ภาษาอังกฤษธุรกิจกับภาษาอังกฤษที่ใช้ในชีวิตประจำวันแตกต่างกันอย่างไร เม การแปล - ภาษาอังกฤษธุรกิจกับภาษาอังกฤษที่ใช้ในชีวิตประจำวันแตกต่างกันอย่างไร เม ไทย วิธีการพูด

ภาษาอังกฤษธุรกิจกับภาษาอังกฤษที่ใช้

ภาษาอังกฤษธุรกิจกับภาษาอังกฤษที่ใช้ในชีวิตประจำวันแตกต่างกันอย่างไร

เมื่อภาษาอังกฤษเป็นตัวเลือก ภาษาที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในธุรกิจแบบต่างๆ ทั่วโลก องค์กรหลายแห่ง คาดหวังว่า บุคลกรของพวกเขา จะสามารถพูด และเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในการทำงาน
โลกได้ก้าวเข้าสู่ยุคเทคโนโลยีทันสมัย และการสื่อสารนานาชาติมีบทบาทเป็นอย่างยิ่ง นับตั้งแต่มีการนำภาษาอังกฤษมาใช้เป็นสื่อกลางในการสื่อสารนานาชาติ ผู้ที่ทำงานด้านธุรกิจต่างก็ต้องเขียนจดหมายภาษาอังกฤษเพื่อติดต่อกับลูกค้า บริษัท และตัวแทนจำหน่ายในต่างประเทศ การสื่อสารด้านธุรกิจที่ไม่ชำนาญ และไม่มีประสิทธิภาพอาจส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการติดต่อค้าขายทางธุรกิจ รวมทั้งอาจทำลายความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรได้ด้วย ฉะนั้นจำนวนของ
ผู้ที่ทำงานด้านธุรกิจ ตลอดจนนายจ้างที่ต้องการหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจจึงมีมากขึ้นเรื่อยๆความสำคัญของการสื่อสารในภาคธุรกิจของประเทศไทยมีรากฐานมาจากข้อเท็จจริงที่ว่าภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลางในการสื่อสาร จึงมุ่งเน้นข้อมูลใน 2 ด้านหลัก คือ การสำรวจความต้องการของผู้เรียน ภูมิหลังทางทฤษฎีด้านการสื่อสารธุรกิจ ความสำคัญของการสื่อสารธุรกิจสำหรับผู้ที่กำลังมองหางาน และ งานวิจัยก่อนหน้านี้ที่ศึกษาในด้านทักษะการสื่อสารธุรกิจนานาชาติ
การสำรวจความต้องการของผู้เรียนเป็นขั้นตอนแรกในการพัฒนาเนื้อหาหลักสูตร และในการเลือกวัสดุการเรียนการสอนรวมไปถึงวิธีการสอนด้วย การสำรวจความต้องการของผู้เรียนคือกระบวนการหาข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการ ศัพท์เทคนิคต่างๆ และแนวคิดของการสำรวจความต้องการนั้นแตกต่างกันไปตามนักวิจัยแต่ละคน Dudley-Evans และ St. John (1998) ให้คำนิยามการสำรวจความต้องการว่าคือกระบวนการที่กระทำเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่จะตอบ คำถามได้ว่าอะไร และอย่างไร Hutchinson และ Waters (1987) ให้คำนิยามการสำรวจความต้องการด้วยคำว่า ความต้องการของสถานการณ์เป้าหมาย ซึ่งจะระบุเกี่ยวกับการใช้ภาษา และ ความต้องการในแง่ของการเรียนรู้ ซึ่งจะกล่าวถึงการเรียนรู้การใช้ภาษา นอกจากนี้ยังกล่าวถึงเรื่องมุมมองย่อยของความต้องการในแง่ของ ความจำเป็น (needs) ความบกพร่อง (lacks) และความปรารถนา (desire) อีกด้วย ความจำเป็นที่กล่าวถึงนี้คือ สิ่งที่ผู้เรียนต้องรู้เพื่อให้สามารถปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพในสถานการณ์เป้าหมาย ความบกพร่อง คือ ข้อมูลที่ผู้วิจัย หรือผู้สอนจำเป็นต้องรู้เกี่ยวกับความรู้เดิมของผู้เรียนเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่ขาดไป ส่วนความปรารถนานั้น คือความต้องการที่จะเรียนรู้ส่วนบุคคลของตัวผู้เรียนเอง Robinson (1991) นำเสนอแนวคิด และศัพท์เทคนิคที่เกี่ยวข้องกับการสำรวจความต้องการ 3 คำ ได้แก่ การวิเคราะห์สถานการณ์เป้าหมาย (target situation analysis – TSA) การวิเคราะห์สถานการณ์ในปัจจุบัน (present situation analysis – PSA) และ การตรวจสอบทางภาษา (language audit) การตรวจสอบทางภาษาคือ การนำเอา TSA และ PSA มารวมกันเพื่อใช้ในการอบรมภาษาสำหรับธุรกิจและอุตสาหกรรม Robinson นำเสนอกระบวนการ 3 ขั้นตอนในการตรวจสอบทางภาษาที่ใช้แสดงบทบาทของภาษาต่างประเทศที่มีต่อการค้า และการอุตสาหกรรม อันดับแรก คือ ทักษะทางภาษาที่เป็นทักษะเป้าหมาย ขั้นตอนนี้เป็นการสำรวจหาทักษะทางภาษาเฉพาะอย่างที่จำเป็นต้องใช้เฉพาะงาน อันดับต่อมา คือ ข้อมูลเกี่ยวกับความสามารถในปัจจุบันเพื่อพิจารณาว่าบุคคลนั้นมีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์ความรู้ทางภาษาอังกฤษสำหรับงานนั้นๆมากน้อยเพียงใด และอันดับที่ 3 ผู้ตรวจสอบจะต้องวิเคราะห์ว่าผู้เรียนต้องการการอบรมมากน้อยแค่ไหนเพื่อลดช่องว่างระหว่างความสามารถในปัจจุบัน กับ เกณฑ์เป้าหมายที่ทางบริษัทต้องการ
นอกจากนี้ Robinson ยังได้ทำการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการสำรวจความต้องการในงานวิจัยหลายชิ้น และได้สรุปประเภทของความต้องการออกมาเป็น 5 ประเภท คือ
ความต้องการ อาจหมายถึงเกณฑ์คุณสมบัติในงาน หรือการเรียนของผู้เรียน กล่าวคือ หมายถึงสิ่งที่ผู้เรียนจะต้องสมารถทำได้ภายหลังจากการเรียนภาษาเสร็จสิ้นลง ความต้องการประเภทนี้เป็นแบบที่เน้นเป้าหมาย
ความต้องการ อาจหมายถึงสิ่งที่สถาบันหรือสังคมมองว่าเป็นสิ่งจำเป็น หรือเป็นสิ่งที่ปรารถนาไว้ว่าจะได้เรียนรู้จากหลักสูตรการเรียนการสอนภาษา
ความต้องการ อาจหมายถึงสิ่งที่ผู้เรียนจำเป็นต้องทำเพื่อให้ได้มาซึ่งภาษา ความต้องการประเภทนี้เป็นแบบที่เน้นกระบวนการ และเกี่ยวข้องกับการกระทำอื่นๆที่เป็นวิธีการเรียนรู้
ความต้องการ อาจหมายถึงสิ่งที่ผู้เรียนเองอยากจะได้จากหลักสูตรสอนภาษา มุมมองความต้องการประเภทนี้แสดงให้เห็นว่าผู้เรียนอาจมีเป้าหมายส่วนตัวนอกเหนือไปจาก(หรือ
ตรงกันข้ามกันกับ) เกณฑ์คุณสมบัติในงาน หรือการเรียนของผู้เรียน ความต้องการส่วนบุคคลดังกล่าวอาจถูกมองว่าเป็นเพียงความอยาก หรือความปรารถนาเท่านั้น
ความต้องการ อาจหมายถึง การขาดตกบกพร่อง ซึ่งหมายความถึงสิ่งที่ผู้เรียนไม่รู้ หรือทำไม่ได้ในภาษาอังกฤษ
นักวิจัยต่างก็ตีความคำว่า ความต้องการ ออกไปหลากหลายขึ้นอยู่กับกรอบทฤษฎีที่ยึดถือ ลักษณะดังกล่าวทำให้เกิดความต้องการที่แตกต่างกันออกไป อย่างไรก็ตาม Chambers (1980) ก็ต่อต้านความกำกวมไม่แน่นอนของศัพท์เทคนิคต่างๆ เขาแย้งว่าปัญหาหลักๆ ในการสำรวจความต้องการคือ ความสับสนในเรื่องศัพท์เทคนิคต่างๆนั่นเอง และเพื่อกำจัดความสับสนนี้ให้หมดไป เขาเสนอให้มีการจัดกลุ่มคำศัพท์เทคนิคที่แทนความหมายต่างๆอยู่แต่เดิมใหม่อีกครั้ง ให้เหลือเพียง 3 ประเด็น นั่นคือ ความต้องการ (ดูได้จาก TSA) ข้อจำกัด (ที่จำกัดการบรรลุความต้องการ) และวัตถุประสงค์ระหว่างทาง (ขั้นตอนในการบรรลุความต้องการ) สรุปได้ว่า การสำรวจความต้องการเป็นจุดเริ่มต้นในการรับรู้ความต้องการของผู้เรียนในด้าน ระดับ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ เนื้อหา วิธีการสอน และอุปกรณ์การเรียนการสอนสำหรับหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านธุรกิจ
ภาษาอังกฤษธุรกิจเป็นภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ เพราะวัตถุประสงค์ของหลักสูตรนั้นอยู่บนพื้นฐานของหน้าที่ในการสื่อสารซึ่งจะเป็นตัวกำหนดลักษณะการใช้ภาษา มีเอกสารระบุไว้อย่างชัดเจนในเรื่องเกี่ยวกับความสนใจด้านภาษาอังกฤษธุรกิจแล
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ภาษาอังกฤษธุรกิจกับภาษาอังกฤษที่ใช้ในชีวิตประจำวันแตกต่างกันอย่างไร เมื่อภาษาอังกฤษเป็นตัวเลือกภาษาที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในธุรกิจแบบต่าง ๆ ทั่วโลกองค์กรหลายแห่งคาดหวังว่าบุคลกรของพวกเขาจะสามารถพูดและเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพในการทำงาน โลกได้ก้าวเข้าสู่ยุคเทคโนโลยีทันสมัยและการสื่อสารนานาชาติมีบทบาทเป็นอย่างยิ่งนับตั้งแต่มีการนำภาษาอังกฤษมาใช้เป็นสื่อกลางในการสื่อสารนานาชาติผู้ที่ทำงานด้านธุรกิจต่างก็ต้องเขียนจดหมายภาษาอังกฤษเพื่อติดต่อกับลูกค้าบริษัทและตัวแทนจำหน่ายในต่างประเทศการสื่อสารด้านธุรกิจที่ไม่ชำนาญและไม่มีประสิทธิภาพอาจส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการติดต่อค้าขายทางธุรกิจรวมทั้งอาจทำลายความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรได้ด้วยฉะนั้นจำนวนของ ผู้ที่ทำงานด้านธุรกิจตลอดจนนายจ้างที่ต้องการหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจจึงมีมากขึ้นเรื่อยๆความสำคัญของการสื่อสารในภาคธุรกิจของประเทศไทยมีรากฐานมาจากข้อเท็จจริงที่ว่าภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลางในการสื่อสารจึงมุ่งเน้นข้อมูลใน 2 ด้านหลักคือการสำรวจความต้องการของผู้เรียนภูมิหลังทางทฤษฎีด้านการสื่อสารธุรกิจความสำคัญของการสื่อสารธุรกิจสำหรับผู้ที่กำลังมองหางานและงานวิจัยก่อนหน้านี้ที่ศึกษาในด้านทักษะการสื่อสารธุรกิจนานาชาติ การสำรวจความต้องการของผู้เรียนเป็นขั้นตอนแรกในการพัฒนาเนื้อหาหลักสูตรและในการเลือกวัสดุการเรียนการสอนรวมไปถึงวิธีการสอนด้วยการสำรวจความต้องการของผู้เรียนคือกระบวนการหาข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการศัพท์เทคนิคต่าง ๆ และแนวคิดของการสำรวจความต้องการนั้นแตกต่างกันไปตามนักวิจัยแต่ละคน Dudley อีวานส์และเซนต์จอห์น (1998) ให้คำนิยามการสำรวจความต้องการว่าคือกระบวนการที่กระทำเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่จะตอบคำถามได้ว่าอะไรและอย่างไรความต้องการของสถานการให้คำนิยามการสำรวจความต้องการด้วยคำว่า Hutchinson และน้ำ (1987)ณ์เป้าหมายซึ่งจะระบุเกี่ยวกับการใช้ภาษาและความต้องการในแง่ของการเรียนรู้ซึ่งจะกล่าวถึงการเรียนรู้การใช้ภาษานอกจากนี้ยังกล่าวถึงเรื่องมุมมองย่อยของความต้องการในแง่ของความจำเป็น (ต้อง) ความบกพร่อง (ขาด) และความปรารถนา (ความปรารถนา) อีกด้วยความจำเป็นที่กล่าวถึงนี้คือสิ่งที่ผู้เรียนต้องรู้เพื่อให้สามารถปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพในสถานการณ์เป้าหมายความบกพร่องคือข้อมูลที่ผู้วิจัยหรือผู้สอนจำเป็นต้องรู้เกี่ยวกับความรู้เดิมของผู้เรียนเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่ขาดไปส่วนความปรารถนานั้นคือความต้องการที่จะเรียนรู้ส่วนบุคคลของตัวผู้เรียนเองโรบินสัน (1991) นำเสนอแนวคิดและศัพท์เทคนิคที่เกี่ยวข้องกับการสำรวจความต้องการ 3 คำได้แก่การวิเคราะห์สถานการณ์เป้าหมาย (เป้าหมายการวิเคราะห์สถานการณ์ – TSA) การวิเคราะห์สถานการณ์ในปัจจุบัน (ปัจจุบันวิเคราะห์สถานการณ์ – PSA) และการตรวจสอบทางภาษา (ตรวจสอบภาษา) การตรวจสอบทางภาษาคือการนำเอา TSA และ PSA มารวมกันเพื่อใช้ในการอบรมภาษาสำหรับธุรกิจและอุตสาหกรรมโรบินสันนำเสนอกระบวนการ 3 ขั้นตอนในการตรวจสอบทางภาษาที่ใช้แสดงบทบาทของภาษาต่างประเทศที่มีต่อการค้าและการอุตสาหกรรมอันดับแรกคือทักษะทางภาษาที่เป็นทักษะเป้าหมายขั้นตอนนี้เป็นการสำรวจหาทักษะทางภาษาเฉพาะอย่างที่จำเป็นต้องใช้เฉพาะงานอันดับต่อมาคือข้อมูลเกี่ยวกับความสามารถในปัจจุบันเพื่อพิจารณาว่าบุคคลนั้นมีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์ความรู้ทางภาษาอังกฤษสำหรับงานนั้นๆมากน้อยเพียงใดและอันดับที่ 3 ผู้ตรวจสอบจะต้องวิเคราะห์ว่าผู้เรียนต้องการการอบรมมากน้อยแค่ไหนเพื่อลดช่องว่างระหว่างความสามารถในปัจจุบันดื่มด่ำเกณฑ์เป้าหมายที่ทางบริษัทต้องการ นอกจากนี้โรบินสันยังได้ทำการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการสำรวจความต้องการในงานวิจัยหลายชิ้นและได้สรุปประเภทของความต้องการออกมาเป็น 5 ประเภทคือ ความต้องการอาจหมายถึงเกณฑ์คุณสมบัติในงานหรือการเรียนของผู้เรียนกล่าวคือหมายถึงสิ่งที่ผู้เรียนจะต้องสมารถทำได้ภายหลังจากการเรียนภาษาเสร็จสิ้นลงความต้องการประเภทนี้เป็นแบบที่เน้นเป้าหมาย ความต้องการอาจหมายถึงสิ่งที่สถาบันหรือสังคมมองว่าเป็นสิ่งจำเป็นหรือเป็นสิ่งที่ปรารถนาไว้ว่าจะได้เรียนรู้จากหลักสูตรการเรียนการสอนภาษา ความต้องการอาจหมายถึงสิ่งที่ผู้เรียนจำเป็นต้องทำเพื่อให้ได้มาซึ่งภาษาความต้องการประเภทนี้เป็นแบบที่เน้นกระบวนการและเกี่ยวข้องกับการกระทำอื่นๆที่เป็นวิธีการเรียนรู้ ความต้องการอาจหมายถึงสิ่งที่ผู้เรียนเองอยากจะได้จากหลักสูตรสอนภาษามุมมองความต้องการประเภทนี้แสดงให้เห็นว่าผู้เรียนอาจมีเป้าหมายส่วนตัวนอกเหนือไปจาก (ตรงกันข้ามกันกับ) เกณฑ์คุณสมบัติในงานหรือการเรียนของผู้เรียนความต้องการส่วนบุคคลดังกล่าวอาจถูกมองว่าเป็นเพียงความอยากหรือความปรารถนาเท่านั้น ความต้องการอาจหมายถึงการขาดตกบกพร่องซึ่งหมายความถึงสิ่งที่ผู้เรียนไม่รู้หรือทำไม่ได้ในภาษาอังกฤษ นักวิจัยต่างก็ตีความคำว่าความต้องการออกไปหลากหลายขึ้นอยู่กับกรอบทฤษฎีที่ยึดถือลักษณะดังกล่าวทำให้เกิดความต้องการที่แตกต่างกันออกไปอย่างไรก็ตามแชมเบอร์ส (1980) ก็ต่อต้านความกำกวมไม่แน่นอนของศัพท์เทคนิคต่าง ๆ เขาแย้งว่าปัญหาหลัก ๆ ในการสำรวจความต้องการคือความสับสนในเรื่องศัพท์เทคนิคต่างๆนั่นเองและเพื่อกำจัดความสับสนนี้ให้หมดไปเขาเสนอให้มีการจัดกลุ่มคำศัพท์เทคนิคที่แทนความหมายต่างๆอยู่แต่เดิมใหม่อีกครั้งให้เหลือเพียง 3 ประเด็นนั่นคือความต้องการ (ดูได้จาก TSA) ข้อจำกัด (ที่จำกัดการบรรลุความต้องการ) (ขั้นตอนในการบรรลุความต้องการ) และวัตถุประสงค์ระหว่างทางสรุปได้ว่าการสำรวจความต้องการเป็นจุดเริ่มต้นในการรับรู้ความต้องการของผู้เรียนในด้านระดับเป้าหมายวัตถุประสงค์เนื้อหาวิธีการสอนและอุปกรณ์การเรียนการสอนสำหรับหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านธุรกิจ ภาษาอังกฤษธุรกิจเป็นภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจเพราะวัตถุประสงค์ของหลักสูตรนั้นอยู่บนพื้นฐานของหน้าที่ในการสื่อสารซึ่งจะเป็นตัวกำหนดลักษณะการใช้ภาษามีเอกสารระบุไว้อย่างชัดเจนในเรื่องเกี่ยวกับความสนใจด้านภาษาอังกฤษธุรกิจแล
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ทั่วโลกองค์กรหลายแห่งคาดหวังว่าบุคลกรของพวกเขาจะสามารถพูดและเขียนภาษาอังกฤษ บริษัท และตัวแทนจำหน่ายในต่างประเทศการสื่อสารด้านธุรกิจที่ไม่ชำนาญ จึงมุ่งเน้นข้อมูลใน 2 ด้านหลักคือการสำรวจความต้องการของผู้เรียน และ ศัพท์เทคนิคต่างๆ ดัดลีย์อีแวนส์และเซนต์จอห์น (1998) คำถามได้ว่าอะไรและอย่างไรฮัทชินสันและวอเตอร์ส (1987) ความต้องการของสถานการณ์เป้าหมายซึ่งจะระบุเกี่ยวกับการใช้ภาษาและความต้องการในแง่ของการเรียนรู้ ความจำเป็น (ความต้องการ) ความบกพร่อง (ขาด) และความปรารถนา (ปรารถนา) อีกด้วยความจำเป็นที่กล่าวถึงนี้คือ ความบกพร่องคือข้อมูลที่ผู้วิจัย ส่วนความปรารถนานั้น โรบินสัน (1991) นำเสนอแนวคิด 3 คำ ได้แก่ การวิเคราะห์สถานการณ์เป้าหมาย (เป้าหมายการวิเคราะห์สถานการณ์ - TSA) การวิเคราะห์สถานการณ์ในปัจจุบัน (การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน - PSA) และการตรวจสอบทางภาษา (ภาษาตรวจสอบ) การตรวจสอบทางภาษาคือการนำเอา TSA และ PSA โรบินสันนำเสนอกระบวนการ 3 และการอุตสาหกรรมอันดับแรกคือทักษะทางภาษาที่เป็นทักษะเป้าหมาย อันดับต่อมาคือ และอันดับที่ 3 กับ โรบินสัน 5 ประเภทคือความต้องการรัตนาหมายถึงเกณฑ์คุณสมบัติในงานหรือการเรียนของผู้เรียนกล่าวคือ เกณฑ์คุณสมบัติในงานหรือการเรียนของผู้เรียน อาจหมายถึงการขาดตกบกพร่อง ความต้องการ อย่างไรก็ตาม Chambers (1980) เขาแย้งว่าปัญหาหลัก ๆ ในการสำรวจความต้องการคือ และเพื่อกำจัดความสับสนนี้ให้หมดไป ให้เหลือเพียง 3 ประเด็นนั่นคือความต้องการ (ดูได้จาก TSA) ข้อ จำกัด (ที่ จำกัด การบรรลุความต้องการ) และวัตถุประสงค์ระหว่างทาง (ขั้นตอนในการบรรลุความต้องการ) สรุปได้ว่า ระดับเป้าหมายวัตถุประสงค์เนื้อหาวิธีการสอน













การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ภาษาอังกฤษธุรกิจกับภาษาอังกฤษที่ใช้ในชีวิตประจำวันแตกต่างกันอย่างไร

เมื่อภาษาอังกฤษเป็นตัวเลือกภาษาที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในธุรกิจแบบต่างๆทั่วโลกองค์กรหลายแห่งคาดหวังว่าบุคลกรของพวกเขาจะสามารถพูดและเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพในการทำงาน
โลกได้ก้าวเข้าสู่ยุคเทคโนโลยีทันสมัยและการสื่อสารนานาชาติมีบทบาทเป็นอย่างยิ่งนับตั้งแต่มีการนำภาษาอังกฤษมาใช้เป็นสื่อกลางในการสื่อสารนานาชาติบริษัทและตัวแทนจำหน่ายในต่างประเทศการสื่อสารด้านธุรกิจที่ไม่ชำนาญและไม่มีประสิทธิภาพอาจส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการติดต่อค้าขายทางธุรกิจรวมทั้งอาจทำลายความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรได้ด้วย
ผู้ที่ทำงานด้านธุรกิจจึงมุ่งเน้นข้อมูลใน 2 ด้านหลักความการสำรวจความต้องการของผู้เรียนภูมิหลังทางทฤษฎีด้านการสื่อสารธุรกิจความสำคัญของการสื่อสารธุรกิจสำหรับผู้ที่กำลังมองหางานและการสำรวจความต้องการของผู้เรียนเป็นขั้นตอนแรกในการพัฒนาเนื้อหาหลักสูตรและในการเลือกวัสดุการเรียนการสอนรวมไปถึงวิธีการสอนด้วยการสำรวจความต้องการของผู้เรียนคือกระบวนการหาข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการและแนวคิดของการสำรวจความต้องการนั้นแตกต่างกันไปตามนักวิจัยแต่ละคนดัดลีย์ อีแวนส์และเซนต์จอห์น ( 1998 ) ให้คำนิยามการสำรวจความต้องการว่าคือกระบวนการที่กระทำเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่จะตอบคำถามได้ว่าอะไรและอย่างไร Hutchinson และน้ำ ( 1987 ) ให้คำนิยามการสำรวจความต้องการด้วยคำว่าซึ่งจะระบุเกี่ยวกับการใช้ภาษาและความต้องการในแง่ของการเรียนรู้ซึ่งจะกล่าวถึงการเรียนรู้การใช้ภาษานอกจากนี้ยังกล่าวถึงเรื่องมุมมองย่อยของความต้องการในแง่ของความจำเป็น ( ความต้องการ ) ความบกพร่อง ( ขาด )( ความปรารถนา ) อีกด้วยความจำเป็นที่กล่าวถึงนี้คือสิ่งที่ผู้เรียนต้องรู้เพื่อให้สามารถปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพในสถานการณ์เป้าหมายความบกพร่องความข้อมูลที่ผู้วิจัยส่วนความปรารถนานั้นคือความต้องการที่จะเรียนรู้ส่วนบุคคลของตัวผู้เรียนเองโรบินสัน ( 1991 ) นำเสนอแนวคิดและศัพท์เทคนิคที่เกี่ยวข้องกับการสำรวจความต้องการ 3 คำได้แก่การวิเคราะห์สถานการณ์เป้าหมาย ( เป้าหมาย ) การวิเคราะห์สถานการณ์การวิเคราะห์สถานการณ์ในปัจจุบัน ( ปัจจุบัน การวิเคราะห์สถานการณ์ ( PSA ) และการตรวจสอบทางภาษา ( ตรวจสอบภาษา ) การตรวจสอบทางภาษาคือการนำเอา TSA และ PSA มารวมกันเพื่อใช้ในการอบรมภาษาสำหรับธุรกิจและอุตสาหกรรมโรบินสันนำเสนอกระบวนการ 3และการอุตสาหกรรมอันดับแรกความทักษะทางภาษาที่เป็นทักษะเป้าหมายขั้นตอนนี้เป็นการสำรวจหาทักษะทางภาษาเฉพาะอย่างที่จำเป็นต้องใช้เฉพาะงานอันดับต่อมาความและอันดับที่ผู้ตรวจสอบจะต้องวิเคราะห์ว่าผู้เรียนต้องการการอบรมมากน้อยแค่ไหนเพื่อลดช่องว่างระหว่างความสามารถในปัจจุบันกับเกณฑ์เป้าหมายที่ทางบริษัทต้องการ
3นอกจากนี้โรบินสันยังได้ทำการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการสำรวจความต้องการในงานวิจัยหลายชิ้นและได้สรุปประเภทของความต้องการออกมาเป็นประเภทความ
5ความต้องการอาจหมายถึงเกณฑ์คุณสมบัติในงานหรือการเรียนของผู้เรียนกล่าวคือหมายถึงสิ่งที่ผู้เรียนจะต้องสมารถทำได้ภายหลังจากการเรียนภาษาเสร็จสิ้นลงความต้องการประเภทนี้เป็นแบบที่เน้นเป้าหมาย
ความต้องการอาจหมายถึงสิ่งที่สถาบันหรือสังคมมองว่าเป็นสิ่งจำเป็นหรือเป็นสิ่งที่ปรารถนาไว้ว่าจะได้เรียนรู้จากหลักสูตรการเรียนการสอนภาษา
ความต้องการอาจหมายถึงสิ่งที่ผู้เรียนจำเป็นต้องทำเพื่อให้ได้มาซึ่งภาษาความต้องการประเภทนี้เป็นแบบที่เน้นกระบวนการและเกี่ยวข้องกับการกระทำอื่นๆที่เป็นวิธีการเรียนรู้
ความต้องการอาจหมายถึงสิ่งที่ผู้เรียนเองอยากจะได้จากหลักสูตรสอนภาษามุมมองความต้องการประเภทนี้แสดงให้เห็นว่าผู้เรียนอาจมีเป้าหมายส่วนตัวนอกเหนือไปจาก ( ค็อค
ตรงกันข้ามกันกับ ) เกณฑ์คุณสมบัติในงานหรือการเรียนของผู้เรียนความต้องการส่วนบุคคลดังกล่าวอาจถูกมองว่าเป็นเพียงความอยากหรือความปรารถนาเท่านั้น
ความต้องการอาจหมายถึงการขาดตกบกพร่องซึ่งหมายความถึงสิ่งที่ผู้เรียนไม่รู้หรือทำไม่ได้ในภาษาอังกฤษ
นักวิจัยต่างก็ตีความคำว่าความต้องการออกไปหลากหลายขึ้นอยู่กับกรอบทฤษฎีที่ยึดถือลักษณะดังกล่าวทำให้เกิดความต้องการที่แตกต่างกันออกไปอย่างไรก็ตาม Chambers ( 1980 ) ก็ต่อต้านความกำกวมไม่แน่นอนของศัพท์เทคนิคต่างๆในการสำรวจความต้องการคือความสับสนในเรื่องศัพท์เทคนิคต่างๆนั่นเองและเพื่อกำจัดความสับสนนี้ให้หมดไปเขาเสนอให้มีการจัดกลุ่มคำศัพท์เทคนิคที่แทนความหมายต่างๆอยู่แต่เดิมใหม่อีกครั้งให้เหลือเพียง 3 ประเด็นความต้องการ ( ดูได้จาก TSA ) ข้อจำกัด ( ที่จำกัดการบรรลุความต้องการ ) และวัตถุประสงค์ระหว่างทาง ( ขั้นตอนในการบรรลุความต้องการ ) สรุปได้ว่าการสำรวจความต้องการเป็นจุดเริ่มต้นในการรับรู้ความต้องการของผู้เรียนในด้านเป้าหมายวัตถุประสงค์เนื้อหาวิธีการสอนและอุปกรณ์การเรียนการสอนสำหรับหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านธุรกิจ
ภาษาอังกฤษธุรกิจเป็นภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจเพราะวัตถุประสงค์ของหลักสูตรนั้นอยู่บนพื้นฐานของหน้าที่ในการสื่อสารซึ่งจะเป็นตัวกำหนดลักษณะการใช้ภาษา
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: