางความคิดว่าสังคมจะดำรงอยู่อย่างไรเพราะต่างคนต่างอยู่ดังนั้นนักคิดในสมัยนี้จึงเสนอทฤษฎีสัญญาประชาคม (ทฤษฎีสัญญาประชาคม)- John Locke ได้เสนอความคิดที่มีเหตุผล สภาวะตามธรรมชาติของมนุษย์จึงเป็นสภาวะที่มนุษย์มีเสรีภาพโดยสมบูรณ์ไม่มีข้อจำกัด ด้วยเหตุนี้สิทธิเสรีภาพตามธรรมชาติจึงขาดความแน่นอนและไม่มีหลักประกัน ดังนั้นเพื่อป้องกันข้อพิพาทและเพื่อให้เกิดความยุติธรรมและความสงบสุข จึงมีการตกลงทำสัญญาเข้าอยู่ร่วมกันเป็นสังคมที่เรียกว่า สัญญาประชาคม(Social Contract) โดยจะก่อตั้งอำนาจกลางหรือรัฐบาลขึ้นเพื่อทำหน้าที่ให้ความยุติธรรมและรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม ซึ่งสัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาประชาคมแบบ สัญญาสหภาพ(Pactum Unionis) เป็นสัญญาที่ประชาชนแต่ละคนตกลงโอนอำนาจบางส่วนของตนให้แก่รัฐบาลหรือรัฐ แต่ทุกคนยังคงสงวนไว้ซึ่งสิทธิในชีวิต ทรัพย์สินและเสรีภาพอันเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานตามธรรมชาติของมนุษย์-Montesquieu ความคิดของMontesquieuที่สำคัญได้ปรากฎอยู่ในหนังสือชื่อ เจตนารมณ์แห่งกฎหมาย (จิตวิญญาณของกฎหมาย) ซึ่งได้อธิบายแนวความคิดเรื่องการแบ่งแยกอำนาจกล่าวคือจะต้องแยกอำนาจตรากฎหมาย(อำนาจนิติบัญญัติ)ออกจากอำนาจบังคับการตามกฎหมาย(อำนาจบริหาร)และให้อำนาจพิจารณาพิพากษาคดี(อำนาจตุลาการ)แยกเป็นอิสระจากอำนาจออกกฎหมายและบังคับการตามกฎหมายและให้แต่ละฝ่ายคอยตรวจสอบและถ่วงดุลซึ่งกันและกัน (การตรวจสอบและดุล) เรียกว่าหลักการแบ่งแยกอำนาจถ้าไม่มีการแบ่งแยกอำนาจการใช้กฎหมายจะเลื่อนลอยไม่ศักดิ์สิทธิ์เพราะอำนาจทั้งหลายรวมศูนย์อยู่ที่คนเดียวหรือองค์กรเดียว-Jean Jacques Rousseau มีทัศนะว่าในสภาวะธรรมชาติมนุษย์มีสิทธิเสรีภาพอย่างไม่จำกัดแต่ไม่มีความมั่นคงในสิทธิเสรีภาพตามธรรมชาติเพื่อให้เกิดหลักประกันในสิทธิเสรีภาพมนุษย์จึงตกลงทำสัญญาประชาคมสละสิทธิเสรีภาพที่ไม่จำกัดเมื่อมาอยู่ร่วมกันเป็นสังคมซึ่งมีสิทธิเสรีภาพที่ถูกจำกัดภายใต้กฎหมายและแต่ละคนต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของส่วนรวมด้วยเหตุนี้ทุกคนไม่ได้โอนสิทธิเสรีภาพให้แก่ใครประชาชนจึงเป็นทั้งผู้ปกครองและอยู่ภายใต้การปกครองในขณะเดียวกัน 2. สำ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
และสังคมโดยแต่ละยุคแต่ละสมัยก็จะมีนักคิดนักกฎหมาย จากแนวความคิดในทางศีลธรรมบ้าง จึงเกิดแนวทฤษฎีกฎหมายใหญ่ ๆ (โรงเรียนกฎหมายธรรมชาติ) [1] ในสำนักโดยกฎหมายนี้จะมีลักษณะทสำคัญสองประการด้วยกันคือประการแรกคุณต้องจะเป็นกฎเกณฑ์ทั่วไปกล่าวคือเป็นจริงใจทุกสถานที่ จะต้องมีลักษณะนิรันดรกล่าวคือเป็นจริงตลอดไป อริสโตเติลได้แบ่งกฎหมายออกเป็น 2 ประเภทคือ (1) กฎหมายธรรมชาติ (Natural Law) ไม่ได้เกิดจากการจำนงจงใจของผู้ใดเช่น ใน SE) (2) กฎหมายที่มนุษย์กำหนดขึ้น เช่นกฎจราจรคือกฎแห่งความปลอดภัยในการคมนาคม และผันแปรเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา prohibita) - ซิเซโร กลมกลืนสอดคล้องกับธรรมชาติแผ่ซ่านในทุกสิ่งทุกอย่างสม่ำเสมอนิรันดร เซนต์โทมัสควีนาสสอนว่า 4 ประเภทคือ(1) กฎหมายนิรันดร (Eternal กฎหมาย) หรือแผนของพระผู้เป็นเจ้า (กฎธรรมชาติ) คือกฎหมายนิรันดร (Lex Aeterna) ความว่าเหตุผลรู้ผิดชอบชั่วดีของมนุษย์ (ไฟแนนเชี่ Divina) (ไฟแนนเชี่ Humana) หรือยุคเรเนซองส์ซึ่งเป็นยุคทองของกฎหมายธรรมชาติที่เน้นธรรมชาติของมนุษย์ (Human Nature) ว่ามีสติปัญญาหรือเหตุผล (เหตุผล) ได้เริ่มก่อตัวและแพร่หลายมากขึ้น เพราะต่างคนต่างอยู่ ทฤษฎีสัญญา) - จอห์นล็อคได้เสนอความคิดที่มีเหตุผล สัญญาประชาคม (สัญญา) สัญญาสหภาพ (Pactum Unionis) เตสกิเออ เจตนารมณ์แห่งกฎหมาย (วิญญาณของกฎหมาย) กล่าวคือ และความสมดุล) เรียกว่าหลักการแบ่งแยกอำนาจถ้าไม่มีการแบ่งแยกอำนาจ ฌองฌาคส์รูสโซมีทัศนะว่า สำ






































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
สำนักกฎหมายแต่ละสำนักมีความแนวความคิดกับกฎหมายอย่างไร

กฎหมายถือเป็นศาสตร์แขนงหนึ่งซึ่งจะมีวิวัฒนาการและการพัฒนาตามปัจจัยแวดล้อมและสังคมโดยแต่ละยุคแต่ละสมัยก็จะมีนักคิดนักกฎหมายจากแนวความคิดในทางศีลธรรมบ้างหรือจากแนวความคิดที่มุ่งประสงค์ให้เกิดความสงบเรียบร้อยของสังคมบ้างจึงเกิดแนวทฤษฎีกฎหมายใหญ่ๆดังนี้

สำนักกฎหมายธรรมชาติหรือสำนักธรรมนิยม ( โรงเรียนกฎหมายธรรมชาติ ) [ 1 ] โดยในสำนักกฎหมายนี้จะมีลักษณะทสำคัญสองประการด้วยกันความ
ประการแรกจะต้องเป็นกฎเกณฑ์ทั่วไปกล่าวคือเป็นจริงใจทุกสถานที่หลักเกณฑ์ที่เป็นจริงในสถานที่หนึ่งต้องเป็นจริงในอีกสถานที่หนึ่งด้วย

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: